SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรู้ท่ ี 3
                              เรื่อง แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
        การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ ปัญหาได้ ปัญหาหนึง จนได้ ผลลัพธ์ ตามที่ต้องการ หากผู้เขียนโปรแกรม
                                                 ่
มีแนวคิดในการเขียนโปรแกรมที่ดี และทาการเขียนโปรแกรมตามแนวคิดที่ได้ วางไว้

ขันตอนการพัฒนาโปรแกรม
  ้
       ในการพัฒนาโปรแกรมมีขนตอนหลัก 5 ขันตอน ซึงไม่วาจะทาการพัฒนาโปรแกรมครังใดจะต้ อง
                           ั้           ้      ่ ่                         ้
ปฏิบติตามขันตอนเหล่านี ้
    ั      ้

โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมรับค่ าเลขจานวนเต็ม 2 จานวนและหาผลบวกของเลขทั้ง 2 จานวนนั้น

1. วิเคราะห์ ปัญหา (Analysis)
         ขันตอนนี ้ถือว่าเป็ นขันตอนที่สาคัญที่สด ผู้เขียนโปรแกรมต้ องวิเคราะห์ปัญหาให้ ออกว่าจะต้ องทา
            ้                     ้             ุ
การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ ปัญหาอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรื อมองปั ญหาผิดแล้ ว จะทาให้ เขียนโปรแกรม
ได้ ผลลัพธ์ ออกมาผิดไปจากสิงที่ต้องการด้ วย และวิเคราะห์ข้อมูลที่จะนาเข้ ามาใช้ ในโปรแกรมมีอะไรบ้ าง
                                ่
จากโจทย์ข้างต้ น สามารถแตกปั ญหาได้ เป็ น 2 ส่วน คือ
         - ต้ องรับข้ อมูลเลขจานวนเต็ม 2 ตัวเข้ ามาในโปรแกรม
              วิเคราะห์ กาหนดให้ X เก็บเลขจานวนเต็มที่ 1
                            กาหนดให้ y เก็บเลขจานวนเต็มที่ 2
         - เลขจานวนเต็มที่ 1 + เลขจานวนเต็มที่ 2 มีคาเท่ากับเท่าไร
                                                          ่
              วิเคราะห์ กาหนดให้ sum เก็บค่าผลบวกของเลขจานวนเต็มทัง้ 2 จานวน นันคือ sum =  ่
x+y

2. วางแผนและออกแบบ (Planning & Design)
           การวางแผน คือ การนาปั ญหาที่วิเคราะห์ได้ จากขันตอนที่ 1 มาวางแผนอย่างเป็ นขันตอนว่า
                                                              ้                          ้
จะต้ องเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ ปัญหาอย่างไร การวางแผนอย่างเป็ นขันตอนนี ้ เรี ยกว่า อัลกอริ ทม
                                                                 ้                         ึ
(Algorithm) ซึงอัลกอริ ทมแบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบ คือ
                 ่        ึ                                                           START
            ซูโดโค้ ด (Pseudo code) คือ การเขียนอัลกอริ ทมโดย
                                                            ึ                         READ X
                                                                                      READ Y
ใช้ ประโยคภาษาอังกฤษที่สอความหมายง่าย ๆ สามารถอ่าน
                            ื่                                                        COMPUTE SUM = X+Y
แล้ วเข้ าใจได้ โดยทันที จากโจทย์สามารถเขียนซูโดโค้ ดได้ ดงนี ้
                                                          ั                           PRINT SUM
                                                                                        STOP
จะเห็นว่า เมื่ออ่านซูโดโค้ ดแล้ วสามารถเข้ าใจได้ ทนทีวาขันตอนการเขียนโปรแกรมเป็ นอย่างไร
                                                   ั ่ ้
         โฟลวชาร์ ต (Flowchart) คือการเขียนอัลกอริ ทมโดยใช้ สญลักษณ์ รูปภาพเป็ นตัวสือความหมาย
                                                          ึ      ั                      ่
จากโจทย์ สามารถเขียนโฟลวชาร์ ตได้ ดงนี ้
                                       ั

