SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
กล้องสองตา
จากวิกิพีเดีย                                                สารานุกรมเสรี

กล้องสองตาแบบ                                                กาลิเลโอ

กล้องสองตา (                                  ภาษาอังกฤษ "binoculars"
มาจากภาษาละติน bi- "สอง" และ oculus "ตา") คือ อุปกรณ์ที่ใช้สำาหรับส่อง
ดูวัตถุที่อยู่ห่างไกลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยอาศัยเลนส์และปริซึม ปริซึมทำา
หน้าที่สะท้อนและหักเหแสง กลับภาพจากภาพหัวกลับให้เป็นภาพหัวตั้ง
ภาพที่ได้จึงต่างจากที่เห็นในกล้องโทรทรรศน์ธรรมดา
ข้อกำาหนดของกล้องสองตาแต่ละกล้อง มักบอกด้วยตัวเลขสองตัวคั่นกลาง
ด้วยกากบาท "×" เช่น "٥٠×٧" หมายถึงกล้องสองตานี้มีกำาลังขยาย ٧ เท่า
เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์วัตถุมีขนาด ٥٠ มิลลิเมตร
กล้องสองตามีขนาดตั้งแต่ ١٠×٣ ที่มักใช้ในโรงละคร ขนาด ٥٠×٧ หรือ ١
٥٠×٠ ที่มักใช้ส่องดูกลางแจ้ง และอาจมีขนาดใหญ่ถึง ٨٠×٢٠ หรือ ×٢٠
١٤٠ กล้องขนาดใหญ่มีนำ้าหนักมาก ทำาให้เมื่อยแขนได้ จึงต้องอาศัยระบบ
ขาตั้งกล้องที่ช่วยให้ภาพไม่สั่นไหว


กล้องสองตา

        กล้องสองตาเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ได้หลายอย่างและราคาถูกกว่ากล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่
        กล้องสองตาคือกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง 2 อันมารวมกัน และมีปริซึมอยู่ตรงกลาง
        เพื่อกลับภาพให้เหมือนกับของจริงเพื่อความสะดวกในการดู และเราสามารถดูได้ทั้งสองตา




