SlideShare a Scribd company logo
Number 17, 10 February 2009
ในการทางานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศพวกเราต้องสื่อสารเรื่องเวลาเป็นภาษาอังกฤษ ผมคิดว่าน่าจะมาทบทวนและทาความเข้าใจใน
เรื่องนี้กัน ระบบของเวลาที่มักจะพบในนาฬิกาดิจิตอลคือ 24 ชั่วโมง ถ้าคิดง่ายๆ ก็น่าจะเป็น 00:00 ถึง 24:00 แต่ทั้งสองอันนี้ก็ทับกันพอดี ใน
ความเป็นจริงจะไม่มี 24:00 แต่จะข้ามจาก 23:59 ไป 00:00 ซึ่งเกิดขึ้นเสี้ยววินาทีแล้วไปที่ 00:00:01 อีกระบบหนึ่งคือระบบ 12 ชั่วโมงพบได้ใน
นาฬิกาที่มีเข็มสั้นเข็มยาว (analog) โดยแบ่งเป็น 12 ชั่วโมงก่อนเที่ยงวันและอีก 12 ชั่วโมงหลังเที่ยงวัน ใช้คาศัพท์จากภาษาลาตินว่า ก่อนเที่ยงวัน
= ante meridiem และหลังเที่ยงวัน = post meridiem เขียนเป็น a.m. p.m. A.M. P.M. AM PM ประเทศที่ใช้วิธีเขียนระบบ 24 ชั่วโมงก็คืออังกฤษ
สิงคโปร์ และกลุ่มประเทศยุโรป ส่วนประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ใช้ระบบ 12 ชั่วโมง ผมจะขอแบ่งการทาความเข้าใจในระบบ
12 ชั่วโมงนี้ออกเป็น 2 ส่วน คือ การเขียนและการพูด
การเขียนในระบบ 12 ชั่วโมงจะมีข้อที่สับสนที่สุดคือเที่ยงวันและเที่ยงคืน การเขียน 12:00 a.m. หมายถึงเที่ยงคืนและ 12:00 p.m.
หมายถึงเที่ยงวัน มีหลายองค์กรที่แนะนาให้เขียน midnight และ noon ซึ่งให้ความหมายตรงกับเวลา ณ จุดนั้น ไม่มีก่อนหรือหลัง ในการเขียน
เราพอจะสรุปการเขียนเวลาแต่ละจุดได้ดังนี้ เที่ยงคืน เขียน midnight หรือ 12:00 a.m. จากนั้นเขียน 12:01 a.m. ไปจนถึง 11:59 a.m. แล้วเป็น
noon หรือ 12:00 p.m. แล้วเข้าสู่ช่วงบ่ายเขียน 12:01 p.m. ไปจนถึง 11:59 p.m.
ในส่วนการพูดเราสามารถพูดได้หลายแบบตามที่เรียนมาตั้งแต่เด็กๆ ที่สาคัญคือ จะต้องมีคาขยายต่อท้าย เช่น in the morning, in the
afternoon หรือ am, pm เวลาเราพูดก็ต้องไม่ลืมมีวลีพวกนี้ต่อท้าย ผู้ฟังจะได้รู้ว่าเป็นช่วงเช้าหรือบ่าย ยกเว้นคนถามเวลาว่ากี่โมง อันนี้คนถามรู้
ว่าเป็นตอนเช้าหรือบ่ายอยู่แล้ว
ถ้าเป็นเวลาครบชั่วโมงพอดี ก็ตามด้วยคาว่า o’clock เช่น 7:00 a.m. พูดว่า “Seven o’clock in the morning”
พูดไปทีละ 15 นาที ได้แก่ quarter pass, half pass, quarter to ตามด้วยเลขชั่วโมง ไม่มี o’clock นะครับ
พูดให้เป็นหน่วยของ 5 นาที เช่น 8:25 p.m. พูดว่า “Twenty five pass eight p m” หรือ 8:45 a.m. พูดว่า “Fifteen to nine a m” ถ้าไม่
ตรงหน่วยห้านาทีก็ปัดเข้าหาอันที่ใกล้เช่น 10:13 p.m. พูดว่า “Fifteen pass ten in the afternoon”
พูดเป็นเลขชั่วโมงตามด้วยเลขนาที เช่น 10:23 a.m. พูดว่า “Ten twenty three in the morning”
i English
by Kittipong
การเขียนเวลาในภาษาอังกฤษจะต้องใช้ colon (:) คั่นระหว่างชั่วโมง
และนาที ถ้าต้องมีวินาทีก็คั่นด้วย : อีก เช่น 5:25 a.m. หรือ 5:25:30
a.m. จะเป็นระบบ 12 หรือ 24 ชั่วโมงก็ใช้: เหมือนกัน ซึ่งจะต่างจาก
แบบที่เขียนในภาษาไทยที่ใช้จุด (.) เช่น 15.25 น.

