SlideShare a Scribd company logo
Educational Innovation Analysis
     วเคราะห์นวัตกรรมการศึกษา
      ิ
โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบัตการ หลักสู ตร “การสร้ าง
                           ิ
 ส่ื อการสอนอย่างง่ายด้วย Adobe Captivate
CS5.5" และ "เทคนิคการจดการเรียนการสอน e-
                             ั
       Learning ยุคใหม่ Moodle 1.9”
ด้ ว ยศู น ย์ น วั ต กรรมและเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุนารี ได้ดาเนิ นการจัดโครงการ
                                      ํ
ฝึ กอบรมเชิ งปฏิ บติการ หลักสู ตร “การสร้ างสื่ อ การสอน
                       ั
อย่างง่ายดวย Adobe Captivate CS5.5" และ
             ้
"เทคนิ คการจดการเรียนการสอน e-Learning ยุคใหม่
                 ั
Moodle 1.9” ให้แก่ คณาจารย์ ผูผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา
                                        ้
นักวิจย นักการศึกษา และบุคคลทัวไป
      ั                            ่
โดยผูเ้ ข้าอบรมจะได้รับความรู ้ และเกิดทักษะปฏิบติ
                                                       ั
ด้า นการใช้ง านโปรแกรม Adobe                 Captivate
CS5.5 เพื่อสร้างสื่ อการสอนมัลติมีเดียอย่างง่ายด้วยตนเอง
และการใช้ ง านระบบบริ หารจั ด การเรี ยนการสอน
Moodle 1.9 ในระดบผสอน เพื่อสร้างระบบการเรียน
                         ั ู้
การสอนผานเครือข่ายให้สถาบนการศึกษาของตนเอง ซ่ ึ งจะ
           ่                  ั
สามารถนํา ไปพ ัฒ นา ถ่ า ยทอด และประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการ
ปฏิบติงานในหน่ วยงานของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมได้อย่างมี
     ั
ประสิ ทธิ ภาพ
ซ่ ึ งได้ดาเนิ นการจัดฝึ กอบรม ระหว่างวันที่ 25-27
                 ํ
มิถุนายน 2555 ต้ งแต่เวลา 8.30-16.30 น. ณ ห้อง
                        ั
คอมพิวเตอร์ 219 ชั้น 2 อาคารสุรพฒน์ 1 มหาวิทยาลย
                                        ั               ั
เทคโนโลยีสุรนารี
          วันที่                หลกสูตร
                                  ั

                                การสร้างส่ ือการสอนอย่างง่าย
          25 มิถุนายน 2555      ด้ วย Adobe Captivate CS5.5

                                เทคนิคการจดการเรียนการ
                                            ั
                                สอน e-Learning
          26-27 มิถุนายน 2555
                                (Moodle 1.9)
SWOT การจดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏบตการ หลกสูตร
                  ั                       ิ ั ิ ั
“การสร้ างสื่ อการสอนอย่ างง่ ายด้ วย Adobe Captivate
     CS5.5" และ "เทคนิคการจัดการเรียนการสอน
        e-Learning ยุคใหม่ Moodle 1.9”
จุดแขง
                           ็
1. กลยทธ์ มหาวทยาลยได้มการวางแผนเพ่ือ รองรับ
          ุ        ิ     ั ี
ความก้าวหน้าของการเปลยนแปลงในโลกยค
                           ่ี               ุ
โลกาภิวฒน์เป็ นอย่างดี
        ั
2. โครงสร้ าง ได้ มีการจัดโครงสร้ างที่ชดเจนไม่ซบซ้ อน
                                        ั       ั
โดยมีการแบ่งสายบังคับบัญชาแบบระนาบเดียว
3. ระบบ มีขนตอนการปฏิบติงานที่ความกระชับและ
             ั้               ั
รวดเร็ว
4. รูปแบบ ใช้ การบริหารแบบประชาธิปไตย โดยรับฟั ง
ความคดเหนของ อาจารย์ นักศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้ อง
       ิ ็
5. การจัดการบุคคล ได้ พิจารณาตามความรู้ความสามารถ
ให้เหมาะสมกบการเรียนการสอนหรือตามโครงการอบรม
               ั
พิเศษ
6. ทักษะ อาจารย์และนักศึกษามีความรู้ความสามารถ
พร้ อมที่จะรับความรู้ทางด้ านเทคโนโลยีใหม่ๆเสมอ
7. ค่านิยมร่ วม มหาวิทยาลัยได้ สร้ างค่านิยมให้ การเรี ยนรู้
เสียสละ และสร้างชื่อเสียงให้กบสถาบน
                               ั      ั
จุดอ่อน