                              ส่วนประกอบของกล้องสองตา
ไม่เหมือนกับกล้องโทรทรรศน์ทั่วไปที่ดูได้ตาเดียว มุมมองของกล้องสองตาก็กว้างกว่าทำาให้มองเห็นพื้นที่บน
ท้องฟ้าได้มากกว่า
องค์ประกอบหลักของกล้องสองตามีอยู่ 3 อย่าง คือ <BR&NBSP; />
- เลนส์วัตถุ (Objective lenses) หน้าที่รวมแสงทำาให้เราเห็นภาพที่อยู่ไกลๆได้อย่างชัดเจน กล้องสอง
ตาคุณภาพดีจะมีเลนส์อยู่ 2 ชิ้น ทีเรียกว่าคราวน์ (crown) และฟินท์ (fint) ช่วยให้แสงผ่านได้อย่างดี
                                  ่
โดยไม่ทำาสีเพียนไป<BR&NBSP; />
               ้
- ปริซึม (Prisms) เนื่องจากภาพจากเลนส์จะกลับหัวและกลับซ้ายไปขวาได้ จึงต้องใช้ปริซึมเพื่อกลับ
ภาพให้เหมือนกับตาเปล่าของเราที่มองเห็น กล้องส่วนมากจะใช้ปริซึมแบบพอร์โร (porro) หรือไม่ก็
แบบรูฟ (roof) แบบพอร์โร จะทำาให้รูปร่างของกล้องเป็นแบบซิกแซก เนื่องจากใช้ปริซึมแบบ 90 อง
ศา 2 ตัววางทำามุมกัน 90 องศา
ทำาให้มีการเบี่ยงทิศทางของแสงที่ผ่านเลนส์เข้ามาและกลับภาพได้ กล้องที่ใช้ปริซึมแบบนี้จะมีนำ้า
หนักมากแต่ราคาถูกกว่ากล้องที่ใช้แบบรูฟ ซึงออกแบบมาเป็นพิเศษ โดยให้แสงเข้าออกอยู่ในแนว
                                            ่
กัน ทำาให้กล้องที่ใช้ปริซึมแบบที่เป็นแบบตรง แต่เนื่องจากแสงต้องผ่านปริซึมและมีการหักเหและ
สะท้อนภายในทำาให้สญเสียแสงมากกว่าแบบพอร์โร จึงไม่ค่อยเหมาะกับการใช้ในเวลากลางคืน โด
                       ู
ยทั่วไปจะมีเนื้อแก้วสองแบบที่ใช้ทำาปริซึมคือ BK-7 (borosillicute glass) และ BAK-4 (Barium cr
own) ซึ่ง BAK-4 จะมีคุณภาพสูงกว่าแต่ราคาก็แพงกว่าด้วย
- เลนส์ใกล้ตา (eyepiece หรือ ocular) ออกแบบมาเฉพาะให้อยู่ในกล้องสองตา นอกจากช่วยขยาย
ภาพแล้วยังเกี่ยวกับมุมมองภาพ (field of view) กำาลังแยกของภาพและลักษณะอื่นๆของกล้องสอง
ตาด้วย เลนส์ใกล้ตาส่วนมากจะมีชั้นเลนส์อยู่ระหว่าง 2 – 5 ชิ้นประกอบกัน และเป็นแก้วคนละชนิด
เพื่อลดความคลาดสี<BR&NBSP; />
นอกจากองค์ประกอบหลัก 3 อย่างแล้วยังมีตัวปรับระยะโฟกัสที่ช่วยปรับให้ภาพชัด ซึ่ง
จะ<BR&NBSP; />
เลื่อนกล้องทั้งสองข้าง และอุปกรณ์อีกอย่างคือการปรับโฟกัสที่เลนส์ใกล้ตาเพราะว่าตาคนเราอาจ
ไม่เท่ากันทั้งสองข้างจึงต้องมีตัวช่วยปรับอีกอันหนึ่ง โดยใช้วิธีปรับที่ตัวปรับโฟกัสก่อนจนชัดแล้ว
ค่อยปรับที่ตัวปรับของเลนส์ใกล้ตาจนชัดทั้งสองข้าง<BR&NBSP; />




                          ด้านท้ายกล้องขนาด         12 x 50

กล้องสองตานั้นมีหลายขนาด เช่น 12 x 50 mm หรือ 7 x 50 mm คือ กำาลังขยาย 7 เท่าและขนาด
หน้ากล้อง 50 mm หรือ 2 นิ้ว ถ้ามี WA ต่อท้ายคือใช้เลนส์ใกล้ตาแบบมุมกว้าง (wide angle) ซึงจะ ่
ช่วยให้มุมรับภาพกว้างขึ้นประมาณ 60 % ของปกติ<BR&NBSP; />
กำาลังขยายของกล้องสองตานั้นสำาคัญมากแต่บางคนก็เข้าใจผิด คิดว่ายิ่งกำาลังขยายมากจะยิ่งมอง
เห็นรายละเอียดมากขึ้น แต่จะขึ้นอยู่กับกำาลังแยกภาพ ถ้าขนาดหน้ากล้องใหญ่ก็จะให้ภาพที่ละเอียด
กว่าหน้ากล้องเล็ก ยิ่งกำาลังขยายมากก็ยิ่งสว่างน้อยและจะเห็นภาพที่สั่นมากขึ้น กำาลังขยายที่ใช้กัน
มากคือ 7 – 12 เท่า แต่ถ้าใช้ 16 เท่าขึ้นไปก็ควรใช้กับขาตั้งกล้องจะดีกว่าเพราะไม่ทำาให้ภาพสั่นและ
ไม่จำาเป็นต้องถือให้เมื่อย<BR&NBSP; />