                                                START


                                            INPUT X,Y


                                         SUM = X + Y


                                          PRINT SUM


                                               STOP


3. เขียนโปรแกรม (Coding)
        เป็ นการนาอัลกอริ ทมจากขันตอนที่ 2 มาเขียนโปรแกรมให้ ถกต้ องตามหลักไวยากรณ์ (syntax)
                            ึ     ้                           ู
ของภาษาซี จากโจทย์สามาเขียนโปรแกรมได้ ดงนี ้    ั
ตัวอย่างแสดง ซอร์ สโค้ ด
  1: #inclue <stdio.h>
  2: Void main()
  3: {
  4:                int x,y,sum;
  5:                printf(“Value of x is : “);
  6:                scanf(“%d”,&x);
  7:                printf(“Value of y is : “);
  8:                scanf(“%d”,&y);
  9:                sum= x+y;
10:                 printf(“Sum of %d+%d is %d n”,x,y,sum);
11: }
หากนาโปรแกรม มาพิจารณา จะพบว่าการเขียนโปรแกรมมีขนตอนเป็ นไปตามขันตอนของ
                                                         ั้              ้
อัลกอริ ทมที่ได้ วิเคราะห์ขึ ้นทุกประการ
         ึ

 1:   #inclue <stdio.h>
 2:   Void main()
 3:   {
 4:                 int x,y,sum;
 5:                 printf(“Value of x is : “);
                                                                               INPUT X
 6:                 scanf(“%d”,&x);
 7:                 printf(“Value of y is : “);
                                                                               INPUT Y
 8:                 scanf(“%d”,&y);
 9:                 sum= x+y;                                                  SUM = X+Y
10:                 printf(“Sum of %d+%d is %d n”,x,y,sum);
                                                                               PRINT SUM
11:   }



4. ทดสอบโปรแกรม
          เป็ นการนาผลลัพธ์ จากขันตอนที่ 3 มาทาการรัน จากนันทดสอบโดยปอนค่า x และ y เข้ าไปใน
                                  ้                            ้              ้
โปรแกรม และตรวจสอบผลลัพธ์ ที่ได้ วาถูกต้ องหรื อไม่ โดยทดสอบหลาย ๆ ครัง หากผลลัพธ์ ที่ได้ ถกต้ อง
                                       ่                                        ้                ู
แสดงว่าโปรแกรมที่เขียนขึ ้นถูกต้ องแล้ ว แต่หากผลลัพธ์ ถกบ้ างผิดบ้ างหรื อผิดทุกครังแสดงว่าโปรแกรมที่
                                                        ู                           ้
เขียนขึ ้นผิดพลาด ผุ้เขียนต้ องกลับไปตรวจสอบโปรแกรม
          จากโจทย์สามารถทดสอบโปรแกรมได้ ดงนี ้ ั
ผลลัพธ์ ของโปรแกรม
รันครังที่ 1
      ้
Value of x is : 5
Value of y is : 7
Sum of 5 + 7 is 12

รันครังที่ 2
      ้
Value of x is : 50
Value of y is : 30
Sum of 50 + 30 is 80
5. จัดทาคู่มือ (Documentation)
           จุดประสงค์ที่สาคัญของการทาคูมือ คือ ช่วยให้ ผ้ ที่ศกษาซอร์ สโค้ ดของโปรแกรม (source code)
                                          ่               ู ึ
ได้ งายขึ ้น จะเป็ นประโยชน์มากสาหรับการพัฒนาโปรแกรมในอนาคต เพราะจะช่วยให้ ศกษาซอร์ สโค้ ดได้
     ่                                                                                ึ
ง่ายและรวดเร็ วขึ ้น การจัดทาคูมือไม่มีกฎเกณฑ์ระบุไว้ แน่นอน แต่ผ้ เู ขียนโปรแกรมควรจัดทาคูมือให้ มี
                                ่                                                          ่
รายละเอียดมากที่สด   ุ
           จากโจทย์ สามารถจัดทาคูมือได้ ดงนี ้
                                    ่       ั
ชื่อโปรแกรม              หาค่าผลบวกของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
ตัวแปรที่ใช้             x เก็บค่าจานวนเต็มตัวที่ 1
                         Y เก็บค่าจานวนเต็มตัวที่ 2
                         Sum เก็บค่าผลบวกของตัวเลขจานวนเต็มทัง้ 2
                         จานวน
ชนิดของข้ อมูล           x,y,sum เป็ นข้ อมูลชนิดเลขจานวนเต็ม (integer)
วิธีการแก้ ปัญหา ใช้ สมการ sum = x + y

More Related Content

What's hot

04 conditional
04 conditional04 conditional
04 conditionala-num Sara
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณีBeam Suna
 
Slide unit1 พื้นฐานภาษาซี
Slide unit1  พื้นฐานภาษาซีSlide unit1  พื้นฐานภาษาซี
Slide unit1 พื้นฐานภาษาซีNoonid Maehongson
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPKhon Kaen University
 
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]Khon Kaen University
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกThanon Paktanadechanon
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 

What's hot (20)

04 conditional
04 conditional04 conditional
04 conditional
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 
Slide unit1 พื้นฐานภาษาซี
Slide unit1  พื้นฐานภาษาซีSlide unit1  พื้นฐานภาษาซี
Slide unit1 พื้นฐานภาษาซี
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
 
