SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2552
คำาว่า “ ”กาลามสูตร 10 ประการ
1. กาลามสูตร เรียกอีกอย่างว่า “เกสปุตตสูตร (ใช้แทนกันได้)
2. เป็นพระสูตร ว่าด้วยเกณฑ์พิจารณาความเชื่อ 10 ประการ
ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนชาวกาลามะ ที่หมู่บ้านกาลามะ
ตำาบลเกสปุตตนิคม แคว้นโกศล (มีในพระไตรปิฎก หมวดพระสุต
ตันตปิฎก)
3. กาลามสูตร 10 ประการ ได้แก่
1. อย่าปลงใจเชื่อตามถ้อยคำา
ที่ได้ยินได้ฟังมา
6. อย่าปลงใจเชื่อเพราะการอนุมาน
2. อย่าปลงใจเชื่อด้วยการถือ
สืบ ๆ กันมา
7. อย่าปลงใจเชื่อโดยความตรึกตรอง
ตามแนวเหตุผล
3. อย่าปลงใจเชื่อด้วยการเล่า
ลือ
8. อย่าปลงใจเชื่อเพราะเข้าได้กับ
ทฤษฎี
4. อย่าปลงใจเชื่อด้วยการ
อ้างตำารา/คัมภีร์
9. อย่าปลงใจเชื่อเพราะเห็นรูปลักษณะ
น่าจะเป็นไปได้
5. อย่าปลงใจเชื่อเพราะ
ตรรกะ
10.อย่าปลงใจเชื่อโดยความนับถือว่า
สมณะนี้เป็นครูของเรา
นักเรียน : ครูครับๆ อะไรๆ ก็ไม่ให้เชื่อ แล้วอย่างนี้พวกเราจะเชื่อ
อะไรดีละครับ?
ครู : ฟังนะครับ! ไม่ได้หมายความว่าพระพุทธเจ้าไม่ให้เรา
เชื่อต่อสิ่งใดๆ เลย
แต่ท่านต้องการให้เราใช้ปัญญาใคร่ครวญให้ดีเสยก่อนจึง
เชื่อ คือท่านต้องการให้เราใช้มันสมองคิดพิจารณา ไตร่ตรอง ไม่
เชื่ออะไรทันที
ข้อ 1 เกสปุตตสูตร
เหตุผล เป็นพระสูตรว่าด้วยข้อห้ามมิให้เชื่ออะไรง่ายๆ ซึ่งตรงกับ
หลักการฟังหูไว้หูในภาษิตไทย
วิเคราะห์ข้อผิด
- ข้อ 2 ผิด เพราะ วิชชาสูตร คือสูตรที่ว่าด้วยความหมายของ
วิชชา การรู้เหตุแห่งการเกิดและดับของรูป เวทนา สัญญา
สังขาร และวิญญาณ (อาจเรียก ขันธ์ 5 ก็ได้)
- ข้อ 3 ผิด เพราะ อนุโสตสูตร เป็นสูตรว่าด้วยบุคคล 4
ปรากฏอยู่ในโลก คือ คนตามกระแส, ทวนกระแส, ไม่
51
1. “ ”หลักการฟังหูไว้หู ในภาษิตไทย ตรงกับพระสูตรข้อใด
1. เกสปุตตสูตร 2. วิชชาสูตร 3. อนุโสตสูตร
4. จินตสูตร
คำา
ตอบ
ตามและไม่ทวนกระแส และคนข้ามถึงฝั่งขึ้นอยู่บนบกเป็น
พราหมณ์
- ข้อ 4 ผิด เพราะ จินตสูตร ว่าด้วยลักษณะแตกต่างระหว่าง
บัณฑิต (คิดดีพูดดีทำาดี) กับคนพาล (คิดชั่ว พูดชั่ว ทำาชั่ว)
-
-
คำาว่า “ ”หลักพุทธธรรมที่สำาคัญ
1. อัปปมาทธรรม = ธรรมแห่งความไม่ประมาท เป็นยอดของ
ธรรมในพระศาสนา คือความเป็นอยู่อย่างไม่ขาดสติ มีสติเป็น
เครื่องกำากับความประพฤติ ระมัดระวังที่จะไม่ทำาชั่ว เพียรทำาแต่
ความดี
2. เมตตาธรรม = ธรรมแห่งความรัก ความปรารถนาดีอยากให้
ผู้อื่นมีความสุข (1 ในพรหมวิหาร 4) ทำาให้เกิดความรักความสงบ
สุขและความสามัคคีต่อกัน
3. สันติธรรม = ธรรมแห่งความสงบ ปลอดจากสงครามและการ
ทำาลายล้างซึ่งกันและกัน
4. โลกปาลธรรม = ธรรมคุ้มครองโลก ปกครองควบคุมใน
มนุษย์ให้อยู่ในความดี มิให้ละเมิดศีลธรรมและให้อยู่ด้วยความสงบ
เรียบร้อย มี 2 อย่าง คือ หิริ ละอายในการที่จะทำาบาปและ
โอตตัปปะ เกรงกลัวต่อผลของการกระทำาบาป
ข้อ 1 อัปปมาทธรรม (ต้องวิเคราะห์ตามความ
หมายของศีล)
เหตุผล เพราะ ธรรมคือความไม่ประมาท พึงกระทำาใน 4 อย่าง
คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และมีความเห็นที่
ถูกต้อง จึงถือได้ว่าเป็นผู้มีศีลสมบูรณ์ หลักฐานที่นำามา
อ้างคือ
หลักฐานเป็นพุทธพจน์ตรัสว่า “ความไม่ประมาทย่อมเป็นไป
เพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ เพื่อความดำารงมั่นไม่เสื่อมสูญ... แห่ง
”สัทธรรม
 หลักฐานในพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “ดูก่อน
คฤหบดีทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยศีล
จะประสบกองแห่งโภคระใหญ่ ”มีความไม่ประมาทเป็นเหตุ
-
-
คำาว่า “ ”ไตรสิกขา
52
2. บุคคลประพฤติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนาข้อใดจึงจะถือ
ได้ว่าเป็นผู้มีศีลสมบูรณ์
1. อัปปมาทธรรม 2. เมตตาธรรม 3. สันติธรรม
4. โลกปาลธรรม
3. องค์มรรคข้อใด มิใด จัดเข้าในอธิจิตสิกขา
1. สัมมาสติ 2. สัมมาสมาธิ 3. สัมมาสังกัปปะ
4. สัมมาวายามะ
คำา
ตอบ
1. ไตรสิกขา เป็นระบบการฝึกฝนตนเองอบรมใน 3 ด้าน
ใหญ่ ๆ คือ ทางปัญญา (อธิปัญญาสิกขา) ทางศีล (อธิศีลสิกขา)
และทางจิตหรือสมาธิ (อธิจิตตสิกขา)
2. ไตรสิกขา คือ “ ”มัชฌิมาหฏิปทา เป็นวิธีการปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงที่
สิ้นสุดแห่งทุกข์ หรือมรรค 8 ได้แก่
1. สัมมาทิฐิความเห็นชอบหรือความเข้าใจ
ถูกต้อง
2. สัมมาสังกัปปะ ความดำาริชอบ
3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ
4. สัมมากัมมมันตะ การงานชอบ
5. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีพ
6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ
7. สัมมาสติ ระลึกชอบ
8. สัมมาสมาธิ ตั้งใจมั่นชอบ
ข้อ 3 สัมมาสังกัปปะ
เหตุผล เพราะสัมมาสังกัปปะ หมายถึง ความดำาริชอบ จัดอยู่ใน
อธิปัญญาสิกขา มิใดจัดอยู่ในอธิจิตตสิกขา
-
-
คำาว่า “ ”สมุทัย
- สมุทัย หมายถึง สาเหตุแห่งความทุกข์ หรือ สาเหตุแห่งปัญหา
ทั้งปวง ได้แก่
1. กามตัณหา = ความอยากได้ในสิ่งที่น่ารัก น่าใคร่ น่า
ปรารถนา น่าพอใจในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส
2. ภวตัณหา = ความอยากมีหรืออยากเป็น เช่น อยากมีอำานาจ
อยากมีคนรัก อยากมีเงิน
3. วิภวตัณหา = อยากให้พ้นจากสภาพที่ตนไม่ต้องการ เช่น ไม่
อยากทำางานหนัก ไม่อยากเป็นทหาร
ข้อ 2 ตัณหา
เหตุผล เพราะเป็นสาเหตุแห่งความทุกข์ ได้แก่ กามตัณหา
ภวตัณหา และวิภวตัณหา
ตัณหา อุปาทานดับ ภพดับ ชาติดับ
ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ = ทุกข์ดับ
วิเคราะห์ข้อผิด
- ข้อ 1 ผิด เพราะ อวิชชา คือ ความไม่รู้จริง หมายถึง ทำาให้
ไม่รู้ ไม่เข้าใจในอริยสัจจ์ 4
53
อธิ
ปัญญา
สิกขา
อธิศีล
สิกขา
อธิจิตสิกขา
(สมาธิ)
คำา
ตอบ
4. “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่า
นั้น ”และตรัสความดับแห่งธรรมเหล่านั้น ถ้าธรรมเหล่านั้น
หมายถึง ทุกข์ เหตุแห่งธรรมเหล่านั้น หมายถึงอะไร
1. อวิชชา 2. ตัณหา 3.
อุปทาน 4. มิจฉาทิฐิ
คำา
ตอบ
- ข้อ 3 ผิด เพราะ อุปทาน คือ ความยึดถือมั่นด้วยอำานาจกิเลส
- ข้อ 4 ผิด เพราะ มิจฉาทิฎฐิ (มิจฉาทิฐิ) คือความเห็นผิดจาก
คลองธรรม
-
-
คำาว่า “ ”เทววาจิกอุบาสก
- เทววาจิกอุบาสก = ผู้กล่าววาจาถึงสรณะสอง คือ
พระพุทธและพระธรรม ในสมัยที่ยังไม่มีพระสงฆ์
ประวัติโดยย่อ
1. หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้ 49 วัน นายวาณิชสองพี่น้อง คือ
ตปุสสะ และ ภัลลิกะ นำาเกวียนบรรทุกสินค้า 500 เล่ม เดินทาง
ค้าขายจาก อุกกชลบท จนถึง ตำาบลอุรุเวลา ในแคว้นมคธ ณ ลุ่มแม่
นำ้าเนรัญชรา ซึ่งเป็นสถานที่ที่พระพุทธเจ้าเคยบำาเพ็ญทุกรกิริยาก่อน
ตรัสรู้
2. ทั้งสองมีจิตเลื่อมใสจึงได้ถวายข้าวตูแด่พระพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธจ้า
เสวยเสร็จ นายวาณิชทั้งสองจึงกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ข้าพระเจ้าทั้งสองขอถือพระองค์และพระธรรมเป็นที่พึ่ง... ข้า
พระพุทธจ้าทั้งสองเป็นอุบาสกในพระพุทธศาสนาตราบอวสานแห่ง
”ชีวิต
3. พระพุทธเจ้าทรงสถาปนาอุบาสกทั้งสองให้เป็นผู้เลิศกว่าอุบาสกทั้ง
หลาย (เอตทัคคะ) ด้านถึงสรณะสอง คือ พระพุทธ และพระธรรม
ก่อนผู้อื่น
ข้อ 3 เป็นผู้นับถือรัตนตรัยเพียง 2 องค์
เหตุผล เพราะขณะนั้นยังไม่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นในโลก อุบาสกทั้ง
สองจึงได้นามว่า “ ”ทฺเววาจิกอุบาสก
-
-
คำาว่า “ ”กรรมนิยาม
- นิยาม แปลว่า “ ”กฎธรรมชาติ ซึ่งมีอยู่ 5 นิยาม คือ
1. อุตุนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับฤดูกาล ดิน ฟ้า อากาศ
2. พีชนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพันธุกรรม การสืบพันธุ์ของ
คน สัตว์ พืช
3. จิตนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับกระบวนการทำางานของจิต
54
5. ตปุสสะ ภัลลิก พ่อค้าชาวโภคนคร ผู้ถวายข้าวสัตตุแก่
พระพุทธเจ้า ได้แสดงตนเป็นอุบาสก ผู้นับถือพระรัตนตรัยรุ่นแรก
เรียกว่า “ ”ทเววาจิกะอุบาสก คำาที่ขีดเส้นใต้ หมายความว่า
อย่างไร
1. เป็นผู้กล่าวปฏิญาณตน 2 ครั้ง 2. เป็นผู้กล่าวปฏิญาณ
ตน 3 ครั้ง
3. เป็นผู้นับถือรัตนตรัยเพียง 2 องค์ 4. เป็นผู้นับถือ
รัตนตรัยทั้ง 3 องค์
คำา
ตอบ
6. การที่นักวิทยาศาสตร์ทากรสำาเนาชีวพันธุกรรม (โคลนนิ่ง) ได้
แสดงว่า นักวิทยาศาสตร์มีความเข้าใจตามหลักนิยามข้อใด
1. อุตุนิยาม 2. พีชนิยาม 3.
กรรมนิยาม 4. ธรรมนิยาม
หลักสากลของกรรม
นิยาม
หว่านพืชเช่นใด ย่อม
ได้ผลเช่นนั้น
ผู้ทำาดี ย่อมได้ดี ผู้ทำา
ชั่ว ย่อมได้ชั่ว
Not
e
4. กรรมนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการกระทำาและผลของ
การกระทำา
5. ธรรมนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความเป็นเหตุเป็นผลของ
สรรพสิ่ง เป็นสากล
ข้อ 2 พีชนิยาม
เหตุผล เพราะ เป็นกฎธรรมชาติเกี่ยวกับพันธุกรรมคือการ
สืบพันธุ์ของคน สัตว์ พืช
-
คำาว่า “เบญจศีล – ”เบญจธรรม
เบญจศีล คือ ศีล 5 ได้แก่ ตรง
กับ
เบญจธรรม คือ ธรรม 5
ข้อ ได้แก่
1. ปาณาติปาตา เวรมณี =
เว้นจากการฆ่าสัตว์
1. เมตตากรุณา
2. อทินนาทานา เวรมณี =
เว้นจากการลักทรัพย์
2. สัมมาอาชีวะ
3. กาเมสุ มิจจารา เวรมณี =
เว้นจากการประพฤติผิดใน
กาม
3.สทารสันโดษ = พอใจ
เฉพาะภรรยาตน (หรือกาม
สังวร)
4. มุสาวาทา เวรมณี = เว้น
จากการกล่าวเท็จ
4. สัจจะ ความสัตย์
5. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา
เวรมณี = เว้นจากการดื่ม
นำ้าเมา
5. อัปปมาทะ หรือ
สติสัมปชัญญะ
ข้อ 3 ศีลข้อที่ 3
เหตุผล เพราะ ศีลข้อที่ 3 กาเมสุ มิจฉา จารา เวรมณี (การเว้นจาก
การประพฤติผิดในกาม) ควรประพฤติคู่กับเบญจธรรมในข้อที่ 3 ส
ทารสันโดษ ซึ่งหมายถึง ความพอใจในภรรยาของตน ไม่บ้าใน
กาม จำาไว้ !!!