More Related Content

Viewers also liked

Everest Pp
Everest PpEverest Pp
Everest Pp
guest15de74e
 
A magia esta em voce
A magia esta em voceA magia esta em voce
A magia esta em vocedanielacl
 
大上帝慈悲 冬季大典
大上帝慈悲   冬季大典大上帝慈悲   冬季大典
大上帝慈悲 冬季大典guest646f18
 
Presentazionec5
Presentazionec5Presentazionec5
Presentazionec5umbriaolii
 
Pool supplies
Pool suppliesPool supplies
Pool supplies
rchantsyy33
 
Reapertura minas de hierro en Cehegín
Reapertura minas de hierro en CehegínReapertura minas de hierro en Cehegín
Reapertura minas de hierro en Cehegín
ceheginactual
 

Viewers also liked (9)

Digipak 2
Digipak 2Digipak 2
Digipak 2
 
Everest Pp
Everest PpEverest Pp
Everest Pp
 
A magia esta em voce
A magia esta em voceA magia esta em voce
A magia esta em voce
 
Dinero eletronico
Dinero eletronicoDinero eletronico
Dinero eletronico
 
大上帝慈悲 冬季大典
大上帝慈悲   冬季大典大上帝慈悲   冬季大典
大上帝慈悲 冬季大典
 
Presentazionec5
Presentazionec5Presentazionec5
Presentazionec5
 
Pool supplies
Pool suppliesPool supplies
Pool supplies
 
Reapertura minas de hierro en Cehegín
Reapertura minas de hierro en CehegínReapertura minas de hierro en Cehegín
Reapertura minas de hierro en Cehegín
 
P1 paulinagarcia
P1 paulinagarciaP1 paulinagarcia
P1 paulinagarcia
 

More from Kittipong Rungruengthanakit (12)

I Love English by KR No.25 (7Apr09)
I Love English by KR No.25 (7Apr09)I Love English by KR No.25 (7Apr09)
I Love English by KR No.25 (7Apr09)
 
I Love English by KR No.22 (17Mar09)
I Love English by KR No.22 (17Mar09)I Love English by KR No.22 (17Mar09)
I Love English by KR No.22 (17Mar09)
 
I Love English by KR No.14 (20Jan09)
I Love English by KR No.14 (20Jan09)I Love English by KR No.14 (20Jan09)
I Love English by KR No.14 (20Jan09)
 
I Love English by KR No.13 (13Jan09)
I Love English by KR No.13 (13Jan09)I Love English by KR No.13 (13Jan09)
I Love English by KR No.13 (13Jan09)
 
I Love English by KR No.12 (6Jan09)
I Love English by KR No.12 (6Jan09)I Love English by KR No.12 (6Jan09)
I Love English by KR No.12 (6Jan09)
 
I Love English by KR No.10 (23Dec08)
I Love English by KR No.10 (23Dec08)I Love English by KR No.10 (23Dec08)
I Love English by KR No.10 (23Dec08)
 
I Love English by KR No.8 (9Dec08)
I Love English by KR No.8 (9Dec08)I Love English by KR No.8 (9Dec08)
I Love English by KR No.8 (9Dec08)
 
I Love English by KR No.6 (25Nov08)
I Love English by KR No.6 (25Nov08)I Love English by KR No.6 (25Nov08)
I Love English by KR No.6 (25Nov08)
 
I Love English by KR No.5 (18Nov08)
I Love English by KR No.5 (18Nov08)I Love English by KR No.5 (18Nov08)
I Love English by KR No.5 (18Nov08)
 
I Love English by KR No.4 (11Nov08)
I Love English by KR No.4 (11Nov08)I Love English by KR No.4 (11Nov08)
I Love English by KR No.4 (11Nov08)
 
I Love English by KR No.3 (4Nov08)
I Love English by KR No.3 (4Nov08)I Love English by KR No.3 (4Nov08)
I Love English by KR No.3 (4Nov08)
 
I Love English by KR No.1 (21Oct08)
I Love English by KR No.1 (21Oct08)I Love English by KR No.1 (21Oct08)
I Love English by KR No.1 (21Oct08)
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

I Love English by KR No.17 (10Feb09)