                     กล้องสองตาขนาดใหญ่ต้องติดบนขาตั้งกล้อง
ขนาดของหน้ากล้องเป็นสิ่งที่สำาคัญมาก เพราะยิ่งมีขนาดใหญ่ก็ยิ่งมีพื้นที่รับแสงมาก ทำาให้
        ดูวัตถุที่สว่างน้อยได้ดีกว่า เช่น ถ้าขนาดใหญ่กว่า 2 เท่า ก็จะรวมแสงได้มากกว่าถึง 4 เท่า แ
        ละยังแยกรายละเอียดของภาพได้ดีกว่าด้วย




                      กล้องสองตาขนาด 9x63 เห็นได้กว้าง 305 ฟุต
มุมมองของภาพ (field of view) เป็นขนาดของภาพที่เราเห็นจากกล้อง ขึ้นอยู่กับกำาลังขยายและ
ลักษณะของปริซึม ยิงกำาลังขยายมากมุมก็ยิ่งแคบ มุมมีหน่วยเป็นองศาโดยเทียบกับจากระยะทาง
                      ่
เป็นฟุตที่ระยะห่าง 1000 หลา โดยพื้นที่ทเห็น = มุม x 52.50
                                         ี่
เช่น กล้องมุมกว้าง 5 องศา จะเห็นพื้นที่กว้าง 5 x 52.50 = 262.5 คือ เห็นได้กว้าง 262.5 ฟุต ที่ระยะ
1000 หลา <BR&NBSP; />
Apparent field คือ มุมทีเห็นจากเลนส์ใกล้ตา ปกติมีค่าอยู่ระหว่าง 25 – 30 องศา แต่ถ้าเป็นแบบ
                         ่
กว้างก็อาจกว้างถึง 80 องศาหรือกว้างกว่า<BR&NBSP; />
 True field คือมุมที่แท้จริงที่เห็นได้<BR&NBSP; />
โดย TF = AF / กำาลังขยาย<BR&NBSP; />
 เช่น กล้องมีความยาวโฟกัส 500 mm ใช้เลนส์ใกล้ตา 20 mm ซึงมี Apparent field กว้าง 50 องศา
                                                              ่
ดังนั้น<BR&NBSP; />