-
คำาว่า “ ”วันสำาคัญทางพระพุทธศาสนา
55
คำา
ตอบ
7. เบญจธรรมข้อ “ ”สทารสันโดษ เป็นพื้นฐานขนองเบญจศีลข้อ
ใด
1. ศีลข้อที่ 1 2. ศีลข้อที่ 2 3. ศีลข้อที่ 3
4. ศีลข้อที่ 4
คำา
ตอบ
8. นักปราชญ์กำาหนดให้วันสำาคัญทางพระพุทธศาสนาแต่ละวัน
เป็นวันประจำาพระรัตนตรัย ข้อใดเป็น “ ”วันของพระสงฆ์ โดย
เฉพาะ
1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วัน
อาสาฬหบูชา 4. วันเข้าพรรษา
วันสำาคัญ เรียกว่า เหตุการณ์สำาคัญ พิธีกรรม
1.วันวิสาขบูชา
ขึ้น 15 คำ่า
เดือน 6
วันพระพุทธ
เจ้า
- ประสูติ-ตรัสรู้-ปรินิพพาน
- เป็นวันสำาคัญที่สุด
ตักบาตร รักษาศีล
ฟังเทศน์ เวียน
เทียน
2. วันมาฆบูชา
ขึ้น 15 คำ่า
เดือน 3
วันพระธรรม - แสดงโอวาทปาฏิโมกข์
- เกิดจาตุรงคสันนิบาต
ตักบาตร รักษาศีล
ฟังเทศน์ เวียน
เทียน
3. วัน
อาสาฬหบูชา
ขึ้น 15 คำ่า
เดือน 8
วันพระสงฆ์ - แสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัป
ปวัตตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์
ณ อิสิปตนมฤคทาทยวัน
กรุงพาราณสี
- โกณฑัญญะได้ดวงตาเห็น
ธรรม เกิดพระ อริย
สงฆ์ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก
- มีพระรัตนตรัยครบสาม
- สอนมัชฌิมาปฏิปทา หรือ
ทางสายกลาง
ตักบาตร รักษาศีล
ฟังเทศน์ เวียน
เทียน
4. วันอัฏฐมี
บูชา
แรม 8 คำ่า
เดือน 6
วันถวาย
พระเพลิง
พระพุทธ
สรีระ
- อามิสบุชา การบูชาด้วยวัตถุ
สิ่งของ
- ปฏิบัติบูชา การบูชาด้วยการ
ปฏิบัติ ตามคำาสอน
ตักบาตร รักษาศีล
ฟังเทศน์ เวียน
เทียน
5. วันเข้า
พรรษา
แรม 1 คำ่า
เดือน 8 ถึง
ขึ้น 15 คำ่า
เดือน 11
วันจำา
พรรษา
3 เดือน
- พระสงฆ์ไม่จาริกไปค้างแรม
ที่ไหน ตลอด 3
เดือนฤดูฝน
- ถวายผ้าอาบนำ้า
ฝน มีต้นกำาเนิดมา
จากนางวิสาขา
อุบาสิกา
- หล่อเทียนพรรษา
6.วันออก
พรรษา
ขึ้น 15 คำ่า
เดือน 11
วันมหา
ปวารณา
(ครบ
กำาหนด
3 เดือน)
- วันครบกำาหนด 3 เดือนของ
การเข้าพรรษา
- ปวารณา คือ พระภิกษุสงฆ์
ว่ากล่าวตักเตือนซึ่งกันและ
กันได้
- ตักบาตรเท
โวโรหณะ
- เทศกาล
ทอดกฐิน หรือ
กาลทาน เริ่มแรม
1 คำ่า เดือน 11
ถึงขึ้น 15 คำ่า
เดือน 12 (ระยะ
1 เดือนหลังออก
พรรษา)
ข้อ 3 วันอาสาฬหบูชา
เหตุผล เพราะเป็นวันแรกที่พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นในโลก คือ พระอัญ
ญาโกณฑัญญะ (เป็น
เอตทัคคะด้านรัตตัญญู คือ ผู้มีประสบการณ์ผ่านชีวิตมากๆ)
56
คำา
ตอบ
-
คำาว่า “ ”บุญพิธี
- บุญพิธี หมายถึง พิธีทำาบุญตามประเพณีนิยมของชาว
พุทธ มี 2 ประเภท
1. ทำาบุญในงานมงคล
(1) งานแต่งงาน งานวันเกิด วันมงคลสมรส วันขึ้นบ้านใหม่ วัน
ขึ้นปีใหม่ เปิดกิจการใหม่
(2) อาราธนาพระจำานวนคี่ คือ 5 รูป 7 รูป 9 รูป (ยกเว้นงาน
แต่งงานใช้จำานวนคู่ ส่วนงานพระราชพิธีนิยมใช้ 10 รูป เป็น
อย่างน้อย)
(3) เตรียมตั้งบาตรนำ้ามนตร์ และโยงสายสิญจน์
2. ทำาบุญในงานอวมงคล
(1) เกี่ยวกับการตายของบุคคลในครอบครัว 7 วัน 50 วัน 100
วัน งานทำาบุญอัฐิของบรรพบุรุษ งานฌาปนกิจ งาน
สะเดาะเคราะห์
(2) สวดอภิธรรมนิยมนิมนต์พระ 4 รูป พิธีหลวงนิยม 10 รูป
หากบังสุกุลไม่จำากัดจำานวน
(3) ไม่ต้องตั้งบาตรนำ้ามนตร์ ไม่ต้องโยงสายสิญจน์ แต่...
ถ้ามีหีบศพใช้สายภูษาโยง
ข้อ 2 งานสะเดาะเคราะห์
เหตุผล เพราะ เป็นการทำาบุญในงานอวมงคลที่เกี่ยวข้องกับการตาย
ไม่ต้องตั้งบาตรนำ้ามนต์โยงสายสิญจน์
วิเคราะห์ข้อผิด
- ข้อ 1, 3 และ 4 ผิด เพราะเป็นงานมงคล ต้องตั้งบาตร
นำ้ามนตร์และโยงสายสิญจน์
-
คำาว่า “ ”เอตทัคคะ
- เอตทัคคะ คือ “ ”คนเหนือคน ผู้มีความเป็นเลิศทางด้านต่างๆ ของ
เหล่าสาวกของพระพุทธเจ้า มีฝ่ายภิกษุ 41 องค์ ฝ่าย
ภิกษุณี 13 องค์ ฝ่ายอุบาสก 10 ท่าน และ ฝ่ายอุบาสิกา 10 ท่าน
เอตทัคคะที่ควรจำา คือ
1. พระอานนท์ เป็นเลิศ 5 ทาง คือ พหูสูต = ผู้ได้รับฟัง
มาก, สติ = ผู้มีความรอบคอบ คติ = หลัก
การจำาพุทธวจนะ, ธิติ = ผู้มีความขยัน, อุปัฏฐาก = ผู้เป็นยอด
อุปัฏฐาก
57
9. การทำาบุญในข้อใดไม่ต้องตั้งบาตรนำ้ามนตร์ และโยงสาย
สิญจน์
1. งานแต่งาน 2. งานสะเดาะเคราะห์ 3.
คำา
ตอบ
10. พระพุทธสาวกใดได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้เลิศในการทรงจำา
พระพุทธวจนะ
1. พระอานนท์ 2. พระสารีบุตร 3. พระมหา
2. พระสารีบุตร เป็นเลิศในทางผู้มีปัญญามาก
3. พระมหากัสสปะ เป็นเลิศในทาง ผู้ทรงธุดงค์
4. พระมหากัจจายนะ เป็นเลิศในทางผู้ขยายความย่อให้
พิสดาร
ข้อ 1 พระอานนท์
เหตุผล เพราะเป็นผู้เลิศในการทรงจำาพระพุทธวจนะ (มีคติ = หลัก
การจำาพุทะวจนะ)
-
คำาว่า “สังฆคุณ”
- สังฆคุณ คือ คุณงามความดีของพระสงฆ์มี 9 ประการ
แต่จะขอกล่าวเพียง 4 ประการ คือ
1. สุปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว (บำาเพ็ญเพียรตามอย่าง
พระพุทธเจ้า
2. อุชุปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติตรง (ตามคำาสั่งสอน)
3. ญายปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติถูกทางหรือปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูก
ต้อง
4. สามีจิปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติสมควร ไม่บกพร่อง ไม่เป็นที่ติฉิน
นินทา มีความพอดี
ข้อ 2 พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูกต้อง
เหตุผล ตรงกับสังฆคุณข้อ “ ”ญายปฏิปันฺโน
-
คำาว่า “วิรัติ”
- วิรัติ = คือ การงดเว้นบาป เว้นจากการกระทำาผิดศีล 5
มี 3 ประการ
1. สัมปัตตวิรัติ เว้นจากบาปที่กำาลังเกิดขึ้นเฉพาะหน้า โดย
มิได้ตั้งเจตนาไว้
2. สมาทานวิรัติ เว้นจากบาปเพราะได้สมาทานไว้ก่อน
3. สมุทเฉทวิรัติ เว้นจากบาปโดยเด็จขาดของพระอริยะทั้ง
หลาย
58
คำา
ตอบ
11. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของสังฆคุณด้าน “ญายปฏิปัน
”โน
1. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติแล้ว
2. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูกต้อง
3. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติตรงตามคำาสั่งสอน
4. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติสมควร มีความพอดี
คำา
ตอบ
12. ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษามีการรณรงค์เรื่อง “งดเหล้าเข้า
”พรรษา บางคนไม่ได้ตั้งในงดเว้นเอาไว้ แต่ต้น แต่เมื่อเพื่อชวนดื่ม
กลับงดได้ไม่ยอมดื่ม การงดเว้นเช่นนี้ตรงกับวิรัติ (การงดเว้นบาป)
ข้อใด
ข้อ 1 สัมปัตตวิรัติ
เหตุผล เพราะ สัมปัตตวิรัติ หมายถึง การเว้นจากบาปเมื่อประสบ
เหตุโดยมิได้ตั้งเจตนาไว้ก่อน
คำาว่า “กาลอุโบสถ”
- กาลอุโบสถ = คือ ระยะเวลาที่จะรักษาอุโบสถ มี 3
อย่าง คือ
1. ปกติอุโบสถ อุโบสถที่รักษาตามปกติชั่ววันหนึ่งกับคืนหนึ่ง
2. ปฏิชาครอุโบสถ อุโบสถที่รักษาครั้งหนึ่งๆ
ถึง 3 วัน คือ วันอุโบสถตามปกติ พร้อมทั้งวันก่อน
และวันหลังของวันนั้น เรียกว่า วันรับและวันส่ง
3. ปาฏิหาริยปักขอุโบสถ รักษาอุโบสถติดต่อ
กัน 3 เดือนภายในพรรษา คือตั้งแต่วันขึ้น 15
คำ่า เดือน 8 เป็นวันเข้าพรรษา ถึงวันขึ้น 15
คำ่า เดือน 11
ข้อ 1 รักษาครั้งละ 3 วัน
เหตุผล เป็นอุโบสถที่รักษาครั้งหนึ่ง ๆ ถึง 3 วัน คือ วันอุโบสถตาม
ปกติ วันรับและวันส่ง
คำาว่า “ ”กาลทาน
-กาลทาน = ทานที่ให้ตามกาล ให้ได้เป็นครั้งคราวภายในระยะเวลา
ที่กำาหนด ไม่ใช่ให้ได้ตลอดเวลา เช่น
1. การถวายผ้ากฐิน มีพุทธานุญาตไว้เฉพาะเวลา 1 เดือน
หลังจากออกพรรษาเท่านั้น เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 คำ่า เดือน 11 ไป
ถึงวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 12 พ้นจากนี้ไปไม่ทรงอนุญาต
59
คำา
ตอบ
คำาสอนของพระพุทธเจ้ามีสำานักสืบทอด 3
สำานัก
สำานักพระวินัยปฺฎก สืบทอดมาจาก
พระอุบาลีเถระ
สำานักพระสูตตันนปิฎก สืบทอดมาจาก พระ
อานนทเถระ
สำานักพระอภิธรรมปิฎก สืบทอดมาจาก พระ
สารีบุตรเถระ
Note
คำา
ตอบ
13. ข้อใดเป็นการปฏิบัติที่ถูกต้อง ของคำาว่า “ ”ปฏิชาครอุโบสถ ซึ่งหมาย
ถึงอุโบสถที่รับรักษาเป็นพิเศษกว่าปกติ
1. รักษาครั้งละ 3 วัน 3. รักษาตลอด 3 เดือน
2. รักษาครั้งละ 1 เดือน 4. รักษาเฉพาะวันขึ้น 15 คำ่า และแรม
14. ข้อใดเป็นการทำาบุญที่มีข้อจำากัดด้านเวลาให้ถวายโดยเฉพาะที่
เรียกว่า “ ”กาลทาน
1. ฉลองวิหาร 3. ทอดกฐิน
2. ทอดผ้าป่า 4. สลากภัต
2. การถวายผ้าอาบนำ้าฝน เป็นพิธีกรรมที่สืบ
เนื่องกับวันเข้าพรรษา (คงไม่มีใครถวายในฤดูหนาว)
ข้อ 3 ทอดกฐิน
เหตุผล การทอดกฐิน จัดเป็นกาลทาน พระสงฆ์แต่ละวัดรับกฐินได้
เพียงครั้งเดียวในหนึ่งปี
วิเคราะห์ข้อผิด
- ข้อ 2 ผิด เพราะ การทอดผ้าป่า เป็นการเอาผ้าถวายโดยทิ้งไว้
เพื่อให้พระชักเอาเอง
- ข้อ 4 ผิด เพราะ สลากภัต อาหารถวายตามสลาก ถวายพระ
ด้วยวิธีการจับสลาก เป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นพื้นบ้าน ถวายได้ไม่
จำากัดกาล นิยมทำาในฤดูที่มีผลไม้อุดมสมบูรณ์ เช่น ทุเรียน เงาะ
มะม่วง เป็นต้น ภาคเหนือนิยมทำาช่วงตุลาคม-พฤศจิกายน ของ
ทุกปี
ข้อสอบโควตามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2551
อนาคตพระพุทธศาสนาไม่ไร้พระศาสดา
1. พระพุทธศาสนาสอนให้ถือธรรมคือความถูกต้องเป็นใหญ่ เรียกว่า
หลักธรรมาธิปไตย
2. พระพุทธเจ้าทรงตั้งพระธรรมและพระวินัยไว้เป็นตัวแทนเสมือน
หนึ่งว่าพระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่
วิเคราะห์ !!!
 พระพุทธเจ้าได้ตรัสบอกแก่พระอานนท์ พุทธอนุชา ก่อนเสด็จดับขัน
ธปรินิพพานว่า
คำาตอบ ข้อ 4 ธรรมและวินัยจะเป็นผู้ปกครองเหมือน
พระพุทธเจ้า
วิเคราะห์ข้อผิด
- ข้อที่ 1 ไม่ควรเลือก เพราะพระพุทธเจ้าไม่ประสงค์ที่จะให้เรายึดติด
ในตัวของพระองค์ ดูหลักฐานจากพุทธวจนะ “ผู้ใดแล เห็นธรรม ผู้
นั้นชื่อว่าย่อมเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ”ผู้นั้นชื่อว่าย่อมเห็นธรรม
60
คำา
ตอ
บ
1. พระพุทธดำารัสว่า “ดูก่อน อานนท์ ธรรมและวินัยที่เราตถาคตแสดง
แล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจักเป็น
ศาสดา แห่งเธอทั้งหลาย ”เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว ข้อความที่ขัดเส้นใต้
หมายความว่าอย่างไร
1. ธรรมและวินัยจะเป้นพระพุทธเจ้า
2. ธรรมและวินัยจะเป็นสังฆประมุข
3. ธรรมและวินัยจะเป็นหลักการแห่งศาสนา
4. ธรรมและวินัยจะเป็นผู้ปกครองเหมือนพระพุทธเจ้า
ทรงมอบพระธรรมวินัยเป็นศาสดาแทนพระองค์ หากชาว
พุทธปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาบริบูรณ์แล้วก็เท่ากับว่าได้เข้า
เฝ้าพระบรมศาสดาเหมือนเมื่อครั้งยังทรงพระชนม์ชีพอยู่
- ข้อที่ 2 ผิดความจริง เพราะพระพุทธเจ้าไม่ได้ตั้งให้สงฆ์รูปนั้นรูปนี้
เป็นใหญ่ จะทำาให้เกิดปัญหาตามมา ตั้งกันสืบๆ ไปไม่มีที่สิ้นสุด (จำา
ไว้..ตำาแหน่งหรือสมณศักดิ์พระสงฆ์ที่ตั้งกันในปัจจุบันไม่มีในอินเดีย
นะครับ แต่ลังกาคิดขึ้นมา..แล้วสยามก็รับเอามาใช้แบบหน้าตา
เฉย...รับมาในสมัยสุโขทัยโน้น)
- ข้อที่ 3 ไม่เคยคิดจะเลือก เพราะไม่ว่าพระพุทธเจ้าจะปรินิพพานหรือ
ไม่ พระพุทธศาสนาก็เป็นหลักการแห่งศาสนาอยู่วันยังคำ่า เช่น หลัก
ไตรลักษณ์ กฎแห่งกรรม อริยสัจสี่ เป็นต้น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า
“ตถาคตคือพระพุทธเจ้าจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นก็ตาม ความจริงก็คง
อยู่เป็นกฎธรรมดา ”เป็นความแน่นอนของธรรมชาติ แล้วที่สำาคัญ
ท่านก็ไม่ได้ให้พระธรรมเป็นหลักการอย่างเดียว...แต่ท่านต้องการให้
พระวินัยเป็นเครื่องมือในการปกครองพระสงฆ์ด้วย... ข้อ 4 จึงถูก
ที่สุด
หลักอริยสัจ 4
1. เป็นสัจธรรมที่พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงบัญญัติขึ้น แต่ทรงค้นพบ
แล้วนำามาเปิดเผยแก่มวลมนุษย์
2. อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ
ทุกข์ สมุทัย (สาเหตุแห่งทุกข์) นิโรธ (ความดับทุกข์ หรือ นิพพาน)
และมรรค (ทางที่นำาไปสู่ความดับทุกข์)
คำาตอบ ข้อ 2 ตัณหา เป็นสาเหตุแห่งความทุกข์ตามหลัก
อริยสัจ 4 ประการ
- ข้อ 1 อวิชชา คือ ความไม่รู้จริง ไม่รู้แจ้งในการทำาลายกิเลส
ตัณหาให้หมดไปจากสันดาน
- ข้อ 3 ทิฐิ คือ ความเห็นผิดที่ไม่เป็นไปตามธรรมของ
พระพุทธเจ้า
- ข้อ 4 มานะ คือ ความถือตัว เย่อหยิ่ง เห็นว่าตัวเองเหนือกว่า
คนอื่นทั้งหมด
หลักภาวนา 4
- คำาว่า ภาวนา เรียกว่า กรรมฐาน ก็ได้ หรือ วัฒนา ก็ได้
- แปลว่า การเจริญจิต การฝึกอบรมพัฒนาตนให้งอกงาม 4
ด้าน ประกอบด้วย
61
2. “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่า
”นั้น ถ้าธรรมเหล่าใดได้แก่ “ ”ทุกข์ เหตุแห่งความทุกข์ตามหลัก
อริยสัจ 4 จะได้แก่ข้อใด
1. อวิชชา 2. ตัณหา 3. ทิฏฐิ
3. การพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนบ้านและเพื่อนในโรงเรียน
ตรงกับการพัฒนาตามหลักพระพุทธศาสนาแบบใด
1. การพัฒนากาย 2. การพัฒนาศีล 3.