  • 1. Number 17, 10 February 2009 ในการทางานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศพวกเราต้องสื่อสารเรื่องเวลาเป็นภาษาอังกฤษ ผมคิดว่าน่าจะมาทบทวนและทาความเข้าใจใน เรื่องนี้กัน ระบบของเวลาที่มักจะพบในนาฬิกาดิจิตอลคือ 24 ชั่วโมง ถ้าคิดง่ายๆ ก็น่าจะเป็น 00:00 ถึง 24:00 แต่ทั้งสองอันนี้ก็ทับกันพอดี ใน ความเป็นจริงจะไม่มี 24:00 แต่จะข้ามจาก 23:59 ไป 00:00 ซึ่งเกิดขึ้นเสี้ยววินาทีแล้วไปที่ 00:00:01 อีกระบบหนึ่งคือระบบ 12 ชั่วโมงพบได้ใน นาฬิกาที่มีเข็มสั้นเข็มยาว (analog) โดยแบ่งเป็น 12 ชั่วโมงก่อนเที่ยงวันและอีก 12 ชั่วโมงหลังเที่ยงวัน ใช้คาศัพท์จากภาษาลาตินว่า ก่อนเที่ยงวัน = ante meridiem และหลังเที่ยงวัน = post meridiem เขียนเป็น a.m. p.m. A.M. P.M. AM PM ประเทศที่ใช้วิธีเขียนระบบ 24 ชั่วโมงก็คืออังกฤษ สิงคโปร์ และกลุ่มประเทศยุโรป ส่วนประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ใช้ระบบ 12 ชั่วโมง ผมจะขอแบ่งการทาความเข้าใจในระบบ 12 ชั่วโมงนี้ออกเป็น 2 ส่วน คือ การเขียนและการพูด การเขียนในระบบ 12 ชั่วโมงจะมีข้อที่สับสนที่สุดคือเที่ยงวันและเที่ยงคืน การเขียน 12:00 a.m. หมายถึงเที่ยงคืนและ 12:00 p.m. หมายถึงเที่ยงวัน มีหลายองค์กรที่แนะนาให้เขียน midnight และ noon ซึ่งให้ความหมายตรงกับเวลา ณ จุดนั้น ไม่มีก่อนหรือหลัง ในการเขียน เราพอจะสรุปการเขียนเวลาแต่ละจุดได้ดังนี้ เที่ยงคืน เขียน midnight หรือ 12:00 a.m. จากนั้นเขียน 12:01 a.m. ไปจนถึง 11:59 a.m. แล้วเป็น noon หรือ 12:00 p.m. แล้วเข้าสู่ช่วงบ่ายเขียน 12:01 p.m. ไปจนถึง 11:59 p.m. ในส่วนการพูดเราสามารถพูดได้หลายแบบตามที่เรียนมาตั้งแต่เด็กๆ ที่สาคัญคือ จะต้องมีคาขยายต่อท้าย เช่น in the morning, in the afternoon หรือ am, pm เวลาเราพูดก็ต้องไม่ลืมมีวลีพวกนี้ต่อท้าย ผู้ฟังจะได้รู้ว่าเป็นช่วงเช้าหรือบ่าย ยกเว้นคนถามเวลาว่ากี่โมง อันนี้คนถามรู้ ว่าเป็นตอนเช้าหรือบ่ายอยู่แล้ว ถ้าเป็นเวลาครบชั่วโมงพอดี ก็ตามด้วยคาว่า o’clock เช่น 7:00 a.m. พูดว่า “Seven o’clock in the morning” พูดไปทีละ 15 นาที ได้แก่ quarter pass, half pass, quarter to ตามด้วยเลขชั่วโมง ไม่มี o’clock นะครับ พูดให้เป็นหน่วยของ 5 นาที เช่น 8:25 p.m. พูดว่า “Twenty five pass eight p m” หรือ 8:45 a.m. พูดว่า “Fifteen to nine a m” ถ้าไม่ ตรงหน่วยห้านาทีก็ปัดเข้าหาอันที่ใกล้เช่น 10:13 p.m. พูดว่า “Fifteen pass ten in the afternoon” พูดเป็นเลขชั่วโมงตามด้วยเลขนาที เช่น 10:23 a.m. พูดว่า “Ten twenty three in the morning” i English by Kittipong การเขียนเวลาในภาษาอังกฤษจะต้องใช้ colon (:) คั่นระหว่างชั่วโมง และนาที ถ้าต้องมีวินาทีก็คั่นด้วย : อีก เช่น 5:25 a.m. หรือ 5:25:30 a.m. จะเป็นระบบ 12 หรือ 24 ชั่วโมงก็ใช้: เหมือนกัน ซึ่งจะต่างจาก แบบที่เขียนในภาษาไทยที่ใช้จุด (.) เช่น 15.25 น.