1. กลยุทธ์ แผนพัฒนามหาวิทยาลัยยังขาดความชัดเจนใน
การทีจะบรรลุวตถุประสงค์
         ่       ั
ที่ตั ้งไว้
2. โครงสร้ าง สายบังคับบัญชามีการกระจายอํานาจน้ อย
เกินไปทําให้ เกิดความล้ าช้ าในการดําเนินการโครงการต่างๆ
3. ระบบ ยงขาดอปกรณ์ที่ทนสมยในการดําเนินงาน เชน
            ั      ุ         ั ั                     ่
เครื่องคอมพิวเตอร์ยงเป็นรุ่นเก่าเกินกว่าจะใช้โปรแกรม
                     ั
ใหม่ๆได้
4. รูปแบบ ผู้บริ หารยังยึดติดกับการบริหารแบบเก่าๆ
กล่าวคือ ยังมีความเผด็จการอยู่ในบางเรื่ องบางเหตุการณ์
5. การจัดการบุคคล อาจารย์ยงมีอคติในการคัดเลือก
                                ั
นักศึกษาเข้ าฝึ กอบรมตามความเหมาะสมตามสาขาวิชา
6. ทกษะ ยังมีอาจารย์ที่อยู่ในสถาบันมานานยังขาดทักษะ
     ั
ในการสอนและเรี ยนรู้แนวทางวิชาการแบบใหม่
7. ค่านิยมร่ วม ยังมีคานิยมต่างอันเนื่องมาจาก ยังยึดติด
                      ่
กับค่านิยมเดิมของสถาบันเก่าที่เคยศึกษามาก
โอกาส
1. กระทรวงไอซีที มีนโยบายให้ การสนับสนุนในการเรี ยนรู้
2. เศรษฐกิจมีการขยายตวอย่างต่อเนื่อง สงผลให้มีความ
                           ั             ่
จําเป็ นในการเรี ยนรู้ระบบไอทีในรูปแบบใหม่ๆ
3. สงคมปัจจบนเป็นโลกยคโลกาภิวฒน์ จงสนบสนนการ
       ั          ุ ั        ุ      ั   ึ ั ุ
เรี ยนรู้เป็ นอย่างมาก
4. อุปกรณ์เทคโนโลยีมีความก้ าวหน้ า ทําให้ สะดวกต่อการ
เรียนร้ ู
อุปสรรค
1. มีความล้ าช้ าในเชิงนโยบาย ในการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อ
ดําเนินการอบรม
2. ปั ญหาค่าเงินบาทที่อ่อนตัว ส่งผลให้ อปกรณ์และซอฟแวร์ มีราคา
                                         ุ
สูงขึ ้น
3. ยังมีแนวคิดบางอย่างของสังคมที่มีการต่อต้ านเกี่ยวกับระบบไอที
4. เทคโนโลยีก้าวหน้ าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ อปกรณ์ไอทีที่ใช้ อยู่เกิด
                                                 ุ
ความล้ าหลังหรื อทุกรุ่นอย่างรวดเร็ว ทําให้ บางครังซอฟแวร์ ใหม่ๆไม่
                                                   ้
สามารถนําไปใช้ ได้

More Related Content

What's hot

โครงงานประเภท
โครงงานประเภทโครงงานประเภท
โครงงานประเภท
wichaya222
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
oraya-s
 
การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Daoruang Kinawong
 
(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)
Aungkana Na Na
 

What's hot (20)

Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
โครงงานประเภท
โครงงานประเภทโครงงานประเภท
โครงงานประเภท
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
First class teaching techniques
First class teaching techniquesFirst class teaching techniques
First class teaching techniques
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
4.4
4.44.4
4.4
 
กก2
กก2กก2
กก2
 
Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา Development of Educational Innovation an...
การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา Development of Educational Innovation an...การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา Development of Educational Innovation an...
การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา Development of Educational Innovation an...
 