การพัฒนาจิตใจ 4. การพัฒนาปัญญา
1. กายภาวนา = การพัฒนากาย เน้นสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ วัตถุ
เช่น ปัจจัย 4 (ที่ไม่ใช่มนุษย์)
2. ศีลภาวนา = การพัฒนาศีล เน้นสิ่งแวดล้อมทางสังคมคือ เพื่อน
มนุษย์ (ต้องมีชีวิตนะนักเรียน)
3. จิตภาวนา = การพัฒนาจิตใจ ทำาจิตให้เจริญงอกงาม เบิกบาน
ผ่องใส แข็งแกร่ง
4. ปัญญาภาวนา = การพัฒนาปัญญา เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
หยั่งรู้ความจริง ไม่โง่
คำาตอบ ข้อ 2 การพัฒนาศีล
เหตุผล : เป็นการพัฒนาความสัมพันธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางสังคม
ได้แก่ เพื่อนบ้านและเพื่อนในโรงเรียน
พระพุทธเจ้าสอนวิธีการใช้เงิน
- ใช้หลักโภควิภาค 4 คือ หลักการใช้จ่ายทรัพย์ โดย
จัดสรรออกเป็น 4 ส่วน
1. ใช้จ่ายเลี้ยงตน ครอบครัว เลี้ยงคนที่ควรบำารุงดูแล = 0.5 ส่วน
2. ใช้ทำาความดี บำาเพ็ญประโยชน์ = 0.5 ส่วน
3. ใช้ลงทุนประกอบการงาน อาชีพ = 2 ส่วน
4. ออมเก็บไว้ใช้ในคราวจำาเป็น เพื่อเป็นหลักประกันชีวิต = 1 ส่วน
คำาตอบ ข้อ 3 ใช้ลงทุนประกอบการงาน 1 ส่วน กล่าว
ผิดความเป็นจริง... ต้อง 2 ส่วน
การสังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งที่ 1
- การสังคายนา ก็คือ การประชุมสงฆ์ตรวจสอบ จัดระเบียบหมวดหมู่
พระธรรมวินัยให้ทราบเป็นแนว
เดียวกันเริ่มมีขึ้นหลังพุทธปรินิพพาน 3 เดือน
ครั้งที่ 1 หลังปรินิพพาน 3 เดือน เกิดจาก พระสุภัททะกล่าวจาบจ้วง
พระธรรมวินัย ใช้เวลานาน 7 เดือน มีพระสงฆ์ 500 รูป ทำาที่ถำ้า
สัตตบรรณคูหา ข้างภูเขาเวภาระ ใกล้กรุงคฤห์
- พระมหากัสสปะ เป็นประธานซักถาม
- พระอุบาลี ตอบด้านพระวินัยปิฎก
- พระอานนท์ ตอบด้านพระธรรม
- พระเจ้าอชาตศัตรู อุปถัมภ์
62
4. หลักโภควิภาค 4 (การแบ่งทรัพย์ออกเป็นส่วนๆ) ข้อความใดกล่าวไว้
ผิดสัดส่วนแห่งหลักการใช้จ่ายทรัพย์
1. ใช้จ่ายเลี้ยงตนและเลี้ยงคนที่ควรบำารุง 0.5 ส่วน 2.
ใช้จ่ายบำาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ 0.5 ส่วน
5. ในการทำาสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 1 พระเถระรูปใดเป็น
ผู้วิสัชนาพระวินัยปิฎก
1. พระมหากัสสปะ 2. พระอานนท์ 3.
.คำาตอบ ข้อ 3 พระอุบาลี เป็นเจ้าสำานักพระวินัยปิฎก มีการ
ถ่ายทอดสืบต่อมาด้วยวิธีการ “ ”มุขปาฐะ
แคว้นสำาคัญในสังคมชมพูทวีป
1. แคว้นสักกะ เมืองหลวงชื่อ กบิลพัสดุ์ = พระพุทธเจ้าประสูติ
(สวนลุมพินีวัน) วันศุกร์ ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 ปีจอ เวลาใกล้เที่ยง
ก่อนพุทธศักราช 80 ปี
2. แคว้นมคธ เมืองหลวงชื่อ ราชคฤห์ = พระพุทธเจ้าตรัสรู้
(อุรุเวลาเสนานิคม) ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 ปีระกา เมื่อพระชนม์มายุ
35 พรรษา
3. แคว้นกาสี เมืองหลวงชื่อ พาราณสี = พระพุทธเจ้าแสดง
ปฐมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์ (ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน) ขึ้น 15 คำ่า
เดือน 8 เรียกว่า ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร หรือ ทางสายกลาง หรือ
อริยสัจ 4
4. แคว้นโกศล เมืองหลวงชื่อ สาวัตถี = พระพุทธเจ้าประทับ
จำาพรรษาที่กรุงสาวัตถี ณ เชตวันมหาวิหาร 19 พรรษา และที่วัด
บุพพาราม 6 พรรษา
5. แคว้นมัลละ เมืองหลวงชื่อ กุสินารา = พระพุทธเจ้า
ปรินิพพาน (สาลวโนทยาน) ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6
คำาตอบ ข้อ 3 แคว้นโกศล ตลอดเวลา 45 พรรษา พระพุทธ
องค์ประทับอยู่ที่วัดพระเชตวัน บ่อยครั้งและ นานกว่าที่อื่น
เพราะ มีพระเจ้าปเสนทิโกศล เป็นกำาลังสำาคัญในการประกาศคำา
สอน และมี
อานาถบิณฑิกเศรษฐี สร้างวัดพระเชตวันถวาย มีนางวิสาขา สร้างวัด
บุพพารามถวาย
เทศกาลออกพรรษา
1. ชื่อ : วันออกพรรษา = วันมหาปวารณา = วัน
ตักบาตรเทโวโรหณะ = วันพระเจ้าเปิดโลก
63
6. ในช่วงเวลาแห่งการประกาศพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้า
เสด็จจำาพรรษาในแคว้นใดนานที่สุด
1. แคว้นมคธ 2. แคว้นกาสี 3. แคว้น
7. การถวายผ้ากฐินแด่พระสงฆ์ในฤดูออกพรรษา ตามพระวินัย
กำาหนดว่า ต้องมีจำานวนพระสงฆ์ อยู่จำาพรรษาในอาวา
สนั้นๆ อย่างน้อยกี่รูป
1. 4 รูป 2. 5 รูป 3. 9
8. ในมหาสาโรปมสูตร ที่พระพุทธเจ้าเปรียบเทียบศาสนากับส่า
วนของต้นไม้ ธรรมะข้อใดที่ท่านเปรียบเทียบได้กับกระพี้ของ
ศาสนา
6. ในช่วงเวลาการประกาศพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าเสด็จจำา
พรรษาในแคว้นใดนานที่สุด
1. แคว้นมคธ 2. แคว้นกาสี 3.
แคว้นโกศล 4. แคว้นสักกะ
2. วันออกพรรษา ตรงกับ ขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 เป็นวันที่พระ
ภิกษุอยู่พรรษาครบ 3 เดือน แล้วทำาพิธี “ ”ปวารณา คือ ให้พระ
สงฆ์ทุกรูปกล่าวตักเตือนกันได้ แล้วห้ามโกรธกัน
3. การทอดกฐิน เป็นกาลทาน = ทำาได้เฉพาะเวลา 1 เดือนหลัง
จากออกพรรษาเท่านั้น คือ เริ่มแรม 1 คำ่า เดือน 11 ถึง ขึ้น 15
คำ่า เดือน 12
4. พระสงฆ์ผู้ประกอบกฐินกรรมได้ต้องมีจำานวนภิกษุอย่างน้อย 5
รูป
คำาตอบ ข้อ 2 ต้องมีอย่างน้อย 5 รูป
แก่นพระพุทธศาสนา
♣ พระพุทธเจ้าเปรียบพระพุทธศาสนาเหมือนต้นไม้ทั้งต้น ดังนี้
1. ลาภสักการะ ชื่อ
เสียง
ใบและกิ่ง
2. ศีล สะเก็ด
3. สมาธิ เปลือก
4. ปัญญา กระพี้
5. วิมุติ แก่น
คำาตอบ ข้อ 3 ปัญญา
สะเดาะเคราะห์ เป็นของพราหมณ์ไม่ใช่พุทธ
♣ การลอยเคราะห์หรือสะเดาะเคราะห์ เป็นพิธีกรรมและความเชื่อ
ของศาสนาพราหมณ์
♣ ปรากฏในคัมภีร์พระเวท เรื่อง “ ”อาถรรพเวท ว่าด้วยการทำาพี
ป้องกันอันตรายต่างๆ มคาถาอาคมต่างๆ และมนต์ขลังอันศักดิ์สิทธิ์
สำาหรับแก้ไขสิ่งอัปมงคลให้กลับมาเป็นสวัสดิมงคล นำาความชั่วร้าย
ไปบังเกิดแก่ศัตรู
คำาตอบ ข้อ 1 ลอยเคราะห์หรือสะเดาะเคราะห์
64
ข้อควรรู้ : ในข้อนี้ได้ตรวจสอบหลักฐานดูแล้ว พบว่า การ
สวดกฐินนั้นหากมีพระภิกษุสงฆ์ตั้งแต่ 4 รูปขึ้นไปก็สามารถทำาได้
ส่วนการกำาหนดว่าต้อ 5 รูปขึ้นไปนั้นไม่มีข้อกำาหนดไว้โดยเฉพาะใน
พระวินัยปิฎก เพียงแต่พระอรรถกถาจารย์แต่งขึ้นมาภายหลัง
9. ข้อใดที่ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของประเพณีลอยกระทง (ในวันเพ็ญเดือน
12) ของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย
1. ลอยเคราะห์หรือสะเดาะเคราะห์ 2.
กตัญญูต่อแม่นำ้าคงคาต้นนำ้าศักดิ์สิทธิ์ 3. บูชา
8. ในมหาสาโรปสูตร ที่พระพุทธเจ้าเปรียบเทียบศาสนากับส่วน
ของต้นไม้ ธรรมะข้อใดที่ท่านเปรียบเทียบได้กับกระพี้ของ
ศาสนา
1. ศีล 2. สมาธิ 3. ปัญญา
เหตุผล : ไม่ใช่พิธีกรรมของพระพุธศาสนา เป็นความเชื่อที่ผิด เป็นเรื่อง
ของคนโง่ ที่มีความอ่อนด้อยทางด้านสติปัญญา
ข้อ 2 เป็นวัตถุประสงค์ที่ต้องการขอมาต่อแม่นำ้าลำาคลองที่เรา
ได้ใช้ดื่มกิน และทิ้งของสกปรกลงไป
ข้อ 3, 4 เป็นวัตถุประสงค์ที่จะระลึกถึงพระธรรมคำาสอนของ
พระพุทธเจ้า
พุทธคุณ 3 ประการ
1. อรหัง ทรงเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้สิ้นกิเลส มีความ
บริสุทธิ์ (พระบริสุทธิคุณ)
2. สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้เอง แสดงส่าเก่งสุดยอด
(พระปัญญาคุณ)
3. ภควา เป็นผู้จำาแนกธรรมให้มนุษย์เข้าใจได้ โดยไม่
ปิดบัง (พระกรุณาคุณ)
คำาตอบ ข้อ 2 พระกรุณาคุณ
- ตัวเลือกข้อ 4 “ ”พระนวารหาทิคุณ แปลว่า คุณของ
พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์ 9 ประการ
พุทธโอวาท 3
ประมวลคำาสอนของพระพุทธเจ้าที่เป็นหลักใหญ่ 3 ข้อ
1. ไม่ทำาความชั่วทั้งปวง
2. ทำาแต่ความดี
3. ทำาใจของตนให้สะอาดบริสุทธิ์
คำาตอบ ข้อ 1 วันมาฆบูชา ซึ่งอาจเรียกว่า วันโอวาทปาติโมกข์ หรือ
วันจาตุรงคสันนิบาติ หรือวันอัศจรรย์สี่ ก็ได้ นอกจากนั้น
พระพุทธเจ้ายังทรงปลงสังขารที่แคว้นวัชชี ในวาระนั้นได้แสดงอิทธิ
บาทสี่ด้วย
พุทธศาสนาพิธี สี่ประการ
1. หมวดกุศลพิธี คือ การอบรมความดีงามเฉพาะตัวบุคคล การ
สร้างความดีให้แก่ตนเอง เช่น การทำาวัตร สวดมนต์ การแสดงตน
เป็นพุทธมามกะ การรักษาอุโบสถศีล การเวียนเทียน เป็นต้น
65
10. คำานมัสการที่ขีดเส้นใต้ “นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต
”สัมมาสัมพุทธัสสะ นั้นแสดงถึง พระพุทธคุณในข้อใด
1. พระปัญญาคุณ 2. พระกรุณาคุณ 3.
พระบริสุทธิคุณ 4. พระนวารหาทิคุณ
11. ละชั่ว ทำาดี ”ชำาระจิตใจให้ผ่องใส เป็นหลักธรรมเกี่ยวเนื่องกับ
วันสำาคัญใดของพระพุทธศาสนา
1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วัน
หลัก 3 ข้อนี้ รวมอยู่ในโอวาท
ปาติโมกข์ ที่
แสดงในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 3 เรา
12. “ ”พิธีสวดอภิธรรม ในงานอวมงคล จัดเป็นพิธีในศาสนา
ข้อใด
1. กุศลพิธี 2. บุญพิธี 3. ทานพิธี
2. หมวดบุญพิธี คือ การทำาบุญเนื่องด้วยประเพณีของชาวพุทธ
ได้แก่ งานมงคล และอวมงคล (งานศพ)
3. หมวดทานพิธี คือ พิธีถวายทานต่างๆ เพื่อบูชาพระ เช่น ถวาย
สังฆทาน อาหาร นำ้า ดอกไม้ธูปเทียน
4. หมวดปกิณณกะ คือ ข้อปฏิบัติบางประการ เช่น การกราบพระ
ประเคนของพระ อาราธนาศีล
คำาตอบ ข้อ 2 บุญพิธี
เทศกาลเข้าพรรษา
1. เข้าพรรษา คือ วันแรม 1 คำ่า เดือน 8 จนถึง วันออกพรรษา คือ
วันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 รวมเวลา 3 เดือน
2. เป็นฤดูฝนที่พระภิกษุต้องจำาพรรษาอยู่ประจำาในที่แห่งเดียวเป็นเวลา
3 เดือน
3. เป็นช่วงเวลาที่พุทธศาสนิกชนได้ถวายผ้าอาบนำาฝน ทำาบุญและ
ฟังธรรมกับพระสงฆ์เหมือน ครั้งพุทธกาล
4. มีการถวายเทียนพรรษาเพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ใช้จุดในการศึกษา
ธรรมวินัยและปฏิบัติศาสนกิจ
คำาตอบ ข้อ 3 การงดเหล้าเข้าพรรษา
เหตุผล : ไม่เกี่ยวกับการจำาพรรษาของพระสงฆ์ แต่เป็นการอธิฐานใจ
งดเว้นเฉพาะบุคคล เช่น โครงการรณรงค์งดเหล้า
เข้าพรรษา (เป็นค่านิยมของสังคมและส่วนตัว)
หลักปฎิจจสมุปบาท
1. หลักปฎิจจสมุปบาท อาจเรียกว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ธรรมนิยาม
หรือ กฎธรรมชาติ หรือปัจจยาการ
2. เป็นทฤษฎีว่าด้วยการเกิดและการดับแห่งทุกข์ หรือการที่สิ่งทั้ง
หลายอาศัยกัน จึงเกิดมีขึ้น
3. เป็นเหตุการณ์ที่พระพุทธเจ้าทรงพิจารณาธรรมที่ตรัสรู้แล้ว คือ
ปฎิจจสมุปบาท แล้วเปล่งพุทธอุทานในยามเป็นท่ามกลางว่า “เมื่อ
ใดธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีเพียงเพ่งอยู่ เมื่อนั้นความ
66
13. กิจกรรมใดที่ไม่เกี่ยวกับการจำาพรรษาของพระสงฆ์
1. พระภิกษุหยุดจาริกและอยู่ที่เดียวตลอดเวลา 3 เดือน
2. พระสงฆ์มีเวลาศึกษาและปฏิบัติศาสนกิจอย่างจริงจัง
3. ประชาชนได้โอกาสถือปฏิญญางดเหล้าเข้าพรรษาจากพระสงฆ์
4. ประชาชนได้ทำาบุญกับพระสงฆ์เป็นการบำารุงพระพุทธศาสนา
14. “เมื่อใดธรรมทั้งหลายปรากฏแก่ท่านผู้บำาเพ็ญเพียร เมื่อนั้น
ความสงสัยย่อมสิ้นไป เพราะได้รู้ธรรมอันเป็นที่สิ้นไปแห่งเหตุ
”ปัจจัยทั้งหลาย ข้อความที่ขัดเส้นใต้ หมายถึงหลักธรรมใด
1. อริยสัจ 4 2. นิพพาน 3. ปฎิจจสมุปบาท
สงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้น ย่อมสิ้นไป เพราะได้รู้ความสิ้นแห่ง
”ปัจจัยทั้งหลาย
คำาตอบ ข้อ 3 ปฎิจจสมุปบาท
เหตุผล : มี 12 หัวข้อ ได้แก่ อวิชชา , สังขาร , วิญญาณ , นามรูป,
สฬาขตนะ (อายตนะ 6), ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน
(ความยึดมั่น) ภพ (ภาวะชีวิต), ชาติ (ความเกิด) และชรามรณะ
เคล็ดลับของการเป็นนักปราชญ์
1. ใช้การเจริญปัญญา 3 ประการ คือ สุตมยปัญญา (ฟัง)
– จินตามยปัญญา (คิด) – ภาวนามย-ปัญญา (อบรม ปฏิบัติ
ลงมือ)
2. การศึกษาจนเป็นพหูสูตหรือนักปราชญ์ มีองค์ประกอบ 5
ประการ คือ
- สุตา = ตั้งใจฟัง
- ธตา = จำาได้
- วจสา ปริจิตา = ท่องได้หรือพูดให้ผู้อื่นฟังได้
- มนสานุเปกขิตา = คิดพิจารณาทำาความเข้าใจ
- ทิฏฐิยา สุปฏิวิทฺธา = เปรียบความเห็นของตนเองว่า
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
คำาตอบ ข้อ 1 พหูสฺสุตา
เหตุผล : เป็นบ่อเกิดปัญญาระดับสูง จัดอยู่ในสุตมยปัญญา และ
มงคลที่ 7 ของพหูสูต
กฎแห่งกรรมเป็นสัจธรรมสากล
1. กรรม หมายถึง การกระทำาประกอบไปด้วยเจตนา เป็นคำา
กลางๆ หากเป็นกรรมดี เรียกว่า กุศลกรรม หากเป็น
กรรมชั่ว เรียกว่า อกุศลกรรม
2. พุทธภาษิตได้กล่าวว่า “กุมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็น
”ไปตามกรรม
3. พุทธพจน์ตรัสว่า “หญิง ชาย คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ควร
พิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็น ของตน เป็นผู้รับผล
ของกรรม (เป็นทายาทแห่งกรรม) มีกรรมเป็นกำาเนิด มีกรรม
67
15. คุณสมบัติของนักเรียนที่ดี คือ “เรียนจากครูดูจากตำาหรับ สดับ
”ปาฐะ ตรงกับหลักธรรมข้อใดมากที่สุด
1. พหุสฺสุตา 2. ธตา 3. วจสา ปริจิตา
16. หลักความเชื่อเรื่องกรรมในพระพุทธศาสนาตรงกับข้อใด
1. กรรมเก่าเป็นตัวชี้ปัจจุบัน 2. กรรมทุก
ชนิดต้องให้ผลเสมอไป
3. ทำากรรมใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น 4. หว่านพืช
เป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย เราทำากรรมอันใด
ไว้ ดีก็ตามชั่วก็ตาม ”เราจะได้รับผลของกรรมนั้น
4. ในพระไตรปิฎกกล่าวไว้ว่า “บุคคลทำากรรมเหล่าใดไว้ เขาย่อม
เห็นกรรมนั้นในตน ผู้ทำากรรมดี ย่อมได้รับผลดี ผู้ทำากรรมชั่ว
ย่อมได้รับผลชั่ว บุคคลหว่านพืชเช่นใด ”ย่อมได้รับผลเช่นนั้น
คำาตอบ ข้อ 3 ทำากรรมใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น
เหตุผล : อ้างตามพระพุทโธวาทที่ตรัสไว้ว่า ...
- ตัวเลือกข้อ 1 คนเราไม่ได้เกิดมาเพื่อใช้กรรม จำาเอาไว้! แต่เกิดมา
เพื่อสร้างกรรมและอยู่เหนือกรรม
-ตัวเลือกข้อ 2 ผิด เพราะกรรมทางพุทธศาสนามีความหมายเจาะจง
บ่งถึงการกระทำาที่มีเจตนาเท่านั้น ดังพุทธดำารัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย
เรากล่าวว่า เจตนานั้นเอง เรียกว่า ”กรรม และกรรม ก็ไม่ได้หมาย
ถึงผลของกรรม
- ตัวเลือก ข้อ 4 เป็นการเปรียบเทียบ พึงเข้าใจว่า โจทย์ถามเรื่อง
หลักกรม ไม่ได้ถามเรื่องพืช
พิธีบรรพชา – อุปสมบท
1. การบรรพชา ใช้เรียกการบวชเป็น “ ”สามเณร
- สำาหรับคฤหัสถ์ผู้มีอายุยังไม่ครบ 20 บริบูรณ์
- บรรพชาด้วยการรับไตรสรณคมน์ จะทำาในอุโบสถหรือกุฏิ
พระอุปัชฌาย์ก็ได้
- จะมีพระอันดับ 4 รูปขึ้นไปหรือไม่มีก็ได้
- ถือสิกขาบท 10
- พระราหูล เป็นสามเณรองค์แรกในพระพุทธศาสนาเป็น
เอตทัคคะด้านผู้ใคร่ต่อการศึกษา
2. การอุปสมบทใช้เรียกการบวชเป็น “ ”ภิกษุ
- เป็นคฤหัสถ์ผู้มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์แล้ว ต้องขอบรรพชา
ก่อนแล้วจึงขออุปสมบทต่อไป
- อุปสมบทด้วยวิธี “ ”ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา ต้องทำาใน
เขตสีมา พระอุโบสถ
68
17. พิธีอุปสมบทกรรม (การบวชพระสงฆ์) องค์ประกอบในข้อใดที่
ขาดไม่ได้เลย
1. พระอุปัชฌาย์ 2. พระ
คู่สวดกรรมวาจา
ยาทิสำ วปเต พีชำ ตาทิสำ ลภเต ผลำ
กลฺยาณการี กลฺยาณำ ปาปการี จ ปาปกำ
“บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้รับผล
”เช่นนั้น
“ผู้ทำากรรมดีย่อมได้ผลดี ผู้ทำากรรมชั่ว
- การบวชพระในเขตชนบทใช้ภิกษุสงฆ์ 5 รูป ขึ้นไป ส่วน
ในเขตเมืองใช้ 10 รูปขึ้นไป
- ต้องมีพระอุปัชฌายะ เป็นผู้รับการอุปสมบท นำาเข้าหมู่สงฆ์
และอบรมฝึกสอน ดูแล
คำาตอบ ข้อ 1 พระอุปัชฌาย์
เหตุผล : เพราะเป็นผู้รับบุคคลเข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุและทำาหน้าที่
ปกครองดูแลให้การศึกษาแก่พระภิกษุ
-ข้อ 2 พระคู่สวดกรรมวาจา เป็นผู้ขอให้สงฆ์ยอมรับบุคคลไว้
อุปสมบทเป็นพระภิกษุ
-ข้อ 3 ไม่จำาเป็น หากท้องถิ่นที่ไหนไม่เจริญก็ใช้ 5 รูปขึ้น ถ้า
ท้องถิ่นที่เจริญแล้วก็ใช้ 10 รูปขึ้นไป
-ข้อ 4 พระพี่เลี้ยง ไม่จำาเป็นหากไม่มีก็ไม่เป็นไร
กิจในอริยสัจ 4
- กิจในนอริยสัจ 4 คือ ข้อที่จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องและเสร็จ
สิ้นอริยสัจ 4 ได้แก่
1. ทุกข์ (รู้) การกำาหนดรู้ ต้องทำาความเข้าใจ กำาหนด
ขอบเขตของปัญญา
2. สมุทัย (ละ) การละ กำาจัด ทำาให้หมดสิ้นไป ขั้นวิเคราะห์มูล
เหตุของปัญญา
3. นิโรธ (เข้าใจ) การทำาให้แจ้ง เข้าถึงหรือบรรลุจุดหมายที่
ต้องการ
4. มรรค (ปฏิบัติ) การเจริญ ลงมือปฏิบัติตามวิธีการขั้นตอน
คำาตอบ ข้อ 3 ความทุกข์
เหตุผล : เป็นสิ่งที่ควรกำาหนดรู้
บทสรรเสริญพระสังฆคุณ
1. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดี
2. อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะ
สังโฆ สงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง
ตามหลักธรรมคำาสอนของ
พระพุทธเจ้า
3. ญายะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติ
เพื่อรู้ธรรมอันเป็นเครื่องออกจากทุกข์
69
18. สิ่งใดควรรู้ก็ทรงรู้ สิ่งใดควรละก็ทรงละได้ สิ่งใดควรทำาให้แจ้งก็
ทรงเข้าพระทัยสิ่งนั้นอย่างแจ่มแจ้ง สิ่งใดควรปฏิบัติดำาเนินก็ปฏิบัติได้
”อย่างครบถ้วนบริบูรณ์ ข้อคามที่ขัดเส้นใต้หมายถึงสิ่งใด
1. ความจริง 2. ความเท็จ 3. ความ
19. สังฆคุณที่ว่า “ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต ”สาวะกะสังโฆ ข้อใด
มีความหมายตรงที่สุด
1. เป็นผู้ปฏิบัติตามคำาสั่งสอน 2. เป็นผู้ปฏิบัติ
เพื่อความรู้ที่ถูกต้อง
4. สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์เป็นปฏิบัติ
สมควรเหมาะสมแล้ว
คำาตอบ ข้อ 2 เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูกต้อง
เหตุผล : คือ รู้ธรรมอันเป็นเครื่องออกจากทุกข์
พระไตรปิฎก
- พระไตปิฎก คือ คัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัยไว้ 3 หมวด จัด
พิมพ์ด้วยอักษรไทย มี 45 เล่ม
1. พระวินัยปิฎก คือ หมวดพระวินัย สิกขาบท ความเป็นอยู่และ
บัญญัติความประพฤติของภิกษุสงฆ์ มี 8 เล่ม จำานวน 21,000
พระธรรมขันธ์
2. พระสุตตันตปิฎก คือ พระสูตร พระธรรมเทศนา เรื่องเล่าต่างๆ มี
บุคคล สถานที่ หรือชาดก มี 25 เล่ม จำานวน
21,000 พระธรรมขันธ์
3. พระอภิธรรมปิฎก คือ หลักธรรมที่เป็นหลักวิชาการล้วนๆ ไม่มี
บุคคลหรือเหตุการณ์ประกอบ จะเป็นเรื่องของจิต
เจตสิก รูป นิพพาน มี 12 เล่ม จำานวน 42,000 พระธรรมขันธ์
- สมัยพระเจ้าติโลกราช พ.ศ. 2020 มีการชำาระและจารึก
ในใบลานทำาที่เชียงใหม่
- สมัยรัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2331 มีการชำาระและจารึกในใบ
ลานทำาที่วัดมหาธาตุ
- สมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2431 – 2436 มีการชำาระและพิมพ์
เป็นเล่ม ทำาที่กรุงเทพฯ
- ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 7 และรัชกาลที่ 9 ก็มีการชำาระและ
พิมพ์เป็นเล่มสืบมาจนถึงวันนี้
คำาตอบ ข้อ 2 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เหตุผล : มีการชำาระและพิมพ์เป็นเล่มใน พ.ศ. 2431-2436
ข้อสอบโควตามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2550
70
1. ทุกศาสนาเห็นว่า ความสมานฉันท์ จะเกิดขึ้นได้เพราะนำาหลัก
ธรรมใดมาใช้
1. อาชวธรรม 2. อักโกธธรรม
20. ในรัชกาลใดที่พระไตรปิฎกได้รับการตีพิมพ์ด้วยอักษรไทยในรูป
เล่มแบบหนังสือสมัยใหม่
1. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2.
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
น่ารู้ : พระไตปิฎกมี 84,000 พระธรรมขันธ์ไม่ต้องลองนับ
หรอกครับ ยังไงก็ไม่ครบ เพราะความจริงธรรมขันธ์ หมาย
ถึง มากมายโดยไม่ได้นับ คือ มากระดับปานกลาง ถ้ามาก
ระดับตำ่าใช้ 500 เช่น ไอ้โจร 500 ระดับสูงใช้ โกฎิ
ตอบ ข้อ 3 อวิหิงสาธรรม
คำาอธิบาย คำาว่า “ ”ความสมานฉันท์ คือ มีความพอใจร่วมกัน พร้อมใจ
กัน จะเกิดขึ้นได้ต้องใช้หลัก “ ”อวิหิงสาธรรม คือ ไม่ข่มเหงเบียดเบียน
กัน ไม่ก่อความทุกข์ยากแก่ผู้อื่น มีเมตตากรุณาและเที่ยงธรรม
ข้อ 1 อาชวธรรม คือ ซื่อตรงจริงใจไร้มารยา มีความจริงใจ ไม่หลอก
ลวง
ข้อ 2 อักโกธธรรม คือ ความไม่โกรธ มีเมตตาประจำาใจไว้ระงับความขุ่น
เคือง
ข้อ 4 อวิโรธนธรรม ไม่คลาดจากธรรม หนักแน่นในธรรม
ตอบ ข้อ 4 มรรค
อธิบาย ทุกข์ เป็นตัวปัญหา จัดเป็นผล สมุทัยเป็นต้นตอแห่งปัญหา เป็น
เหตุและผล คู่ที่ 1 นิโรธเป็น ภาวะที่ปัญหาหมดสิ้นไป จัดเป็นผล มรรค
เป็นวิธีปฏิบัติให้เข้าถึงนิโรธ เป็นเป็นเหตุและผล คู่ที่ 2
ตอบ. การพัฒนาจิตใจ
อธิบาย ตรงกับหลักธรรมที่เรียกว่า จิตตภาวนา ซึ่งหมายถึง การอบ
รมใหแพรียบพร้อมด้วยคุณธรรมอันดีงาม เช่น ความเมตตากรุณา
ความกตัญญู ขยันหมั่นเพียร ความอดทน ปล่อยวาง เหล่านี้เป็นต้น
1. ถ้าขาดการพัฒนากาย จะทำาให้ร่างกายอ่อนแอ เข้ากับ
สิ่งแวดล้อมและคนในสังคมไม่ได้
2. ถ้าขาดการพัฒนาศีล (ศีล) จะทำาให้เป็นคนก่อความเดือด
ร้อนให้สังคมและประเทศชาติ
71
2. ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตจตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่า
นั้น ถ้าธรรมเหล่าใดได้แก่นิพพาน คำาที่ขีตเส้นใต้จะหมายถึง
สิ่งใด
1. ทุกข์ 2. สมุทัย 3.นิโรธ
3. ผู้ที่มีการศึกษาสูงส่วนใหญ่ไม่มีสัมมาคารวะ และความกตัญญู
ตามหลักการศึกษาที่มุ่งพัฒนาตนให้งอกงามทั้ง 4 ด้าน แสดงว่า
เขาขาดการพัฒนาด้านใด
1. การพัฒนากาย 2. การพัฒนาศีล 3. การ
3. ถ้าขาดการพัฒนาปัญญา จะทำาให้โง่ ไม่สามารถนำา
ความรู้ไปแก้ปัญหาต่างๆได้
ตอบ ข้อ 2 อัปปมาทธรรม
อธิบาย หมายถึงธรรมแห่งความไม่ประมาท มีสติรอบคอบดี
พระพุทธเจ้าสรรเสริญว่าเป็นธรรมเอก หรือ “ ”ยอดของธรรม ข้ออื่นผิด
เพราะ
ข้อ 1 อปริหานิยธรรม หมายถึง ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม
3. อัปปมัญญาธรรม หมายถึง ธรรมที่แผ่ไปไม่มีประมาณ คือ เมตตา
กรุณา มุทิตา อุเบกขา (พรหมวิหาร 4)
4. อภิญญาเทสิธรรม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม 37 ประการ มีสติปัฏ
ฐาน 4 เป็นต้น
ตอบ ข้อ 2 พระอานนท์
อธิบาย เป็นผู้เลิศกว่าผู้อื่นในด้านเป็นพหูสูต (คงแก่เรียน) ผู้มีสติ ผู้มี
คติ ผู้มีความเพียร และเป็นยอดพุทธอุปัฏฐาก กล่าวคือ พระอานนท์ผู้มี
สติปัญญาดี ระลึกอะไรได้รวดเร็ว มีสติรอบคอบ ความทรงจำาเป็นเลิศ
จดจำาพุทธพจน์ได้เป็นอันมาก คำาสอนที่เป็นพระสูตรเมื่อครั้งปฐม
สังคายนา ล้วนเป็นผลแห่งความจำาของพระอานนท์ทั้งสิ้น
ข้ออื่นๆผิดเพราะ
ข้อ 1 พระสารีบุตรเป็นเลิศในด้านปัญญา คือ สามารถแสดงธรรมกัป
ปวัตนสูตร และ อริยสัจ 4 ได้เท่าเทียมกับพระพุทธเจ้า
ข้อ 3 พระอุบาลีเป็นเลิศในด้านผู้ทรงพระวินัย
ข้อ 4 พระมหากัจจายนะเป็นเลิศในด้านผู้อธิบาย เนื้อความโดยย่อให้
พิสดาร
72
4. สัตว์บกที่มีรอยเท้าใหญ่ที่สุดคือ ช้าง หลักธรรมใดทางพระพุทธ
ศาสนาเปรียบได้กับรอยเท้าช้าง
1. อปริหานิยธรรม 2. อัปปมาทธรรม3. อัปปมัญญาธรรม
5. เอตทัคคะในเรื่อง “เป็นผู้มีสติปัญญาดี จดจำาพระพุทธพจน์ได้เป็น
”อย่างดีทั้งหมด เป็นคุณสมบัติ
พระสาวกรูปใด
1. พระสารีบุตร 2. พระอานนท์ 3. พระอุบาลี
6. พิธีถวายผ้าแด่พระสงฆ์ในฤดูออกพรรษา กำาหนดเวลาเพียง 1 เดือน
ตั้งแต่แรม 1 คำ่า เดือน 11 ถึงวัน
เพ็ญเดือน 12 เรียกว่าพิธีอะไร
1. พิธีถวายผ้าจำานำาพรรษา 2. พิธีถวายผ้าป่า
สามัคคี
ตอบ ข้อ 3 พิธีถวายผ้ากฐิน
อธิบาย การทอดกฐิน เป็นกาลทาน คือ ถวายเฉพาะเวลา 1 เดือนหลัง
ออกพรรษาเท่านั้น ข้ออื่นๆ ผิดเพราะ
ข้อ 1 ผ้าจำานำาพรรษา นิยมถวายในช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา คือเริ่ม
ตั้งแต่ แรม 1 คำ่า เดือน 8
ข้อ 2 ผ้าป่าสามัคคี ไม่กำาหนดเวลา ตามธรรมเนียมจะถวายหลัง
เทศกาลกฐินออกไป
ข้อ 4 ผ้าบังสุกุล คือ ผ้าที่พระสงฆ์ชักเอาผ้าซึ่งเขาทอดวางไว้ที่ศพ ที่
หีบศพ
ตอบ ข้อ 4 เชื่อถือคำาเ ท็จนั้น
อธิบาย เร่องการวินิจฉัยหลักการพูดเท็จมี 4 ประการ คือ (1) เป็นเรื่อง
ไม่จริง (2) จงใจพูดให้ผิด (3) พยายามพูดคำานั้น (4) คนอื่นเข้าใจเนื้อ
ความนั้น หากครบองค์ประกอบทั้ง 4 ข้อ เรียกว่าศีลขาด ข้ออื่นๆผิด
เพราะ
ข้อ 1 เรื่องไม่จริงมีมากมาย ” ”ยังไม่ถึงขั้น ศีลขาด
ข้อ 2 คิดจะกล่าวแต่ยังไม่พูดออกไป
ข้อ 4 กำาลังกล่าวคำาเท็จ หากเป็นการพูดเล่น ”ยังไม่ถึงขั้น ศีลขาด
73
7. การล่วงละเมิดศีล ข้อ มุสาวาทถึงลำาดับใด จึงจะถือว่า ถึงขั้น “ศีล
”ขาด
1. เป็นเรื่องที่ไม่จริง 2. มีจิตคิดจะกล่าวเท็จ3. กำาลังกล่าวคำาเท็จ
8. คำานมัสการที่ขีดเส้นใต้ “นะโม ตัสสะ ...อะระหะโต...สัมมาสัม
”พุทธัสะ นั้น แสดงถึงพระพุทธคุณในข้อใด
1. พระปัญญาคุณ 2. พระกรุณา
คุณ
3. พระบริสุทธิคุณ 4. พระเมตตาคุณ
ตอบ ข้อ 3 พระบริสุทธิคุณ
คำาอธิบาย หมายถึงทรงเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้สิ้นกิเลส มีความบริสุทธิ์
ซึ่งตรงกับพุทธคุณด้าน พระบริสุทธิคุณ
ข้อ 1 พระปัญญาคุณ ตรงกับคำาว่าสัมมาสัมพุทโธ
ข้อ 2,4 พระกรุณาคุณ หรือ พระเมตตาคุณ ตรงกับคำาว่า ภควา
ตอบ ข้อ 3 วันอาสาฬหบูชา
อธิบาย วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 คำ่าเดือน 8 พระพุทธเจ้า
ทรงแสดงปฐมเทศนา “ ”ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์ ณ ป่า
อิสิปตนมฤคทายวัน กรุงพาราณสี แล้วทรงสอนข้อปฏิบัติ “มัชฌิมา
”ปฏิปทา หรือ มรรค 8 วันอื่นผิดเพราะ
วันมาฆบูชา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 3 มีการแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ และเกิด
เหตุจาตุรงคสันนิบาต
วันวิสาขบูชา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 เป็นวันประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
ของพระพุทธเจ้า
วันอัฏฐมีบูชา แรม 8 คำ่า เดือน 6 เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ
ตอบ ข้อ 2 เวทนาขันธ์ คือ ความรู้สึกเวทนาสงสาร
อธิบาย เป็นการอธิบายขันธ์ 5 ผิด เนื่องจากเวทนา เป็นความรู้สึก สุข
ทุกข์ เฉยๆ ไม่ใช่สงสาร
74
9. “มัชฌิมาปฏิปทา ”หรือทางสายกลาง เป็นหลักธรรมที่เกี่ยวเนื่อง
วันสำาคัญอะไรของพุทธศาสนา
1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วันอาสาฬหบูชา 4. วัน
อัฏฐมีบูชา
10. ข้อใดอธิบายเรื่องขันธ์ ผิด
1. รูปขันธ์ คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย 2. เวทนาขันธ์
คือ ความรู้สึกเวทนาสงสาร
3. สังขารขันธ์ คือ ส่วนปรุงแต่งให้คิดดีคิดชั่ว 4.