                                          -
ยิงกำาลังขยายมากขึ้นมุมที่แท้จริงก็ยิ่งลดลง<BR&NBSP; />
  ่
การเคลือบเลนส์ก็มีผลต่อภาพที่มองเห็นเช่นกัน เลนส์ที่ไม่ได้เคลือบจะมีแสงผ่านได้เพียง 90 % ถ้า
เคลือบด้วยแมกนีเซียมฟลูโอไรต์ (MgF2) จะเสียแสงเพียง 4 % และลดการเกิดการสะท้อน (ghost)
จากวัตถุที่สว่าง แต่ถ้าเป็นชนิดที่ดีก็จะเคลือบหลายชั้นประมาณ 7 – 15 ชั้น ซึงช่วยลดแสงสะท้อน
                                                                               ่
และให้แสงผ่านได้มากถึง 99 % หรือมากกว่าและช่วยเรื่องคอนทราสท์ด้วย<BR&NBSP; />
    อีกอย่างที่สำาคัญคือ exit pupil คือภาพที่เกิดหลังจากผ่านเลนส์ใกล้ตา ซึงตาของเรามีช่องให้แสง
                                                                           ่
เข้าได้กว้าง 6 – 8 มม. กล้องที่ดีก็ควรมีค่า exit pupil ประมาณนี้ เช่น กล้องสองตาขนาด 7 x 50 mm
จะมีค่า exit pupil = ขนาดหน้ากล้อง / กำาลังขยาย = 50 / 7 = 7 แต่ถ้าเป็นกล้องขนาดเล็กเช่น 7 x
35 ก็จะมีค่า exit pupil = 35 / 7 = 5 mm ซึงอาจไม่เหมาะสำาหรับการดูดาวเท่าไหร่นัก<BR&NBSP; /
                                           ่
>
นอกจากโครงสร้างแล้วกล้องสองตาบางแบบก็ยังมีระบบกันสะเทือนด้วย (Image Stabilizer) ช่วยให้
สามารถดุวัตถุได้นิ่งขึ้น เพราะถ้ายิ่งกล้องกำาลังขยายมากแล้วใช้มือถือก็จะยิ่งเห็นภาพสั่นมากขึ้น อีก
วิธีหนึ่งคือการใช้ขาตั้งกล้องช่วย เพราะกล้องขนาดใหญ่หรือกำาลังขยายมากตั้งให้ตัวกล้องนิ่งเพื่อที่
จะให้ดูง่ายขึ้นและปรับตามวัตถุท้องฟ้าหรือตามดาวได้ง่ายดาย<BR&NBSP; />
กล้องสองตาสามารถใช้วัตถุได้หลายอย่างทั้งดูนก, ดูแมลง และดูท้องฟ้า ซึงวัตถุท้องฟ้านั้นมีหลาย
                                                                             ่
อย่างแต่ห้ามใช้ดูดวงอาทิตย์โดยตรงเด็ดขาดเพราะอาจตาบอดได้<BR&NBSP; />
วัตถุอย่างแรกที่มักใช้กล้องสองตาดูคือดวงจันทร์เพราะมีลักษณะ
                             ของพื้นผิวหลายประเภท เช่น ทะเล, หลุมอุกกาบาต, ภูเขา และการ
                             ที่ดวงจันทร์มีเฟสหรือการเปลี่ยนแปลงเงาบนผิวของดวงจันทร์ทำาให้
                             แต่ละวันไม่เหมือนกัน ถัดจากดวงจันทร์ก็เป็นดาวเคราะห์คือแม้ว่าจะ
                             ไม่เห็นรายละเอียดมากนักแต่ก็เห็นรูปร่าง เช่น ดาวศุกร์ก็พอจะเห็น
                             การเปลี่ยนแปลงเฟสเหมือนกับดวงจันทร์ ส่วนดาวพุธและดาวอังคาร
                             ก็พอจะเห็นลักษณะเป็นดวงไม่เห็นเป็นจุดเหมือนดาวฤกษ์
                             ทั่วไป วัตถุอีกประเภทที่น่าสนใจในระบบสุริยะคือดาวหาง เพราะ
   ดวงจันทร์เกือบเต็มดวง     กล้องสองตาจะเห็นภาพมุมกว้างกว่ากล้องโทรทรรศน์

เห็นทั้งโคมาและหางของดาวหาง ดาวฤกษ์ก็สามารถใช้กล้องสองตาดูได้เหมือนกันเพราะดาวฤกษ์
บางดวงจะมีสีที่น่าสนใจ หรือใช้ดูดาวคู่ที่ห่างกันมากๆได้ หรือใช้ดุกระจุกดาวเปิดอย่างกระจุกดาว
ลูกไก่ หรือกระจุกดาวปิดขนาดใหญ่เช่น โอเมกา-เซนทอรี หรือ M13 นอกจากนี้ยังมีเนบิวลาที่สว่าง
เช่น M42 ในกลุ่มดาวนายพรานและกาแลกซีที่สว่างมากเช่น M31 ในกลุ่มดาวแอนโดรเมดา หรือ
M33 ในกลุ่มดาวสามเหลียม่

More Related Content

What's hot

ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการAiice Pimsupuk
 
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)Yaovaree Nornakhum
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพtelecentreacademy
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพK'donuz Drumz
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196CUPress
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
ใบความรู้บัญญัติการถ่ายทำ ๑๐ ประการ
 
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
Eep time issue_4
Eep time issue_4Eep time issue_4
Eep time issue_4
 
Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
Lesson13
Lesson13Lesson13
Lesson13
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
Eep time issue_2
Eep time issue_2Eep time issue_2
Eep time issue_2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
Eep time issue_7
Eep time issue_7Eep time issue_7
Eep time issue_7
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 