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
 
Tec4
Tec4Tec4
Tec4
 
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียวฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
 
การเขียนผังงาน (280653)
การเขียนผังงาน (280653)การเขียนผังงาน (280653)
การเขียนผังงาน (280653)
 
ฟังก์ชั่น Switch
ฟังก์ชั่น Switchฟังก์ชั่น Switch
ฟังก์ชั่น Switch
 
4 2
4 24 2
4 2
 
chapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุมchapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุม
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
ฟังก์ชั่น If สองทางเลือก
ฟังก์ชั่น If สองทางเลือกฟังก์ชั่น If สองทางเลือก
ฟังก์ชั่น If สองทางเลือก
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 

Similar to Learn 3

capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2Thamon Monwan
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2Naynoyjolii
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chartbbgunner47
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34pachchary
 

Similar to Learn 3 (20)

capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2
 
งานPbl 2
งานPbl 2งานPbl 2
งานPbl 2
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
207
207207
207
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 

More from Sompon Ketsuwong (6)

Work2 1
Work2  1Work2  1
Work2 1
 
Work1 1
Work1  1Work1  1
Work1 1
 
Learn 4
Learn 4Learn 4
Learn 4
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
Learn 1
Learn 1Learn 1
Learn 1
 
D6
D6D6
D6
 

Learn 3

  • 1. ใบความรู้ท่ ี 3 เรื่อง แนวคิดในการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ ปัญหาได้ ปัญหาหนึง จนได้ ผลลัพธ์ ตามที่ต้องการ หากผู้เขียนโปรแกรม ่ มีแนวคิดในการเขียนโปรแกรมที่ดี และทาการเขียนโปรแกรมตามแนวคิดที่ได้ วางไว้ ขันตอนการพัฒนาโปรแกรม ้ ในการพัฒนาโปรแกรมมีขนตอนหลัก 5 ขันตอน ซึงไม่วาจะทาการพัฒนาโปรแกรมครังใดจะต้ อง ั้ ้ ่ ่ ้ ปฏิบติตามขันตอนเหล่านี ้ ั ้ โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมรับค่ าเลขจานวนเต็ม 2 จานวนและหาผลบวกของเลขทั้ง 2 จานวนนั้น 1. วิเคราะห์ ปัญหา (Analysis) ขันตอนนี ้ถือว่าเป็ นขันตอนที่สาคัญที่สด ผู้เขียนโปรแกรมต้ องวิเคราะห์ปัญหาให้ ออกว่าจะต้ องทา ้ ้ ุ การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ ปัญหาอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรื อมองปั ญหาผิดแล้ ว จะทาให้ เขียนโปรแกรม ได้ ผลลัพธ์ ออกมาผิดไปจากสิงที่ต้องการด้ วย และวิเคราะห์ข้อมูลที่จะนาเข้ ามาใช้ ในโปรแกรมมีอะไรบ้ าง ่ จากโจทย์ข้างต้ น สามารถแตกปั ญหาได้ เป็ น 2 ส่วน คือ - ต้ องรับข้ อมูลเลขจานวนเต็ม 2 ตัวเข้ ามาในโปรแกรม วิเคราะห์ กาหนดให้ X เก็บเลขจานวนเต็มที่ 1 กาหนดให้ y เก็บเลขจานวนเต็มที่ 2 - เลขจานวนเต็มที่ 1 + เลขจานวนเต็มที่ 2 มีคาเท่ากับเท่าไร ่ วิเคราะห์ กาหนดให้ sum เก็บค่าผลบวกของเลขจานวนเต็มทัง้ 2 จานวน นันคือ sum = ่ x+y 2. วางแผนและออกแบบ (Planning & Design) การวางแผน คือ การนาปั ญหาที่วิเคราะห์ได้ จากขันตอนที่ 1 มาวางแผนอย่างเป็ นขันตอนว่า ้ ้ จะต้ องเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ ปัญหาอย่างไร การวางแผนอย่างเป็ นขันตอนนี ้ เรี ยกว่า อัลกอริ ทม ้ ึ (Algorithm) ซึงอัลกอริ ทมแบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบ คือ ่ ึ START ซูโดโค้ ด (Pseudo code) คือ การเขียนอัลกอริ ทมโดย ึ READ X READ Y ใช้ ประโยคภาษาอังกฤษที่สอความหมายง่าย ๆ สามารถอ่าน ื่ COMPUTE SUM = X+Y แล้ วเข้ าใจได้ โดยทันที จากโจทย์สามารถเขียนซูโดโค้ ดได้ ดงนี ้ ั PRINT SUM STOP
  • 2. จะเห็นว่า เมื่ออ่านซูโดโค้ ดแล้ วสามารถเข้ าใจได้ ทนทีวาขันตอนการเขียนโปรแกรมเป็ นอย่างไร ั ่ ้ โฟลวชาร์ ต (Flowchart) คือการเขียนอัลกอริ ทมโดยใช้ สญลักษณ์ รูปภาพเป็ นตัวสือความหมาย ึ ั ่ จากโจทย์ สามารถเขียนโฟลวชาร์ ตได้ ดงนี ้ ั START INPUT X,Y SUM = X + Y PRINT SUM STOP 3. เขียนโปรแกรม (Coding) เป็ นการนาอัลกอริ ทมจากขันตอนที่ 2 มาเขียนโปรแกรมให้ ถกต้ องตามหลักไวยากรณ์ (syntax) ึ ้ ู ของภาษาซี จากโจทย์สามาเขียนโปรแกรมได้ ดงนี ้ ั ตัวอย่างแสดง ซอร์ สโค้ ด 1: #inclue <stdio.h> 2: Void main() 3: { 4: int x,y,sum; 5: printf(“Value of x is : “); 6: scanf(“%d”,&x); 7: printf(“Value of y is : “); 8: scanf(“%d”,&y); 9: sum= x+y; 10: printf(“Sum of %d+%d is %d n”,x,y,sum); 11: }
  • 3. หากนาโปรแกรม มาพิจารณา จะพบว่าการเขียนโปรแกรมมีขนตอนเป็ นไปตามขันตอนของ ั้ ้ อัลกอริ ทมที่ได้ วิเคราะห์ขึ ้นทุกประการ ึ 1: #inclue <stdio.h> 2: Void main() 3: { 4: int x,y,sum; 5: printf(“Value of x is : “); INPUT X 6: scanf(“%d”,&x); 7: printf(“Value of y is : “); INPUT Y 8: scanf(“%d”,&y); 9: sum= x+y; SUM = X+Y 10: printf(“Sum of %d+%d is %d n”,x,y,sum); PRINT SUM 11: } 4. ทดสอบโปรแกรม เป็ นการนาผลลัพธ์ จากขันตอนที่ 3 มาทาการรัน จากนันทดสอบโดยปอนค่า x และ y เข้ าไปใน ้ ้ ้ โปรแกรม และตรวจสอบผลลัพธ์ ที่ได้ วาถูกต้ องหรื อไม่ โดยทดสอบหลาย ๆ ครัง หากผลลัพธ์ ที่ได้ ถกต้ อง ่ ้ ู แสดงว่าโปรแกรมที่เขียนขึ ้นถูกต้ องแล้ ว แต่หากผลลัพธ์ ถกบ้ างผิดบ้ างหรื อผิดทุกครังแสดงว่าโปรแกรมที่ ู ้ เขียนขึ ้นผิดพลาด ผุ้เขียนต้ องกลับไปตรวจสอบโปรแกรม จากโจทย์สามารถทดสอบโปรแกรมได้ ดงนี ้ ั ผลลัพธ์ ของโปรแกรม รันครังที่ 1 ้ Value of x is : 5 Value of y is : 7 Sum of 5 + 7 is 12 รันครังที่ 2 ้ Value of x is : 50 Value of y is : 30 Sum of 50 + 30 is 80
  • 4. 5. จัดทาคู่มือ (Documentation) จุดประสงค์ที่สาคัญของการทาคูมือ คือ ช่วยให้ ผ้ ที่ศกษาซอร์ สโค้ ดของโปรแกรม (source code) ่ ู ึ ได้ งายขึ ้น จะเป็ นประโยชน์มากสาหรับการพัฒนาโปรแกรมในอนาคต เพราะจะช่วยให้ ศกษาซอร์ สโค้ ดได้ ่ ึ ง่ายและรวดเร็ วขึ ้น การจัดทาคูมือไม่มีกฎเกณฑ์ระบุไว้ แน่นอน แต่ผ้ เู ขียนโปรแกรมควรจัดทาคูมือให้ มี ่ ่ รายละเอียดมากที่สด ุ จากโจทย์ สามารถจัดทาคูมือได้ ดงนี ้ ่ ั ชื่อโปรแกรม หาค่าผลบวกของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ตัวแปรที่ใช้ x เก็บค่าจานวนเต็มตัวที่ 1 Y เก็บค่าจานวนเต็มตัวที่ 2 Sum เก็บค่าผลบวกของตัวเลขจานวนเต็มทัง้ 2 จานวน ชนิดของข้ อมูล x,y,sum เป็ นข้ อมูลชนิดเลขจานวนเต็ม (integer) วิธีการแก้ ปัญหา ใช้ สมการ sum = x + y