ปกรายงานโครงการ
ปกรายงานโครงการปกรายงานโครงการ
ปกรายงานโครงการ
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
 
การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การอบรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 

Similar to Educational innovation analysis swot

การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
Kutjung Rmuti
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
aom08
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
aom08
 

Similar to Educational innovation analysis swot (20)

การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Smart classroom muic
Smart classroom muicSmart classroom muic
Smart classroom muic
 
Smart classroom muic
Smart classroom muicSmart classroom muic
Smart classroom muic
 
Smart classroom muic
Smart classroom muicSmart classroom muic
Smart classroom muic
 
Smart classroom muic
Smart classroom muicSmart classroom muic
Smart classroom muic
 
Smart classroom muic
Smart classroom muicSmart classroom muic
Smart classroom muic
 
Smart Classroom @ MUIC
Smart Classroom @ MUICSmart Classroom @ MUIC
Smart Classroom @ MUIC
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

More from duenka

บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
duenka
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
duenka
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
duenka
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมิน
duenka
 
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
duenka
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
duenka
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
duenka
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
duenka
 

More from duenka (9)

บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมิน
คุณธรรม จริยธรรม ผู้ประเมิน
 
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
 
Me
MeMe
Me
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 

Educational innovation analysis swot

  • 1. Educational Innovation Analysis วเคราะห์นวัตกรรมการศึกษา ิ
  • 2. โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบัตการ หลักสู ตร “การสร้ าง ิ ส่ื อการสอนอย่างง่ายด้วย Adobe Captivate CS5.5" และ "เทคนิคการจดการเรียนการสอน e- ั Learning ยุคใหม่ Moodle 1.9”
  • 3. ด้ ว ยศู น ย์ น วั ต กรรมและเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุนารี ได้ดาเนิ นการจัดโครงการ ํ ฝึ กอบรมเชิ งปฏิ บติการ หลักสู ตร “การสร้ างสื่ อ การสอน ั อย่างง่ายดวย Adobe Captivate CS5.5" และ ้ "เทคนิ คการจดการเรียนการสอน e-Learning ยุคใหม่ ั Moodle 1.9” ให้แก่ คณาจารย์ ผูผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา ้ นักวิจย นักการศึกษา และบุคคลทัวไป ั ่
  • 4. โดยผูเ้ ข้าอบรมจะได้รับความรู ้ และเกิดทักษะปฏิบติ ั ด้า นการใช้ง านโปรแกรม Adobe Captivate CS5.5 เพื่อสร้างสื่ อการสอนมัลติมีเดียอย่างง่ายด้วยตนเอง และการใช้ ง านระบบบริ หารจั ด การเรี ยนการสอน Moodle 1.9 ในระดบผสอน เพื่อสร้างระบบการเรียน ั ู้ การสอนผานเครือข่ายให้สถาบนการศึกษาของตนเอง ซ่ ึ งจะ ่ ั สามารถนํา ไปพ ัฒ นา ถ่ า ยทอด และประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการ ปฏิบติงานในหน่ วยงานของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมได้อย่างมี ั ประสิ ทธิ ภาพ