วิญญาณขันธ์ คือ ส่วนที่รับรู้สึก หรือส่วนที่รู้คิด
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51
โควต้ามช.51

More Related Content

More from Paranee Srikhampaen

More from Paranee Srikhampaen (10)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
โควต้ามช. 51
โควต้ามช. 51โควต้ามช. 51
โควต้ามช. 51
 

โควต้ามช.51

  • 1. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2552 คำาว่า “ ”กาลามสูตร 10 ประการ 1. กาลามสูตร เรียกอีกอย่างว่า “เกสปุตตสูตร (ใช้แทนกันได้) 2. เป็นพระสูตร ว่าด้วยเกณฑ์พิจารณาความเชื่อ 10 ประการ ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนชาวกาลามะ ที่หมู่บ้านกาลามะ ตำาบลเกสปุตตนิคม แคว้นโกศล (มีในพระไตรปิฎก หมวดพระสุต ตันตปิฎก) 3. กาลามสูตร 10 ประการ ได้แก่ 1. อย่าปลงใจเชื่อตามถ้อยคำา ที่ได้ยินได้ฟังมา 6. อย่าปลงใจเชื่อเพราะการอนุมาน 2. อย่าปลงใจเชื่อด้วยการถือ สืบ ๆ กันมา 7. อย่าปลงใจเชื่อโดยความตรึกตรอง ตามแนวเหตุผล 3. อย่าปลงใจเชื่อด้วยการเล่า ลือ 8. อย่าปลงใจเชื่อเพราะเข้าได้กับ ทฤษฎี 4. อย่าปลงใจเชื่อด้วยการ อ้างตำารา/คัมภีร์ 9. อย่าปลงใจเชื่อเพราะเห็นรูปลักษณะ น่าจะเป็นไปได้ 5. อย่าปลงใจเชื่อเพราะ ตรรกะ 10.อย่าปลงใจเชื่อโดยความนับถือว่า สมณะนี้เป็นครูของเรา นักเรียน : ครูครับๆ อะไรๆ ก็ไม่ให้เชื่อ แล้วอย่างนี้พวกเราจะเชื่อ อะไรดีละครับ? ครู : ฟังนะครับ! ไม่ได้หมายความว่าพระพุทธเจ้าไม่ให้เรา เชื่อต่อสิ่งใดๆ เลย แต่ท่านต้องการให้เราใช้ปัญญาใคร่ครวญให้ดีเสยก่อนจึง เชื่อ คือท่านต้องการให้เราใช้มันสมองคิดพิจารณา ไตร่ตรอง ไม่ เชื่ออะไรทันที ข้อ 1 เกสปุตตสูตร เหตุผล เป็นพระสูตรว่าด้วยข้อห้ามมิให้เชื่ออะไรง่ายๆ ซึ่งตรงกับ หลักการฟังหูไว้หูในภาษิตไทย วิเคราะห์ข้อผิด - ข้อ 2 ผิด เพราะ วิชชาสูตร คือสูตรที่ว่าด้วยความหมายของ วิชชา การรู้เหตุแห่งการเกิดและดับของรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ (อาจเรียก ขันธ์ 5 ก็ได้) - ข้อ 3 ผิด เพราะ อนุโสตสูตร เป็นสูตรว่าด้วยบุคคล 4 ปรากฏอยู่ในโลก คือ คนตามกระแส, ทวนกระแส, ไม่ 51 1. “ ”หลักการฟังหูไว้หู ในภาษิตไทย ตรงกับพระสูตรข้อใด 1. เกสปุตตสูตร 2. วิชชาสูตร 3. อนุโสตสูตร 4. จินตสูตร คำา ตอบ
  • 2. ตามและไม่ทวนกระแส และคนข้ามถึงฝั่งขึ้นอยู่บนบกเป็น พราหมณ์ - ข้อ 4 ผิด เพราะ จินตสูตร ว่าด้วยลักษณะแตกต่างระหว่าง บัณฑิต (คิดดีพูดดีทำาดี) กับคนพาล (คิดชั่ว พูดชั่ว ทำาชั่ว) - - คำาว่า “ ”หลักพุทธธรรมที่สำาคัญ 1. อัปปมาทธรรม = ธรรมแห่งความไม่ประมาท เป็นยอดของ ธรรมในพระศาสนา คือความเป็นอยู่อย่างไม่ขาดสติ มีสติเป็น เครื่องกำากับความประพฤติ ระมัดระวังที่จะไม่ทำาชั่ว เพียรทำาแต่ ความดี 2. เมตตาธรรม = ธรรมแห่งความรัก ความปรารถนาดีอยากให้ ผู้อื่นมีความสุข (1 ในพรหมวิหาร 4) ทำาให้เกิดความรักความสงบ สุขและความสามัคคีต่อกัน 3. สันติธรรม = ธรรมแห่งความสงบ ปลอดจากสงครามและการ ทำาลายล้างซึ่งกันและกัน 4. โลกปาลธรรม = ธรรมคุ้มครองโลก ปกครองควบคุมใน มนุษย์ให้อยู่ในความดี มิให้ละเมิดศีลธรรมและให้อยู่ด้วยความสงบ เรียบร้อย มี 2 อย่าง คือ หิริ ละอายในการที่จะทำาบาปและ โอตตัปปะ เกรงกลัวต่อผลของการกระทำาบาป ข้อ 1 อัปปมาทธรรม (ต้องวิเคราะห์ตามความ หมายของศีล) เหตุผล เพราะ ธรรมคือความไม่ประมาท พึงกระทำาใน 4 อย่าง คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และมีความเห็นที่ ถูกต้อง จึงถือได้ว่าเป็นผู้มีศีลสมบูรณ์ หลักฐานที่นำามา อ้างคือ หลักฐานเป็นพุทธพจน์ตรัสว่า “ความไม่ประมาทย่อมเป็นไป เพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ เพื่อความดำารงมั่นไม่เสื่อมสูญ... แห่ง ”สัทธรรม  หลักฐานในพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “ดูก่อน คฤหบดีทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยศีล จะประสบกองแห่งโภคระใหญ่ ”มีความไม่ประมาทเป็นเหตุ - - คำาว่า “ ”ไตรสิกขา 52 2. บุคคลประพฤติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนาข้อใดจึงจะถือ ได้ว่าเป็นผู้มีศีลสมบูรณ์ 1. อัปปมาทธรรม 2. เมตตาธรรม 3. สันติธรรม 4. โลกปาลธรรม 3. องค์มรรคข้อใด มิใด จัดเข้าในอธิจิตสิกขา 1. สัมมาสติ 2. สัมมาสมาธิ 3. สัมมาสังกัปปะ 4. สัมมาวายามะ คำา ตอบ
  • 3. 1. ไตรสิกขา เป็นระบบการฝึกฝนตนเองอบรมใน 3 ด้าน ใหญ่ ๆ คือ ทางปัญญา (อธิปัญญาสิกขา) ทางศีล (อธิศีลสิกขา) และทางจิตหรือสมาธิ (อธิจิตตสิกขา) 2. ไตรสิกขา คือ “ ”มัชฌิมาหฏิปทา เป็นวิธีการปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงที่ สิ้นสุดแห่งทุกข์ หรือมรรค 8 ได้แก่ 1. สัมมาทิฐิความเห็นชอบหรือความเข้าใจ ถูกต้อง 2. สัมมาสังกัปปะ ความดำาริชอบ 3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ 4. สัมมากัมมมันตะ การงานชอบ 5. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีพ 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ 7. สัมมาสติ ระลึกชอบ 8. สัมมาสมาธิ ตั้งใจมั่นชอบ ข้อ 3 สัมมาสังกัปปะ เหตุผล เพราะสัมมาสังกัปปะ หมายถึง ความดำาริชอบ จัดอยู่ใน อธิปัญญาสิกขา มิใดจัดอยู่ในอธิจิตตสิกขา - - คำาว่า “ ”สมุทัย - สมุทัย หมายถึง สาเหตุแห่งความทุกข์ หรือ สาเหตุแห่งปัญหา ทั้งปวง ได้แก่ 1. กามตัณหา = ความอยากได้ในสิ่งที่น่ารัก น่าใคร่ น่า ปรารถนา น่าพอใจในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส 2. ภวตัณหา = ความอยากมีหรืออยากเป็น เช่น อยากมีอำานาจ อยากมีคนรัก อยากมีเงิน 3. วิภวตัณหา = อยากให้พ้นจากสภาพที่ตนไม่ต้องการ เช่น ไม่ อยากทำางานหนัก ไม่อยากเป็นทหาร ข้อ 2 ตัณหา เหตุผล เพราะเป็นสาเหตุแห่งความทุกข์ ได้แก่ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา ตัณหา อุปาทานดับ ภพดับ ชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ = ทุกข์ดับ วิเคราะห์ข้อผิด - ข้อ 1 ผิด เพราะ อวิชชา คือ ความไม่รู้จริง หมายถึง ทำาให้ ไม่รู้ ไม่เข้าใจในอริยสัจจ์ 4 53 อธิ ปัญญา สิกขา อธิศีล สิกขา อธิจิตสิกขา (สมาธิ) คำา ตอบ 4. “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่า นั้น ”และตรัสความดับแห่งธรรมเหล่านั้น ถ้าธรรมเหล่านั้น หมายถึง ทุกข์ เหตุแห่งธรรมเหล่านั้น หมายถึงอะไร 1. อวิชชา 2. ตัณหา 3. อุปทาน 4. มิจฉาทิฐิ คำา ตอบ
  • 4. - ข้อ 3 ผิด เพราะ อุปทาน คือ ความยึดถือมั่นด้วยอำานาจกิเลส - ข้อ 4 ผิด เพราะ มิจฉาทิฎฐิ (มิจฉาทิฐิ) คือความเห็นผิดจาก คลองธรรม - - คำาว่า “ ”เทววาจิกอุบาสก - เทววาจิกอุบาสก = ผู้กล่าววาจาถึงสรณะสอง คือ พระพุทธและพระธรรม ในสมัยที่ยังไม่มีพระสงฆ์ ประวัติโดยย่อ 1. หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้ 49 วัน นายวาณิชสองพี่น้อง คือ ตปุสสะ และ ภัลลิกะ นำาเกวียนบรรทุกสินค้า 500 เล่ม เดินทาง ค้าขายจาก อุกกชลบท จนถึง ตำาบลอุรุเวลา ในแคว้นมคธ ณ ลุ่มแม่ นำ้าเนรัญชรา ซึ่งเป็นสถานที่ที่พระพุทธเจ้าเคยบำาเพ็ญทุกรกิริยาก่อน ตรัสรู้ 2. ทั้งสองมีจิตเลื่อมใสจึงได้ถวายข้าวตูแด่พระพุทธเจ้า เมื่อพระพุทธจ้า เสวยเสร็จ นายวาณิชทั้งสองจึงกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระเจ้าทั้งสองขอถือพระองค์และพระธรรมเป็นที่พึ่ง... ข้า พระพุทธจ้าทั้งสองเป็นอุบาสกในพระพุทธศาสนาตราบอวสานแห่ง ”ชีวิต 3. พระพุทธเจ้าทรงสถาปนาอุบาสกทั้งสองให้เป็นผู้เลิศกว่าอุบาสกทั้ง หลาย (เอตทัคคะ) ด้านถึงสรณะสอง คือ พระพุทธ และพระธรรม ก่อนผู้อื่น ข้อ 3 เป็นผู้นับถือรัตนตรัยเพียง 2 องค์ เหตุผล เพราะขณะนั้นยังไม่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นในโลก อุบาสกทั้ง สองจึงได้นามว่า “ ”ทฺเววาจิกอุบาสก - - คำาว่า “ ”กรรมนิยาม - นิยาม แปลว่า “ ”กฎธรรมชาติ ซึ่งมีอยู่ 5 นิยาม คือ 1. อุตุนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับฤดูกาล ดิน ฟ้า อากาศ 2. พีชนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพันธุกรรม การสืบพันธุ์ของ คน สัตว์ พืช 3. จิตนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับกระบวนการทำางานของจิต 54 5. ตปุสสะ ภัลลิก พ่อค้าชาวโภคนคร ผู้ถวายข้าวสัตตุแก่ พระพุทธเจ้า ได้แสดงตนเป็นอุบาสก ผู้นับถือพระรัตนตรัยรุ่นแรก เรียกว่า “ ”ทเววาจิกะอุบาสก คำาที่ขีดเส้นใต้ หมายความว่า อย่างไร 1. เป็นผู้กล่าวปฏิญาณตน 2 ครั้ง 2. เป็นผู้กล่าวปฏิญาณ ตน 3 ครั้ง 3. เป็นผู้นับถือรัตนตรัยเพียง 2 องค์ 4. เป็นผู้นับถือ รัตนตรัยทั้ง 3 องค์ คำา ตอบ 6. การที่นักวิทยาศาสตร์ทากรสำาเนาชีวพันธุกรรม (โคลนนิ่ง) ได้ แสดงว่า นักวิทยาศาสตร์มีความเข้าใจตามหลักนิยามข้อใด 1. อุตุนิยาม 2. พีชนิยาม 3. กรรมนิยาม 4. ธรรมนิยาม หลักสากลของกรรม นิยาม หว่านพืชเช่นใด ย่อม ได้ผลเช่นนั้น ผู้ทำาดี ย่อมได้ดี ผู้ทำา ชั่ว ย่อมได้ชั่ว Not e
  • 5. 4. กรรมนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการกระทำาและผลของ การกระทำา 5. ธรรมนิยาม = กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความเป็นเหตุเป็นผลของ สรรพสิ่ง เป็นสากล ข้อ 2 พีชนิยาม เหตุผล เพราะ เป็นกฎธรรมชาติเกี่ยวกับพันธุกรรมคือการ สืบพันธุ์ของคน สัตว์ พืช - คำาว่า “เบญจศีล – ”เบญจธรรม เบญจศีล คือ ศีล 5 ได้แก่ ตรง กับ เบญจธรรม คือ ธรรม 5 ข้อ ได้แก่ 1. ปาณาติปาตา เวรมณี = เว้นจากการฆ่าสัตว์ 1. เมตตากรุณา 2. อทินนาทานา เวรมณี = เว้นจากการลักทรัพย์ 2. สัมมาอาชีวะ 3. กาเมสุ มิจจารา เวรมณี = เว้นจากการประพฤติผิดใน กาม 3.สทารสันโดษ = พอใจ เฉพาะภรรยาตน (หรือกาม สังวร) 4. มุสาวาทา เวรมณี = เว้น จากการกล่าวเท็จ 4. สัจจะ ความสัตย์ 5. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี = เว้นจากการดื่ม นำ้าเมา 5. อัปปมาทะ หรือ สติสัมปชัญญะ ข้อ 3 ศีลข้อที่ 3 เหตุผล เพราะ ศีลข้อที่ 3 กาเมสุ มิจฉา จารา เวรมณี (การเว้นจาก การประพฤติผิดในกาม) ควรประพฤติคู่กับเบญจธรรมในข้อที่ 3 ส ทารสันโดษ ซึ่งหมายถึง ความพอใจในภรรยาของตน ไม่บ้าใน กาม จำาไว้ !!! - คำาว่า “ ”วันสำาคัญทางพระพุทธศาสนา 55 คำา ตอบ 7. เบญจธรรมข้อ “ ”สทารสันโดษ เป็นพื้นฐานขนองเบญจศีลข้อ ใด 1. ศีลข้อที่ 1 2. ศีลข้อที่ 2 3. ศีลข้อที่ 3 4. ศีลข้อที่ 4 คำา ตอบ 8. นักปราชญ์กำาหนดให้วันสำาคัญทางพระพุทธศาสนาแต่ละวัน เป็นวันประจำาพระรัตนตรัย ข้อใดเป็น “ ”วันของพระสงฆ์ โดย เฉพาะ 1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วัน อาสาฬหบูชา 4. วันเข้าพรรษา