Similar to กล้องสองตา2

เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์kruruty
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
การกำกับภาพ
การกำกับภาพการกำกับภาพ
การกำกับภาพkruart2010
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์ssuser9219af
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พรGamee Nopnop
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พรGamee Nopnop
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมKeng Pongpinit
 

Similar to กล้องสองตา2 (17)

เลนส์
เลนส์เลนส์
เลนส์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eyepresent
EyepresentEyepresent
Eyepresent
 
Eep time issue_6
Eep time issue_6Eep time issue_6
Eep time issue_6
 
Portrait1
Portrait1Portrait1
Portrait1
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Techno
TechnoTechno
Techno
 
Photo nextor v14
Photo nextor v14Photo nextor v14
Photo nextor v14
 
การกำกับภาพ
การกำกับภาพการกำกับภาพ
การกำกับภาพ
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พร
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พร
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Eep time issue_3
Eep time issue_3Eep time issue_3
Eep time issue_3
 

กล้องสองตา2

  • 1. กล้องสองตา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี กล้องสองตาแบบ กาลิเลโอ กล้องสองตา ( ภาษาอังกฤษ "binoculars" มาจากภาษาละติน bi- "สอง" และ oculus "ตา") คือ อุปกรณ์ที่ใช้สำาหรับส่อง ดูวัตถุที่อยู่ห่างไกลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยอาศัยเลนส์และปริซึม ปริซึมทำา หน้าที่สะท้อนและหักเหแสง กลับภาพจากภาพหัวกลับให้เป็นภาพหัวตั้ง ภาพที่ได้จึงต่างจากที่เห็นในกล้องโทรทรรศน์ธรรมดา ข้อกำาหนดของกล้องสองตาแต่ละกล้อง มักบอกด้วยตัวเลขสองตัวคั่นกลาง ด้วยกากบาท "×" เช่น "٥٠×٧" หมายถึงกล้องสองตานี้มีกำาลังขยาย ٧ เท่า เส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์วัตถุมีขนาด ٥٠ มิลลิเมตร กล้องสองตามีขนาดตั้งแต่ ١٠×٣ ที่มักใช้ในโรงละคร ขนาด ٥٠×٧ หรือ ١ ٥٠×٠ ที่มักใช้ส่องดูกลางแจ้ง และอาจมีขนาดใหญ่ถึง ٨٠×٢٠ หรือ ×٢٠ ١٤٠ กล้องขนาดใหญ่มีนำ้าหนักมาก ทำาให้เมื่อยแขนได้ จึงต้องอาศัยระบบ ขาตั้งกล้องที่ช่วยให้ภาพไม่สั่นไหว