  • 5. ซ่ ึ งได้ดาเนิ นการจัดฝึ กอบรม ระหว่างวันที่ 25-27 ํ มิถุนายน 2555 ต้ งแต่เวลา 8.30-16.30 น. ณ ห้อง ั คอมพิวเตอร์ 219 ชั้น 2 อาคารสุรพฒน์ 1 มหาวิทยาลย ั ั เทคโนโลยีสุรนารี วันที่ หลกสูตร ั การสร้างส่ ือการสอนอย่างง่าย 25 มิถุนายน 2555 ด้ วย Adobe Captivate CS5.5 เทคนิคการจดการเรียนการ ั สอน e-Learning 26-27 มิถุนายน 2555 (Moodle 1.9)
  • 6. SWOT การจดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏบตการ หลกสูตร ั ิ ั ิ ั “การสร้ างสื่ อการสอนอย่ างง่ ายด้ วย Adobe Captivate CS5.5" และ "เทคนิคการจัดการเรียนการสอน e-Learning ยุคใหม่ Moodle 1.9”
  • 7. จุดแขง ็ 1. กลยทธ์ มหาวทยาลยได้มการวางแผนเพ่ือ รองรับ ุ ิ ั ี ความก้าวหน้าของการเปลยนแปลงในโลกยค ่ี ุ โลกาภิวฒน์เป็ นอย่างดี ั 2. โครงสร้ าง ได้ มีการจัดโครงสร้ างที่ชดเจนไม่ซบซ้ อน ั ั โดยมีการแบ่งสายบังคับบัญชาแบบระนาบเดียว 3. ระบบ มีขนตอนการปฏิบติงานที่ความกระชับและ ั้ ั รวดเร็ว
  • 8. 4. รูปแบบ ใช้ การบริหารแบบประชาธิปไตย โดยรับฟั ง ความคดเหนของ อาจารย์ นักศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้ อง ิ ็ 5. การจัดการบุคคล ได้ พิจารณาตามความรู้ความสามารถ ให้เหมาะสมกบการเรียนการสอนหรือตามโครงการอบรม ั พิเศษ 6. ทักษะ อาจารย์และนักศึกษามีความรู้ความสามารถ พร้ อมที่จะรับความรู้ทางด้ านเทคโนโลยีใหม่ๆเสมอ 7. ค่านิยมร่ วม มหาวิทยาลัยได้ สร้ างค่านิยมให้ การเรี ยนรู้ เสียสละ และสร้างชื่อเสียงให้กบสถาบน ั ั
  • 9. จุดอ่อน 1. กลยุทธ์ แผนพัฒนามหาวิทยาลัยยังขาดความชัดเจนใน การทีจะบรรลุวตถุประสงค์ ่ ั ที่ตั ้งไว้ 2. โครงสร้ าง สายบังคับบัญชามีการกระจายอํานาจน้ อย เกินไปทําให้ เกิดความล้ าช้ าในการดําเนินการโครงการต่างๆ
  • 10. 3. ระบบ ยงขาดอปกรณ์ที่ทนสมยในการดําเนินงาน เชน ั ุ ั ั ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ยงเป็นรุ่นเก่าเกินกว่าจะใช้โปรแกรม ั ใหม่ๆได้ 4. รูปแบบ ผู้บริ หารยังยึดติดกับการบริหารแบบเก่าๆ กล่าวคือ ยังมีความเผด็จการอยู่ในบางเรื่ องบางเหตุการณ์ 5. การจัดการบุคคล อาจารย์ยงมีอคติในการคัดเลือก ั นักศึกษาเข้ าฝึ กอบรมตามความเหมาะสมตามสาขาวิชา
  • 11. 6. ทกษะ ยังมีอาจารย์ที่อยู่ในสถาบันมานานยังขาดทักษะ ั ในการสอนและเรี ยนรู้แนวทางวิชาการแบบใหม่ 7. ค่านิยมร่ วม ยังมีคานิยมต่างอันเนื่องมาจาก ยังยึดติด ่ กับค่านิยมเดิมของสถาบันเก่าที่เคยศึกษามาก
  • 12. โอกาส 1. กระทรวงไอซีที มีนโยบายให้ การสนับสนุนในการเรี ยนรู้ 2. เศรษฐกิจมีการขยายตวอย่างต่อเนื่อง สงผลให้มีความ ั ่ จําเป็ นในการเรี ยนรู้ระบบไอทีในรูปแบบใหม่ๆ 3. สงคมปัจจบนเป็นโลกยคโลกาภิวฒน์ จงสนบสนนการ ั ุ ั ุ ั ึ ั ุ เรี ยนรู้เป็ นอย่างมาก 4. อุปกรณ์เทคโนโลยีมีความก้ าวหน้ า ทําให้ สะดวกต่อการ เรียนร้ ู
  • 13. อุปสรรค 1. มีความล้ าช้ าในเชิงนโยบาย ในการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อ ดําเนินการอบรม 2. ปั ญหาค่าเงินบาทที่อ่อนตัว ส่งผลให้ อปกรณ์และซอฟแวร์ มีราคา ุ สูงขึ ้น 3. ยังมีแนวคิดบางอย่างของสังคมที่มีการต่อต้ านเกี่ยวกับระบบไอที 4. เทคโนโลยีก้าวหน้ าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ อปกรณ์ไอทีที่ใช้ อยู่เกิด ุ ความล้ าหลังหรื อทุกรุ่นอย่างรวดเร็ว ทําให้ บางครังซอฟแวร์ ใหม่ๆไม่ ้ สามารถนําไปใช้ ได้