  • 6. วันสำาคัญ เรียกว่า เหตุการณ์สำาคัญ พิธีกรรม 1.วันวิสาขบูชา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 วันพระพุทธ เจ้า - ประสูติ-ตรัสรู้-ปรินิพพาน - เป็นวันสำาคัญที่สุด ตักบาตร รักษาศีล ฟังเทศน์ เวียน เทียน 2. วันมาฆบูชา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 3 วันพระธรรม - แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ - เกิดจาตุรงคสันนิบาต ตักบาตร รักษาศีล ฟังเทศน์ เวียน เทียน 3. วัน อาสาฬหบูชา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 8 วันพระสงฆ์ - แสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัป ปวัตตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์ ณ อิสิปตนมฤคทาทยวัน กรุงพาราณสี - โกณฑัญญะได้ดวงตาเห็น ธรรม เกิดพระ อริย สงฆ์ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก - มีพระรัตนตรัยครบสาม - สอนมัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ตักบาตร รักษาศีล ฟังเทศน์ เวียน เทียน 4. วันอัฏฐมี บูชา แรม 8 คำ่า เดือน 6 วันถวาย พระเพลิง พระพุทธ สรีระ - อามิสบุชา การบูชาด้วยวัตถุ สิ่งของ - ปฏิบัติบูชา การบูชาด้วยการ ปฏิบัติ ตามคำาสอน ตักบาตร รักษาศีล ฟังเทศน์ เวียน เทียน 5. วันเข้า พรรษา แรม 1 คำ่า เดือน 8 ถึง ขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 วันจำา พรรษา 3 เดือน - พระสงฆ์ไม่จาริกไปค้างแรม ที่ไหน ตลอด 3 เดือนฤดูฝน - ถวายผ้าอาบนำ้า ฝน มีต้นกำาเนิดมา จากนางวิสาขา อุบาสิกา - หล่อเทียนพรรษา 6.วันออก พรรษา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 วันมหา ปวารณา (ครบ กำาหนด 3 เดือน) - วันครบกำาหนด 3 เดือนของ การเข้าพรรษา - ปวารณา คือ พระภิกษุสงฆ์ ว่ากล่าวตักเตือนซึ่งกันและ กันได้ - ตักบาตรเท โวโรหณะ - เทศกาล ทอดกฐิน หรือ กาลทาน เริ่มแรม 1 คำ่า เดือน 11 ถึงขึ้น 15 คำ่า เดือน 12 (ระยะ 1 เดือนหลังออก พรรษา) ข้อ 3 วันอาสาฬหบูชา เหตุผล เพราะเป็นวันแรกที่พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นในโลก คือ พระอัญ ญาโกณฑัญญะ (เป็น เอตทัคคะด้านรัตตัญญู คือ ผู้มีประสบการณ์ผ่านชีวิตมากๆ) 56 คำา ตอบ
  • 7. - คำาว่า “ ”บุญพิธี - บุญพิธี หมายถึง พิธีทำาบุญตามประเพณีนิยมของชาว พุทธ มี 2 ประเภท 1. ทำาบุญในงานมงคล (1) งานแต่งงาน งานวันเกิด วันมงคลสมรส วันขึ้นบ้านใหม่ วัน ขึ้นปีใหม่ เปิดกิจการใหม่ (2) อาราธนาพระจำานวนคี่ คือ 5 รูป 7 รูป 9 รูป (ยกเว้นงาน แต่งงานใช้จำานวนคู่ ส่วนงานพระราชพิธีนิยมใช้ 10 รูป เป็น อย่างน้อย) (3) เตรียมตั้งบาตรนำ้ามนตร์ และโยงสายสิญจน์ 2. ทำาบุญในงานอวมงคล (1) เกี่ยวกับการตายของบุคคลในครอบครัว 7 วัน 50 วัน 100 วัน งานทำาบุญอัฐิของบรรพบุรุษ งานฌาปนกิจ งาน สะเดาะเคราะห์ (2) สวดอภิธรรมนิยมนิมนต์พระ 4 รูป พิธีหลวงนิยม 10 รูป หากบังสุกุลไม่จำากัดจำานวน (3) ไม่ต้องตั้งบาตรนำ้ามนตร์ ไม่ต้องโยงสายสิญจน์ แต่... ถ้ามีหีบศพใช้สายภูษาโยง ข้อ 2 งานสะเดาะเคราะห์ เหตุผล เพราะ เป็นการทำาบุญในงานอวมงคลที่เกี่ยวข้องกับการตาย ไม่ต้องตั้งบาตรนำ้ามนต์โยงสายสิญจน์ วิเคราะห์ข้อผิด - ข้อ 1, 3 และ 4 ผิด เพราะเป็นงานมงคล ต้องตั้งบาตร นำ้ามนตร์และโยงสายสิญจน์ - คำาว่า “ ”เอตทัคคะ - เอตทัคคะ คือ “ ”คนเหนือคน ผู้มีความเป็นเลิศทางด้านต่างๆ ของ เหล่าสาวกของพระพุทธเจ้า มีฝ่ายภิกษุ 41 องค์ ฝ่าย ภิกษุณี 13 องค์ ฝ่ายอุบาสก 10 ท่าน และ ฝ่ายอุบาสิกา 10 ท่าน เอตทัคคะที่ควรจำา คือ 1. พระอานนท์ เป็นเลิศ 5 ทาง คือ พหูสูต = ผู้ได้รับฟัง มาก, สติ = ผู้มีความรอบคอบ คติ = หลัก การจำาพุทธวจนะ, ธิติ = ผู้มีความขยัน, อุปัฏฐาก = ผู้เป็นยอด อุปัฏฐาก 57 9. การทำาบุญในข้อใดไม่ต้องตั้งบาตรนำ้ามนตร์ และโยงสาย สิญจน์ 1. งานแต่งาน 2. งานสะเดาะเคราะห์ 3. คำา ตอบ 10. พระพุทธสาวกใดได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้เลิศในการทรงจำา พระพุทธวจนะ 1. พระอานนท์ 2. พระสารีบุตร 3. พระมหา
  • 8. 2. พระสารีบุตร เป็นเลิศในทางผู้มีปัญญามาก 3. พระมหากัสสปะ เป็นเลิศในทาง ผู้ทรงธุดงค์ 4. พระมหากัจจายนะ เป็นเลิศในทางผู้ขยายความย่อให้ พิสดาร ข้อ 1 พระอานนท์ เหตุผล เพราะเป็นผู้เลิศในการทรงจำาพระพุทธวจนะ (มีคติ = หลัก การจำาพุทะวจนะ) - คำาว่า “สังฆคุณ” - สังฆคุณ คือ คุณงามความดีของพระสงฆ์มี 9 ประการ แต่จะขอกล่าวเพียง 4 ประการ คือ 1. สุปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว (บำาเพ็ญเพียรตามอย่าง พระพุทธเจ้า 2. อุชุปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติตรง (ตามคำาสั่งสอน) 3. ญายปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติถูกทางหรือปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูก ต้อง 4. สามีจิปฏิปนฺโน = เป็นผู้ปฏิบัติสมควร ไม่บกพร่อง ไม่เป็นที่ติฉิน นินทา มีความพอดี ข้อ 2 พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูกต้อง เหตุผล ตรงกับสังฆคุณข้อ “ ”ญายปฏิปันฺโน - คำาว่า “วิรัติ” - วิรัติ = คือ การงดเว้นบาป เว้นจากการกระทำาผิดศีล 5 มี 3 ประการ 1. สัมปัตตวิรัติ เว้นจากบาปที่กำาลังเกิดขึ้นเฉพาะหน้า โดย มิได้ตั้งเจตนาไว้ 2. สมาทานวิรัติ เว้นจากบาปเพราะได้สมาทานไว้ก่อน 3. สมุทเฉทวิรัติ เว้นจากบาปโดยเด็จขาดของพระอริยะทั้ง หลาย 58 คำา ตอบ 11. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของสังฆคุณด้าน “ญายปฏิปัน ”โน 1. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติแล้ว 2. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูกต้อง 3. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติตรงตามคำาสั่งสอน 4. พระสงฆ์สาวกเป็นผู้ปฏิบัติสมควร มีความพอดี คำา ตอบ 12. ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษามีการรณรงค์เรื่อง “งดเหล้าเข้า ”พรรษา บางคนไม่ได้ตั้งในงดเว้นเอาไว้ แต่ต้น แต่เมื่อเพื่อชวนดื่ม กลับงดได้ไม่ยอมดื่ม การงดเว้นเช่นนี้ตรงกับวิรัติ (การงดเว้นบาป) ข้อใด
  • 9. ข้อ 1 สัมปัตตวิรัติ เหตุผล เพราะ สัมปัตตวิรัติ หมายถึง การเว้นจากบาปเมื่อประสบ เหตุโดยมิได้ตั้งเจตนาไว้ก่อน คำาว่า “กาลอุโบสถ” - กาลอุโบสถ = คือ ระยะเวลาที่จะรักษาอุโบสถ มี 3 อย่าง คือ 1. ปกติอุโบสถ อุโบสถที่รักษาตามปกติชั่ววันหนึ่งกับคืนหนึ่ง 2. ปฏิชาครอุโบสถ อุโบสถที่รักษาครั้งหนึ่งๆ ถึง 3 วัน คือ วันอุโบสถตามปกติ พร้อมทั้งวันก่อน และวันหลังของวันนั้น เรียกว่า วันรับและวันส่ง 3. ปาฏิหาริยปักขอุโบสถ รักษาอุโบสถติดต่อ กัน 3 เดือนภายในพรรษา คือตั้งแต่วันขึ้น 15 คำ่า เดือน 8 เป็นวันเข้าพรรษา ถึงวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 ข้อ 1 รักษาครั้งละ 3 วัน เหตุผล เป็นอุโบสถที่รักษาครั้งหนึ่ง ๆ ถึง 3 วัน คือ วันอุโบสถตาม ปกติ วันรับและวันส่ง คำาว่า “ ”กาลทาน -กาลทาน = ทานที่ให้ตามกาล ให้ได้เป็นครั้งคราวภายในระยะเวลา ที่กำาหนด ไม่ใช่ให้ได้ตลอดเวลา เช่น 1. การถวายผ้ากฐิน มีพุทธานุญาตไว้เฉพาะเวลา 1 เดือน หลังจากออกพรรษาเท่านั้น เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 คำ่า เดือน 11 ไป ถึงวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 12 พ้นจากนี้ไปไม่ทรงอนุญาต 59 คำา ตอบ คำาสอนของพระพุทธเจ้ามีสำานักสืบทอด 3 สำานัก สำานักพระวินัยปฺฎก สืบทอดมาจาก พระอุบาลีเถระ สำานักพระสูตตันนปิฎก สืบทอดมาจาก พระ อานนทเถระ สำานักพระอภิธรรมปิฎก สืบทอดมาจาก พระ สารีบุตรเถระ Note คำา ตอบ 13. ข้อใดเป็นการปฏิบัติที่ถูกต้อง ของคำาว่า “ ”ปฏิชาครอุโบสถ ซึ่งหมาย ถึงอุโบสถที่รับรักษาเป็นพิเศษกว่าปกติ 1. รักษาครั้งละ 3 วัน 3. รักษาตลอด 3 เดือน 2. รักษาครั้งละ 1 เดือน 4. รักษาเฉพาะวันขึ้น 15 คำ่า และแรม 14. ข้อใดเป็นการทำาบุญที่มีข้อจำากัดด้านเวลาให้ถวายโดยเฉพาะที่ เรียกว่า “ ”กาลทาน 1. ฉลองวิหาร 3. ทอดกฐิน 2. ทอดผ้าป่า 4. สลากภัต
  • 10. 2. การถวายผ้าอาบนำ้าฝน เป็นพิธีกรรมที่สืบ เนื่องกับวันเข้าพรรษา (คงไม่มีใครถวายในฤดูหนาว) ข้อ 3 ทอดกฐิน เหตุผล การทอดกฐิน จัดเป็นกาลทาน พระสงฆ์แต่ละวัดรับกฐินได้ เพียงครั้งเดียวในหนึ่งปี วิเคราะห์ข้อผิด - ข้อ 2 ผิด เพราะ การทอดผ้าป่า เป็นการเอาผ้าถวายโดยทิ้งไว้ เพื่อให้พระชักเอาเอง - ข้อ 4 ผิด เพราะ สลากภัต อาหารถวายตามสลาก ถวายพระ ด้วยวิธีการจับสลาก เป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นพื้นบ้าน ถวายได้ไม่ จำากัดกาล นิยมทำาในฤดูที่มีผลไม้อุดมสมบูรณ์ เช่น ทุเรียน เงาะ มะม่วง เป็นต้น ภาคเหนือนิยมทำาช่วงตุลาคม-พฤศจิกายน ของ ทุกปี ข้อสอบโควตามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2551 อนาคตพระพุทธศาสนาไม่ไร้พระศาสดา 1. พระพุทธศาสนาสอนให้ถือธรรมคือความถูกต้องเป็นใหญ่ เรียกว่า หลักธรรมาธิปไตย 2. พระพุทธเจ้าทรงตั้งพระธรรมและพระวินัยไว้เป็นตัวแทนเสมือน หนึ่งว่าพระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ วิเคราะห์ !!!  พระพุทธเจ้าได้ตรัสบอกแก่พระอานนท์ พุทธอนุชา ก่อนเสด็จดับขัน ธปรินิพพานว่า คำาตอบ ข้อ 4 ธรรมและวินัยจะเป็นผู้ปกครองเหมือน พระพุทธเจ้า วิเคราะห์ข้อผิด - ข้อที่ 1 ไม่ควรเลือก เพราะพระพุทธเจ้าไม่ประสงค์ที่จะให้เรายึดติด ในตัวของพระองค์ ดูหลักฐานจากพุทธวจนะ “ผู้ใดแล เห็นธรรม ผู้ นั้นชื่อว่าย่อมเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ”ผู้นั้นชื่อว่าย่อมเห็นธรรม 60 คำา ตอ บ 1. พระพุทธดำารัสว่า “ดูก่อน อานนท์ ธรรมและวินัยที่เราตถาคตแสดง แล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจักเป็น ศาสดา แห่งเธอทั้งหลาย ”เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว ข้อความที่ขัดเส้นใต้ หมายความว่าอย่างไร 1. ธรรมและวินัยจะเป้นพระพุทธเจ้า 2. ธรรมและวินัยจะเป็นสังฆประมุข 3. ธรรมและวินัยจะเป็นหลักการแห่งศาสนา 4. ธรรมและวินัยจะเป็นผู้ปกครองเหมือนพระพุทธเจ้า ทรงมอบพระธรรมวินัยเป็นศาสดาแทนพระองค์ หากชาว พุทธปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาบริบูรณ์แล้วก็เท่ากับว่าได้เข้า เฝ้าพระบรมศาสดาเหมือนเมื่อครั้งยังทรงพระชนม์ชีพอยู่