กล้องสองตา กล้องสองตาเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ได้หลายอย่างและราคาถูกกว่ากล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ กล้องสองตาคือกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง 2 อันมารวมกัน และมีปริซึมอยู่ตรงกลาง เพื่อกลับภาพให้เหมือนกับของจริงเพื่อความสะดวกในการดู และเราสามารถดูได้ทั้งสองตา ส่วนประกอบของกล้องสองตา ไม่เหมือนกับกล้องโทรทรรศน์ทั่วไปที่ดูได้ตาเดียว มุมมองของกล้องสองตาก็กว้างกว่าทำาให้มองเห็นพื้นที่บน ท้องฟ้าได้มากกว่า
  • 2. องค์ประกอบหลักของกล้องสองตามีอยู่ 3 อย่าง คือ <BR&NBSP; /> - เลนส์วัตถุ (Objective lenses) หน้าที่รวมแสงทำาให้เราเห็นภาพที่อยู่ไกลๆได้อย่างชัดเจน กล้องสอง ตาคุณภาพดีจะมีเลนส์อยู่ 2 ชิ้น ทีเรียกว่าคราวน์ (crown) และฟินท์ (fint) ช่วยให้แสงผ่านได้อย่างดี ่ โดยไม่ทำาสีเพียนไป<BR&NBSP; /> ้ - ปริซึม (Prisms) เนื่องจากภาพจากเลนส์จะกลับหัวและกลับซ้ายไปขวาได้ จึงต้องใช้ปริซึมเพื่อกลับ ภาพให้เหมือนกับตาเปล่าของเราที่มองเห็น กล้องส่วนมากจะใช้ปริซึมแบบพอร์โร (porro) หรือไม่ก็ แบบรูฟ (roof) แบบพอร์โร จะทำาให้รูปร่างของกล้องเป็นแบบซิกแซก เนื่องจากใช้ปริซึมแบบ 90 อง ศา 2 ตัววางทำามุมกัน 90 องศา ทำาให้มีการเบี่ยงทิศทางของแสงที่ผ่านเลนส์เข้ามาและกลับภาพได้ กล้องที่ใช้ปริซึมแบบนี้จะมีนำ้า หนักมากแต่ราคาถูกกว่ากล้องที่ใช้แบบรูฟ ซึงออกแบบมาเป็นพิเศษ โดยให้แสงเข้าออกอยู่ในแนว ่ กัน ทำาให้กล้องที่ใช้ปริซึมแบบที่เป็นแบบตรง แต่เนื่องจากแสงต้องผ่านปริซึมและมีการหักเหและ สะท้อนภายในทำาให้สญเสียแสงมากกว่าแบบพอร์โร จึงไม่ค่อยเหมาะกับการใช้ในเวลากลางคืน โด ู ยทั่วไปจะมีเนื้อแก้วสองแบบที่ใช้ทำาปริซึมคือ BK-7 (borosillicute glass) และ BAK-4 (Barium cr own) ซึ่ง BAK-4 จะมีคุณภาพสูงกว่าแต่ราคาก็แพงกว่าด้วย - เลนส์ใกล้ตา (eyepiece หรือ ocular) ออกแบบมาเฉพาะให้อยู่ในกล้องสองตา นอกจากช่วยขยาย ภาพแล้วยังเกี่ยวกับมุมมองภาพ (field of view) กำาลังแยกของภาพและลักษณะอื่นๆของกล้องสอง ตาด้วย เลนส์ใกล้ตาส่วนมากจะมีชั้นเลนส์อยู่ระหว่าง 2 – 5 ชิ้นประกอบกัน และเป็นแก้วคนละชนิด เพื่อลดความคลาดสี<BR&NBSP; /> นอกจากองค์ประกอบหลัก 3 อย่างแล้วยังมีตัวปรับระยะโฟกัสที่ช่วยปรับให้ภาพชัด ซึ่ง จะ<BR&NBSP; /> เลื่อนกล้องทั้งสองข้าง และอุปกรณ์อีกอย่างคือการปรับโฟกัสที่เลนส์ใกล้ตาเพราะว่าตาคนเราอาจ ไม่เท่ากันทั้งสองข้างจึงต้องมีตัวช่วยปรับอีกอันหนึ่ง โดยใช้วิธีปรับที่ตัวปรับโฟกัสก่อนจนชัดแล้ว ค่อยปรับที่ตัวปรับของเลนส์ใกล้ตาจนชัดทั้งสองข้าง<BR&NBSP; /> ด้านท้ายกล้องขนาด 12 x 50 กล้องสองตานั้นมีหลายขนาด เช่น 12 x 50 mm หรือ 7 x 50 mm คือ กำาลังขยาย 7 เท่าและขนาด หน้ากล้อง 50 mm หรือ 2 นิ้ว ถ้ามี WA ต่อท้ายคือใช้เลนส์ใกล้ตาแบบมุมกว้าง (wide angle) ซึงจะ ่ ช่วยให้มุมรับภาพกว้างขึ้นประมาณ 60 % ของปกติ<BR&NBSP; /> กำาลังขยายของกล้องสองตานั้นสำาคัญมากแต่บางคนก็เข้าใจผิด คิดว่ายิ่งกำาลังขยายมากจะยิ่งมอง เห็นรายละเอียดมากขึ้น แต่จะขึ้นอยู่กับกำาลังแยกภาพ ถ้าขนาดหน้ากล้องใหญ่ก็จะให้ภาพที่ละเอียด กว่าหน้ากล้องเล็ก ยิ่งกำาลังขยายมากก็ยิ่งสว่างน้อยและจะเห็นภาพที่สั่นมากขึ้น กำาลังขยายที่ใช้กัน มากคือ 7 – 12 เท่า แต่ถ้าใช้ 16 เท่าขึ้นไปก็ควรใช้กับขาตั้งกล้องจะดีกว่าเพราะไม่ทำาให้ภาพสั่นและ ไม่จำาเป็นต้องถือให้เมื่อย<BR&NBSP; /> กล้องสองตาขนาดใหญ่ต้องติดบนขาตั้งกล้อง
  • 3. ขนาดของหน้ากล้องเป็นสิ่งที่สำาคัญมาก เพราะยิ่งมีขนาดใหญ่ก็ยิ่งมีพื้นที่รับแสงมาก ทำาให้ ดูวัตถุที่สว่างน้อยได้ดีกว่า เช่น ถ้าขนาดใหญ่กว่า 2 เท่า ก็จะรวมแสงได้มากกว่าถึง 4 เท่า แ ละยังแยกรายละเอียดของภาพได้ดีกว่าด้วย กล้องสองตาขนาด 9x63 เห็นได้กว้าง 305 ฟุต มุมมองของภาพ (field of view) เป็นขนาดของภาพที่เราเห็นจากกล้อง ขึ้นอยู่กับกำาลังขยายและ ลักษณะของปริซึม ยิงกำาลังขยายมากมุมก็ยิ่งแคบ มุมมีหน่วยเป็นองศาโดยเทียบกับจากระยะทาง ่ เป็นฟุตที่ระยะห่าง 1000 หลา โดยพื้นที่ทเห็น = มุม x 52.50 ี่ เช่น กล้องมุมกว้าง 5 องศา จะเห็นพื้นที่กว้าง 5 x 52.50 = 262.5 คือ เห็นได้กว้าง 262.5 ฟุต ที่ระยะ 1000 หลา <BR&NBSP; /> Apparent field คือ มุมทีเห็นจากเลนส์ใกล้ตา ปกติมีค่าอยู่ระหว่าง 25 – 30 องศา แต่ถ้าเป็นแบบ ่ กว้างก็อาจกว้างถึง 80 องศาหรือกว้างกว่า<BR&NBSP; /> True field คือมุมที่แท้จริงที่เห็นได้<BR&NBSP; /> โดย TF = AF / กำาลังขยาย<BR&NBSP; /> เช่น กล้องมีความยาวโฟกัส 500 mm ใช้เลนส์ใกล้ตา 20 mm ซึงมี Apparent field กว้าง 50 องศา ่ ดังนั้น<BR&NBSP; /> - ยิงกำาลังขยายมากขึ้นมุมที่แท้จริงก็ยิ่งลดลง<BR&NBSP; /> ่ การเคลือบเลนส์ก็มีผลต่อภาพที่มองเห็นเช่นกัน เลนส์ที่ไม่ได้เคลือบจะมีแสงผ่านได้เพียง 90 % ถ้า เคลือบด้วยแมกนีเซียมฟลูโอไรต์ (MgF2) จะเสียแสงเพียง 4 % และลดการเกิดการสะท้อน (ghost) จากวัตถุที่สว่าง แต่ถ้าเป็นชนิดที่ดีก็จะเคลือบหลายชั้นประมาณ 7 – 15 ชั้น ซึงช่วยลดแสงสะท้อน ่ และให้แสงผ่านได้มากถึง 99 % หรือมากกว่าและช่วยเรื่องคอนทราสท์ด้วย<BR&NBSP; /> อีกอย่างที่สำาคัญคือ exit pupil คือภาพที่เกิดหลังจากผ่านเลนส์ใกล้ตา ซึงตาของเรามีช่องให้แสง ่ เข้าได้กว้าง 6 – 8 มม. กล้องที่ดีก็ควรมีค่า exit pupil ประมาณนี้ เช่น กล้องสองตาขนาด 7 x 50 mm จะมีค่า exit pupil = ขนาดหน้ากล้อง / กำาลังขยาย = 50 / 7 = 7 แต่ถ้าเป็นกล้องขนาดเล็กเช่น 7 x 35 ก็จะมีค่า exit pupil = 35 / 7 = 5 mm ซึงอาจไม่เหมาะสำาหรับการดูดาวเท่าไหร่นัก<BR&NBSP; / ่ > นอกจากโครงสร้างแล้วกล้องสองตาบางแบบก็ยังมีระบบกันสะเทือนด้วย (Image Stabilizer) ช่วยให้ สามารถดุวัตถุได้นิ่งขึ้น เพราะถ้ายิ่งกล้องกำาลังขยายมากแล้วใช้มือถือก็จะยิ่งเห็นภาพสั่นมากขึ้น อีก วิธีหนึ่งคือการใช้ขาตั้งกล้องช่วย เพราะกล้องขนาดใหญ่หรือกำาลังขยายมากตั้งให้ตัวกล้องนิ่งเพื่อที่ จะให้ดูง่ายขึ้นและปรับตามวัตถุท้องฟ้าหรือตามดาวได้ง่ายดาย<BR&NBSP; /> กล้องสองตาสามารถใช้วัตถุได้หลายอย่างทั้งดูนก, ดูแมลง และดูท้องฟ้า ซึงวัตถุท้องฟ้านั้นมีหลาย ่ อย่างแต่ห้ามใช้ดูดวงอาทิตย์โดยตรงเด็ดขาดเพราะอาจตาบอดได้<BR&NBSP; />
  • 4. วัตถุอย่างแรกที่มักใช้กล้องสองตาดูคือดวงจันทร์เพราะมีลักษณะ ของพื้นผิวหลายประเภท เช่น ทะเล, หลุมอุกกาบาต, ภูเขา และการ ที่ดวงจันทร์มีเฟสหรือการเปลี่ยนแปลงเงาบนผิวของดวงจันทร์ทำาให้ แต่ละวันไม่เหมือนกัน ถัดจากดวงจันทร์ก็เป็นดาวเคราะห์คือแม้ว่าจะ ไม่เห็นรายละเอียดมากนักแต่ก็เห็นรูปร่าง เช่น ดาวศุกร์ก็พอจะเห็น การเปลี่ยนแปลงเฟสเหมือนกับดวงจันทร์ ส่วนดาวพุธและดาวอังคาร ก็พอจะเห็นลักษณะเป็นดวงไม่เห็นเป็นจุดเหมือนดาวฤกษ์ ทั่วไป วัตถุอีกประเภทที่น่าสนใจในระบบสุริยะคือดาวหาง เพราะ ดวงจันทร์เกือบเต็มดวง กล้องสองตาจะเห็นภาพมุมกว้างกว่ากล้องโทรทรรศน์ เห็นทั้งโคมาและหางของดาวหาง ดาวฤกษ์ก็สามารถใช้กล้องสองตาดูได้เหมือนกันเพราะดาวฤกษ์ บางดวงจะมีสีที่น่าสนใจ หรือใช้ดูดาวคู่ที่ห่างกันมากๆได้ หรือใช้ดุกระจุกดาวเปิดอย่างกระจุกดาว ลูกไก่ หรือกระจุกดาวปิดขนาดใหญ่เช่น โอเมกา-เซนทอรี หรือ M13 นอกจากนี้ยังมีเนบิวลาที่สว่าง เช่น M42 ในกลุ่มดาวนายพรานและกาแลกซีที่สว่างมากเช่น M31 ในกลุ่มดาวแอนโดรเมดา หรือ M33 ในกลุ่มดาวสามเหลียม่