  • 11. - ข้อที่ 2 ผิดความจริง เพราะพระพุทธเจ้าไม่ได้ตั้งให้สงฆ์รูปนั้นรูปนี้ เป็นใหญ่ จะทำาให้เกิดปัญหาตามมา ตั้งกันสืบๆ ไปไม่มีที่สิ้นสุด (จำา ไว้..ตำาแหน่งหรือสมณศักดิ์พระสงฆ์ที่ตั้งกันในปัจจุบันไม่มีในอินเดีย นะครับ แต่ลังกาคิดขึ้นมา..แล้วสยามก็รับเอามาใช้แบบหน้าตา เฉย...รับมาในสมัยสุโขทัยโน้น) - ข้อที่ 3 ไม่เคยคิดจะเลือก เพราะไม่ว่าพระพุทธเจ้าจะปรินิพพานหรือ ไม่ พระพุทธศาสนาก็เป็นหลักการแห่งศาสนาอยู่วันยังคำ่า เช่น หลัก ไตรลักษณ์ กฎแห่งกรรม อริยสัจสี่ เป็นต้น ดังพุทธพจน์ตรัสว่า “ตถาคตคือพระพุทธเจ้าจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นก็ตาม ความจริงก็คง อยู่เป็นกฎธรรมดา ”เป็นความแน่นอนของธรรมชาติ แล้วที่สำาคัญ ท่านก็ไม่ได้ให้พระธรรมเป็นหลักการอย่างเดียว...แต่ท่านต้องการให้ พระวินัยเป็นเครื่องมือในการปกครองพระสงฆ์ด้วย... ข้อ 4 จึงถูก ที่สุด หลักอริยสัจ 4 1. เป็นสัจธรรมที่พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงบัญญัติขึ้น แต่ทรงค้นพบ แล้วนำามาเปิดเผยแก่มวลมนุษย์ 2. อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย (สาเหตุแห่งทุกข์) นิโรธ (ความดับทุกข์ หรือ นิพพาน) และมรรค (ทางที่นำาไปสู่ความดับทุกข์) คำาตอบ ข้อ 2 ตัณหา เป็นสาเหตุแห่งความทุกข์ตามหลัก อริยสัจ 4 ประการ - ข้อ 1 อวิชชา คือ ความไม่รู้จริง ไม่รู้แจ้งในการทำาลายกิเลส ตัณหาให้หมดไปจากสันดาน - ข้อ 3 ทิฐิ คือ ความเห็นผิดที่ไม่เป็นไปตามธรรมของ พระพุทธเจ้า - ข้อ 4 มานะ คือ ความถือตัว เย่อหยิ่ง เห็นว่าตัวเองเหนือกว่า คนอื่นทั้งหมด หลักภาวนา 4 - คำาว่า ภาวนา เรียกว่า กรรมฐาน ก็ได้ หรือ วัฒนา ก็ได้ - แปลว่า การเจริญจิต การฝึกอบรมพัฒนาตนให้งอกงาม 4 ด้าน ประกอบด้วย 61 2. “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่า ”นั้น ถ้าธรรมเหล่าใดได้แก่ “ ”ทุกข์ เหตุแห่งความทุกข์ตามหลัก อริยสัจ 4 จะได้แก่ข้อใด 1. อวิชชา 2. ตัณหา 3. ทิฏฐิ 3. การพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนบ้านและเพื่อนในโรงเรียน ตรงกับการพัฒนาตามหลักพระพุทธศาสนาแบบใด 1. การพัฒนากาย 2. การพัฒนาศีล 3. การพัฒนาจิตใจ 4. การพัฒนาปัญญา
  • 12. 1. กายภาวนา = การพัฒนากาย เน้นสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ วัตถุ เช่น ปัจจัย 4 (ที่ไม่ใช่มนุษย์) 2. ศีลภาวนา = การพัฒนาศีล เน้นสิ่งแวดล้อมทางสังคมคือ เพื่อน มนุษย์ (ต้องมีชีวิตนะนักเรียน) 3. จิตภาวนา = การพัฒนาจิตใจ ทำาจิตให้เจริญงอกงาม เบิกบาน ผ่องใส แข็งแกร่ง 4. ปัญญาภาวนา = การพัฒนาปัญญา เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ หยั่งรู้ความจริง ไม่โง่ คำาตอบ ข้อ 2 การพัฒนาศีล เหตุผล : เป็นการพัฒนาความสัมพันธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางสังคม ได้แก่ เพื่อนบ้านและเพื่อนในโรงเรียน พระพุทธเจ้าสอนวิธีการใช้เงิน - ใช้หลักโภควิภาค 4 คือ หลักการใช้จ่ายทรัพย์ โดย จัดสรรออกเป็น 4 ส่วน 1. ใช้จ่ายเลี้ยงตน ครอบครัว เลี้ยงคนที่ควรบำารุงดูแล = 0.5 ส่วน 2. ใช้ทำาความดี บำาเพ็ญประโยชน์ = 0.5 ส่วน 3. ใช้ลงทุนประกอบการงาน อาชีพ = 2 ส่วน 4. ออมเก็บไว้ใช้ในคราวจำาเป็น เพื่อเป็นหลักประกันชีวิต = 1 ส่วน คำาตอบ ข้อ 3 ใช้ลงทุนประกอบการงาน 1 ส่วน กล่าว ผิดความเป็นจริง... ต้อง 2 ส่วน การสังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งที่ 1 - การสังคายนา ก็คือ การประชุมสงฆ์ตรวจสอบ จัดระเบียบหมวดหมู่ พระธรรมวินัยให้ทราบเป็นแนว เดียวกันเริ่มมีขึ้นหลังพุทธปรินิพพาน 3 เดือน ครั้งที่ 1 หลังปรินิพพาน 3 เดือน เกิดจาก พระสุภัททะกล่าวจาบจ้วง พระธรรมวินัย ใช้เวลานาน 7 เดือน มีพระสงฆ์ 500 รูป ทำาที่ถำ้า สัตตบรรณคูหา ข้างภูเขาเวภาระ ใกล้กรุงคฤห์ - พระมหากัสสปะ เป็นประธานซักถาม - พระอุบาลี ตอบด้านพระวินัยปิฎก - พระอานนท์ ตอบด้านพระธรรม - พระเจ้าอชาตศัตรู อุปถัมภ์ 62 4. หลักโภควิภาค 4 (การแบ่งทรัพย์ออกเป็นส่วนๆ) ข้อความใดกล่าวไว้ ผิดสัดส่วนแห่งหลักการใช้จ่ายทรัพย์ 1. ใช้จ่ายเลี้ยงตนและเลี้ยงคนที่ควรบำารุง 0.5 ส่วน 2. ใช้จ่ายบำาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ 0.5 ส่วน 5. ในการทำาสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 1 พระเถระรูปใดเป็น ผู้วิสัชนาพระวินัยปิฎก 1. พระมหากัสสปะ 2. พระอานนท์ 3.
  • 13. .คำาตอบ ข้อ 3 พระอุบาลี เป็นเจ้าสำานักพระวินัยปิฎก มีการ ถ่ายทอดสืบต่อมาด้วยวิธีการ “ ”มุขปาฐะ แคว้นสำาคัญในสังคมชมพูทวีป 1. แคว้นสักกะ เมืองหลวงชื่อ กบิลพัสดุ์ = พระพุทธเจ้าประสูติ (สวนลุมพินีวัน) วันศุกร์ ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 ปีจอ เวลาใกล้เที่ยง ก่อนพุทธศักราช 80 ปี 2. แคว้นมคธ เมืองหลวงชื่อ ราชคฤห์ = พระพุทธเจ้าตรัสรู้ (อุรุเวลาเสนานิคม) ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 ปีระกา เมื่อพระชนม์มายุ 35 พรรษา 3. แคว้นกาสี เมืองหลวงชื่อ พาราณสี = พระพุทธเจ้าแสดง ปฐมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์ (ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน) ขึ้น 15 คำ่า เดือน 8 เรียกว่า ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร หรือ ทางสายกลาง หรือ อริยสัจ 4 4. แคว้นโกศล เมืองหลวงชื่อ สาวัตถี = พระพุทธเจ้าประทับ จำาพรรษาที่กรุงสาวัตถี ณ เชตวันมหาวิหาร 19 พรรษา และที่วัด บุพพาราม 6 พรรษา 5. แคว้นมัลละ เมืองหลวงชื่อ กุสินารา = พระพุทธเจ้า ปรินิพพาน (สาลวโนทยาน) ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 คำาตอบ ข้อ 3 แคว้นโกศล ตลอดเวลา 45 พรรษา พระพุทธ องค์ประทับอยู่ที่วัดพระเชตวัน บ่อยครั้งและ นานกว่าที่อื่น เพราะ มีพระเจ้าปเสนทิโกศล เป็นกำาลังสำาคัญในการประกาศคำา สอน และมี อานาถบิณฑิกเศรษฐี สร้างวัดพระเชตวันถวาย มีนางวิสาขา สร้างวัด บุพพารามถวาย เทศกาลออกพรรษา 1. ชื่อ : วันออกพรรษา = วันมหาปวารณา = วัน ตักบาตรเทโวโรหณะ = วันพระเจ้าเปิดโลก 63 6. ในช่วงเวลาแห่งการประกาศพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้า เสด็จจำาพรรษาในแคว้นใดนานที่สุด 1. แคว้นมคธ 2. แคว้นกาสี 3. แคว้น 7. การถวายผ้ากฐินแด่พระสงฆ์ในฤดูออกพรรษา ตามพระวินัย กำาหนดว่า ต้องมีจำานวนพระสงฆ์ อยู่จำาพรรษาในอาวา สนั้นๆ อย่างน้อยกี่รูป 1. 4 รูป 2. 5 รูป 3. 9 8. ในมหาสาโรปมสูตร ที่พระพุทธเจ้าเปรียบเทียบศาสนากับส่า วนของต้นไม้ ธรรมะข้อใดที่ท่านเปรียบเทียบได้กับกระพี้ของ ศาสนา 6. ในช่วงเวลาการประกาศพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าเสด็จจำา พรรษาในแคว้นใดนานที่สุด 1. แคว้นมคธ 2. แคว้นกาสี 3. แคว้นโกศล 4. แคว้นสักกะ
  • 14. 2. วันออกพรรษา ตรงกับ ขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 เป็นวันที่พระ ภิกษุอยู่พรรษาครบ 3 เดือน แล้วทำาพิธี “ ”ปวารณา คือ ให้พระ สงฆ์ทุกรูปกล่าวตักเตือนกันได้ แล้วห้ามโกรธกัน 3. การทอดกฐิน เป็นกาลทาน = ทำาได้เฉพาะเวลา 1 เดือนหลัง จากออกพรรษาเท่านั้น คือ เริ่มแรม 1 คำ่า เดือน 11 ถึง ขึ้น 15 คำ่า เดือน 12 4. พระสงฆ์ผู้ประกอบกฐินกรรมได้ต้องมีจำานวนภิกษุอย่างน้อย 5 รูป คำาตอบ ข้อ 2 ต้องมีอย่างน้อย 5 รูป แก่นพระพุทธศาสนา ♣ พระพุทธเจ้าเปรียบพระพุทธศาสนาเหมือนต้นไม้ทั้งต้น ดังนี้ 1. ลาภสักการะ ชื่อ เสียง ใบและกิ่ง 2. ศีล สะเก็ด 3. สมาธิ เปลือก 4. ปัญญา กระพี้ 5. วิมุติ แก่น คำาตอบ ข้อ 3 ปัญญา สะเดาะเคราะห์ เป็นของพราหมณ์ไม่ใช่พุทธ ♣ การลอยเคราะห์หรือสะเดาะเคราะห์ เป็นพิธีกรรมและความเชื่อ ของศาสนาพราหมณ์ ♣ ปรากฏในคัมภีร์พระเวท เรื่อง “ ”อาถรรพเวท ว่าด้วยการทำาพี ป้องกันอันตรายต่างๆ มคาถาอาคมต่างๆ และมนต์ขลังอันศักดิ์สิทธิ์ สำาหรับแก้ไขสิ่งอัปมงคลให้กลับมาเป็นสวัสดิมงคล นำาความชั่วร้าย ไปบังเกิดแก่ศัตรู คำาตอบ ข้อ 1 ลอยเคราะห์หรือสะเดาะเคราะห์ 64 ข้อควรรู้ : ในข้อนี้ได้ตรวจสอบหลักฐานดูแล้ว พบว่า การ สวดกฐินนั้นหากมีพระภิกษุสงฆ์ตั้งแต่ 4 รูปขึ้นไปก็สามารถทำาได้ ส่วนการกำาหนดว่าต้อ 5 รูปขึ้นไปนั้นไม่มีข้อกำาหนดไว้โดยเฉพาะใน พระวินัยปิฎก เพียงแต่พระอรรถกถาจารย์แต่งขึ้นมาภายหลัง 9. ข้อใดที่ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของประเพณีลอยกระทง (ในวันเพ็ญเดือน 12) ของพุทธศาสนิกชนในประเทศไทย 1. ลอยเคราะห์หรือสะเดาะเคราะห์ 2. กตัญญูต่อแม่นำ้าคงคาต้นนำ้าศักดิ์สิทธิ์ 3. บูชา 8. ในมหาสาโรปสูตร ที่พระพุทธเจ้าเปรียบเทียบศาสนากับส่วน ของต้นไม้ ธรรมะข้อใดที่ท่านเปรียบเทียบได้กับกระพี้ของ ศาสนา 1. ศีล 2. สมาธิ 3. ปัญญา
  • 15. เหตุผล : ไม่ใช่พิธีกรรมของพระพุธศาสนา เป็นความเชื่อที่ผิด เป็นเรื่อง ของคนโง่ ที่มีความอ่อนด้อยทางด้านสติปัญญา ข้อ 2 เป็นวัตถุประสงค์ที่ต้องการขอมาต่อแม่นำ้าลำาคลองที่เรา ได้ใช้ดื่มกิน และทิ้งของสกปรกลงไป ข้อ 3, 4 เป็นวัตถุประสงค์ที่จะระลึกถึงพระธรรมคำาสอนของ พระพุทธเจ้า พุทธคุณ 3 ประการ 1. อรหัง ทรงเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้สิ้นกิเลส มีความ บริสุทธิ์ (พระบริสุทธิคุณ) 2. สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้เอง แสดงส่าเก่งสุดยอด (พระปัญญาคุณ) 3. ภควา เป็นผู้จำาแนกธรรมให้มนุษย์เข้าใจได้ โดยไม่ ปิดบัง (พระกรุณาคุณ) คำาตอบ ข้อ 2 พระกรุณาคุณ - ตัวเลือกข้อ 4 “ ”พระนวารหาทิคุณ แปลว่า คุณของ พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์ 9 ประการ พุทธโอวาท 3 ประมวลคำาสอนของพระพุทธเจ้าที่เป็นหลักใหญ่ 3 ข้อ 1. ไม่ทำาความชั่วทั้งปวง 2. ทำาแต่ความดี 3. ทำาใจของตนให้สะอาดบริสุทธิ์ คำาตอบ ข้อ 1 วันมาฆบูชา ซึ่งอาจเรียกว่า วันโอวาทปาติโมกข์ หรือ วันจาตุรงคสันนิบาติ หรือวันอัศจรรย์สี่ ก็ได้ นอกจากนั้น พระพุทธเจ้ายังทรงปลงสังขารที่แคว้นวัชชี ในวาระนั้นได้แสดงอิทธิ บาทสี่ด้วย พุทธศาสนาพิธี สี่ประการ 1. หมวดกุศลพิธี คือ การอบรมความดีงามเฉพาะตัวบุคคล การ สร้างความดีให้แก่ตนเอง เช่น การทำาวัตร สวดมนต์ การแสดงตน เป็นพุทธมามกะ การรักษาอุโบสถศีล การเวียนเทียน เป็นต้น 65 10. คำานมัสการที่ขีดเส้นใต้ “นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต ”สัมมาสัมพุทธัสสะ นั้นแสดงถึง พระพุทธคุณในข้อใด 1. พระปัญญาคุณ 2. พระกรุณาคุณ 3. พระบริสุทธิคุณ 4. พระนวารหาทิคุณ 11. ละชั่ว ทำาดี ”ชำาระจิตใจให้ผ่องใส เป็นหลักธรรมเกี่ยวเนื่องกับ วันสำาคัญใดของพระพุทธศาสนา 1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วัน หลัก 3 ข้อนี้ รวมอยู่ในโอวาท ปาติโมกข์ ที่ แสดงในวันขึ้น 15 คำ่า เดือน 3 เรา 12. “ ”พิธีสวดอภิธรรม ในงานอวมงคล จัดเป็นพิธีในศาสนา ข้อใด 1. กุศลพิธี 2. บุญพิธี 3. ทานพิธี
  • 16. 2. หมวดบุญพิธี คือ การทำาบุญเนื่องด้วยประเพณีของชาวพุทธ ได้แก่ งานมงคล และอวมงคล (งานศพ) 3. หมวดทานพิธี คือ พิธีถวายทานต่างๆ เพื่อบูชาพระ เช่น ถวาย สังฆทาน อาหาร นำ้า ดอกไม้ธูปเทียน 4. หมวดปกิณณกะ คือ ข้อปฏิบัติบางประการ เช่น การกราบพระ ประเคนของพระ อาราธนาศีล คำาตอบ ข้อ 2 บุญพิธี เทศกาลเข้าพรรษา 1. เข้าพรรษา คือ วันแรม 1 คำ่า เดือน 8 จนถึง วันออกพรรษา คือ วันขึ้น 15 คำ่า เดือน 11 รวมเวลา 3 เดือน 2. เป็นฤดูฝนที่พระภิกษุต้องจำาพรรษาอยู่ประจำาในที่แห่งเดียวเป็นเวลา 3 เดือน 3. เป็นช่วงเวลาที่พุทธศาสนิกชนได้ถวายผ้าอาบนำาฝน ทำาบุญและ ฟังธรรมกับพระสงฆ์เหมือน ครั้งพุทธกาล 4. มีการถวายเทียนพรรษาเพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ใช้จุดในการศึกษา ธรรมวินัยและปฏิบัติศาสนกิจ คำาตอบ ข้อ 3 การงดเหล้าเข้าพรรษา เหตุผล : ไม่เกี่ยวกับการจำาพรรษาของพระสงฆ์ แต่เป็นการอธิฐานใจ งดเว้นเฉพาะบุคคล เช่น โครงการรณรงค์งดเหล้า เข้าพรรษา (เป็นค่านิยมของสังคมและส่วนตัว) หลักปฎิจจสมุปบาท 1. หลักปฎิจจสมุปบาท อาจเรียกว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ธรรมนิยาม หรือ กฎธรรมชาติ หรือปัจจยาการ 2. เป็นทฤษฎีว่าด้วยการเกิดและการดับแห่งทุกข์ หรือการที่สิ่งทั้ง หลายอาศัยกัน จึงเกิดมีขึ้น 3. เป็นเหตุการณ์ที่พระพุทธเจ้าทรงพิจารณาธรรมที่ตรัสรู้แล้ว คือ ปฎิจจสมุปบาท แล้วเปล่งพุทธอุทานในยามเป็นท่ามกลางว่า “เมื่อ ใดธรรมทั้งหลายปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีเพียงเพ่งอยู่ เมื่อนั้นความ 66 13. กิจกรรมใดที่ไม่เกี่ยวกับการจำาพรรษาของพระสงฆ์ 1. พระภิกษุหยุดจาริกและอยู่ที่เดียวตลอดเวลา 3 เดือน 2. พระสงฆ์มีเวลาศึกษาและปฏิบัติศาสนกิจอย่างจริงจัง 3. ประชาชนได้โอกาสถือปฏิญญางดเหล้าเข้าพรรษาจากพระสงฆ์ 4. ประชาชนได้ทำาบุญกับพระสงฆ์เป็นการบำารุงพระพุทธศาสนา 14. “เมื่อใดธรรมทั้งหลายปรากฏแก่ท่านผู้บำาเพ็ญเพียร เมื่อนั้น ความสงสัยย่อมสิ้นไป เพราะได้รู้ธรรมอันเป็นที่สิ้นไปแห่งเหตุ ”ปัจจัยทั้งหลาย ข้อความที่ขัดเส้นใต้ หมายถึงหลักธรรมใด 1. อริยสัจ 4 2. นิพพาน 3. ปฎิจจสมุปบาท
  • 17. สงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้น ย่อมสิ้นไป เพราะได้รู้ความสิ้นแห่ง ”ปัจจัยทั้งหลาย คำาตอบ ข้อ 3 ปฎิจจสมุปบาท เหตุผล : มี 12 หัวข้อ ได้แก่ อวิชชา , สังขาร , วิญญาณ , นามรูป, สฬาขตนะ (อายตนะ 6), ผัสสะ, เวทนา, ตัณหา, อุปาทาน (ความยึดมั่น) ภพ (ภาวะชีวิต), ชาติ (ความเกิด) และชรามรณะ เคล็ดลับของการเป็นนักปราชญ์ 1. ใช้การเจริญปัญญา 3 ประการ คือ สุตมยปัญญา (ฟัง) – จินตามยปัญญา (คิด) – ภาวนามย-ปัญญา (อบรม ปฏิบัติ ลงมือ) 2. การศึกษาจนเป็นพหูสูตหรือนักปราชญ์ มีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ - สุตา = ตั้งใจฟัง - ธตา = จำาได้ - วจสา ปริจิตา = ท่องได้หรือพูดให้ผู้อื่นฟังได้ - มนสานุเปกขิตา = คิดพิจารณาทำาความเข้าใจ - ทิฏฐิยา สุปฏิวิทฺธา = เปรียบความเห็นของตนเองว่า เหมือนหรือต่างกันอย่างไร คำาตอบ ข้อ 1 พหูสฺสุตา เหตุผล : เป็นบ่อเกิดปัญญาระดับสูง จัดอยู่ในสุตมยปัญญา และ มงคลที่ 7 ของพหูสูต กฎแห่งกรรมเป็นสัจธรรมสากล 1. กรรม หมายถึง การกระทำาประกอบไปด้วยเจตนา เป็นคำา กลางๆ หากเป็นกรรมดี เรียกว่า กุศลกรรม หากเป็น กรรมชั่ว เรียกว่า อกุศลกรรม 2. พุทธภาษิตได้กล่าวว่า “กุมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็น ”ไปตามกรรม 3. พุทธพจน์ตรัสว่า “หญิง ชาย คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ควร พิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็น ของตน เป็นผู้รับผล ของกรรม (เป็นทายาทแห่งกรรม) มีกรรมเป็นกำาเนิด มีกรรม 67 15. คุณสมบัติของนักเรียนที่ดี คือ “เรียนจากครูดูจากตำาหรับ สดับ ”ปาฐะ ตรงกับหลักธรรมข้อใดมากที่สุด 1. พหุสฺสุตา 2. ธตา 3. วจสา ปริจิตา 16. หลักความเชื่อเรื่องกรรมในพระพุทธศาสนาตรงกับข้อใด 1. กรรมเก่าเป็นตัวชี้ปัจจุบัน 2. กรรมทุก ชนิดต้องให้ผลเสมอไป 3. ทำากรรมใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น 4. หว่านพืช
  • 18. เป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย เราทำากรรมอันใด ไว้ ดีก็ตามชั่วก็ตาม ”เราจะได้รับผลของกรรมนั้น 4. ในพระไตรปิฎกกล่าวไว้ว่า “บุคคลทำากรรมเหล่าใดไว้ เขาย่อม เห็นกรรมนั้นในตน ผู้ทำากรรมดี ย่อมได้รับผลดี ผู้ทำากรรมชั่ว ย่อมได้รับผลชั่ว บุคคลหว่านพืชเช่นใด ”ย่อมได้รับผลเช่นนั้น คำาตอบ ข้อ 3 ทำากรรมใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น เหตุผล : อ้างตามพระพุทโธวาทที่ตรัสไว้ว่า ... - ตัวเลือกข้อ 1 คนเราไม่ได้เกิดมาเพื่อใช้กรรม จำาเอาไว้! แต่เกิดมา เพื่อสร้างกรรมและอยู่เหนือกรรม -ตัวเลือกข้อ 2 ผิด เพราะกรรมทางพุทธศาสนามีความหมายเจาะจง บ่งถึงการกระทำาที่มีเจตนาเท่านั้น ดังพุทธดำารัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า เจตนานั้นเอง เรียกว่า ”กรรม และกรรม ก็ไม่ได้หมาย ถึงผลของกรรม - ตัวเลือก ข้อ 4 เป็นการเปรียบเทียบ พึงเข้าใจว่า โจทย์ถามเรื่อง หลักกรม ไม่ได้ถามเรื่องพืช พิธีบรรพชา – อุปสมบท 1. การบรรพชา ใช้เรียกการบวชเป็น “ ”สามเณร - สำาหรับคฤหัสถ์ผู้มีอายุยังไม่ครบ 20 บริบูรณ์ - บรรพชาด้วยการรับไตรสรณคมน์ จะทำาในอุโบสถหรือกุฏิ พระอุปัชฌาย์ก็ได้ - จะมีพระอันดับ 4 รูปขึ้นไปหรือไม่มีก็ได้ - ถือสิกขาบท 10 - พระราหูล เป็นสามเณรองค์แรกในพระพุทธศาสนาเป็น เอตทัคคะด้านผู้ใคร่ต่อการศึกษา 2. การอุปสมบทใช้เรียกการบวชเป็น “ ”ภิกษุ - เป็นคฤหัสถ์ผู้มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์แล้ว ต้องขอบรรพชา ก่อนแล้วจึงขออุปสมบทต่อไป - อุปสมบทด้วยวิธี “ ”ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา ต้องทำาใน เขตสีมา พระอุโบสถ 68 17. พิธีอุปสมบทกรรม (การบวชพระสงฆ์) องค์ประกอบในข้อใดที่ ขาดไม่ได้เลย 1. พระอุปัชฌาย์ 2. พระ คู่สวดกรรมวาจา ยาทิสำ วปเต พีชำ ตาทิสำ ลภเต ผลำ กลฺยาณการี กลฺยาณำ ปาปการี จ ปาปกำ “บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้รับผล ”เช่นนั้น “ผู้ทำากรรมดีย่อมได้ผลดี ผู้ทำากรรมชั่ว
  • 19. - การบวชพระในเขตชนบทใช้ภิกษุสงฆ์ 5 รูป ขึ้นไป ส่วน ในเขตเมืองใช้ 10 รูปขึ้นไป - ต้องมีพระอุปัชฌายะ เป็นผู้รับการอุปสมบท นำาเข้าหมู่สงฆ์ และอบรมฝึกสอน ดูแล คำาตอบ ข้อ 1 พระอุปัชฌาย์ เหตุผล : เพราะเป็นผู้รับบุคคลเข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุและทำาหน้าที่ ปกครองดูแลให้การศึกษาแก่พระภิกษุ -ข้อ 2 พระคู่สวดกรรมวาจา เป็นผู้ขอให้สงฆ์ยอมรับบุคคลไว้ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ -ข้อ 3 ไม่จำาเป็น หากท้องถิ่นที่ไหนไม่เจริญก็ใช้ 5 รูปขึ้น ถ้า ท้องถิ่นที่เจริญแล้วก็ใช้ 10 รูปขึ้นไป -ข้อ 4 พระพี่เลี้ยง ไม่จำาเป็นหากไม่มีก็ไม่เป็นไร กิจในอริยสัจ 4 - กิจในนอริยสัจ 4 คือ ข้อที่จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องและเสร็จ สิ้นอริยสัจ 4 ได้แก่ 1. ทุกข์ (รู้) การกำาหนดรู้ ต้องทำาความเข้าใจ กำาหนด ขอบเขตของปัญญา 2. สมุทัย (ละ) การละ กำาจัด ทำาให้หมดสิ้นไป ขั้นวิเคราะห์มูล เหตุของปัญญา 3. นิโรธ (เข้าใจ) การทำาให้แจ้ง เข้าถึงหรือบรรลุจุดหมายที่ ต้องการ 4. มรรค (ปฏิบัติ) การเจริญ ลงมือปฏิบัติตามวิธีการขั้นตอน คำาตอบ ข้อ 3 ความทุกข์ เหตุผล : เป็นสิ่งที่ควรกำาหนดรู้ บทสรรเสริญพระสังฆคุณ 1. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดี 2. อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะ สังโฆ สงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง ตามหลักธรรมคำาสอนของ พระพุทธเจ้า 3. ญายะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อรู้ธรรมอันเป็นเครื่องออกจากทุกข์ 69 18. สิ่งใดควรรู้ก็ทรงรู้ สิ่งใดควรละก็ทรงละได้ สิ่งใดควรทำาให้แจ้งก็ ทรงเข้าพระทัยสิ่งนั้นอย่างแจ่มแจ้ง สิ่งใดควรปฏิบัติดำาเนินก็ปฏิบัติได้ ”อย่างครบถ้วนบริบูรณ์ ข้อคามที่ขัดเส้นใต้หมายถึงสิ่งใด 1. ความจริง 2. ความเท็จ 3. ความ 19. สังฆคุณที่ว่า “ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต ”สาวะกะสังโฆ ข้อใด มีความหมายตรงที่สุด 1. เป็นผู้ปฏิบัติตามคำาสั่งสอน 2. เป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อความรู้ที่ถูกต้อง
  • 20. 4. สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆ์เป็นปฏิบัติ สมควรเหมาะสมแล้ว คำาตอบ ข้อ 2 เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความรู้ที่ถูกต้อง เหตุผล : คือ รู้ธรรมอันเป็นเครื่องออกจากทุกข์ พระไตรปิฎก - พระไตปิฎก คือ คัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัยไว้ 3 หมวด จัด พิมพ์ด้วยอักษรไทย มี 45 เล่ม 1. พระวินัยปิฎก คือ หมวดพระวินัย สิกขาบท ความเป็นอยู่และ บัญญัติความประพฤติของภิกษุสงฆ์ มี 8 เล่ม จำานวน 21,000 พระธรรมขันธ์ 2. พระสุตตันตปิฎก คือ พระสูตร พระธรรมเทศนา เรื่องเล่าต่างๆ มี บุคคล สถานที่ หรือชาดก มี 25 เล่ม จำานวน 21,000 พระธรรมขันธ์ 3. พระอภิธรรมปิฎก คือ หลักธรรมที่เป็นหลักวิชาการล้วนๆ ไม่มี บุคคลหรือเหตุการณ์ประกอบ จะเป็นเรื่องของจิต เจตสิก รูป นิพพาน มี 12 เล่ม จำานวน 42,000 พระธรรมขันธ์ - สมัยพระเจ้าติโลกราช พ.ศ. 2020 มีการชำาระและจารึก ในใบลานทำาที่เชียงใหม่ - สมัยรัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2331 มีการชำาระและจารึกในใบ ลานทำาที่วัดมหาธาตุ - สมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2431 – 2436 มีการชำาระและพิมพ์ เป็นเล่ม ทำาที่กรุงเทพฯ - ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 7 และรัชกาลที่ 9 ก็มีการชำาระและ พิมพ์เป็นเล่มสืบมาจนถึงวันนี้ คำาตอบ ข้อ 2 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เหตุผล : มีการชำาระและพิมพ์เป็นเล่มใน พ.ศ. 2431-2436 ข้อสอบโควตามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2550 70 1. ทุกศาสนาเห็นว่า ความสมานฉันท์ จะเกิดขึ้นได้เพราะนำาหลัก ธรรมใดมาใช้ 1. อาชวธรรม 2. อักโกธธรรม 20. ในรัชกาลใดที่พระไตรปิฎกได้รับการตีพิมพ์ด้วยอักษรไทยในรูป เล่มแบบหนังสือสมัยใหม่ 1. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว น่ารู้ : พระไตปิฎกมี 84,000 พระธรรมขันธ์ไม่ต้องลองนับ หรอกครับ ยังไงก็ไม่ครบ เพราะความจริงธรรมขันธ์ หมาย ถึง มากมายโดยไม่ได้นับ คือ มากระดับปานกลาง ถ้ามาก ระดับตำ่าใช้ 500 เช่น ไอ้โจร 500 ระดับสูงใช้ โกฎิ
  • 21. ตอบ ข้อ 3 อวิหิงสาธรรม คำาอธิบาย คำาว่า “ ”ความสมานฉันท์ คือ มีความพอใจร่วมกัน พร้อมใจ กัน จะเกิดขึ้นได้ต้องใช้หลัก “ ”อวิหิงสาธรรม คือ ไม่ข่มเหงเบียดเบียน กัน ไม่ก่อความทุกข์ยากแก่ผู้อื่น มีเมตตากรุณาและเที่ยงธรรม ข้อ 1 อาชวธรรม คือ ซื่อตรงจริงใจไร้มารยา มีความจริงใจ ไม่หลอก ลวง ข้อ 2 อักโกธธรรม คือ ความไม่โกรธ มีเมตตาประจำาใจไว้ระงับความขุ่น เคือง ข้อ 4 อวิโรธนธรรม ไม่คลาดจากธรรม หนักแน่นในธรรม ตอบ ข้อ 4 มรรค อธิบาย ทุกข์ เป็นตัวปัญหา จัดเป็นผล สมุทัยเป็นต้นตอแห่งปัญหา เป็น เหตุและผล คู่ที่ 1 นิโรธเป็น ภาวะที่ปัญหาหมดสิ้นไป จัดเป็นผล มรรค เป็นวิธีปฏิบัติให้เข้าถึงนิโรธ เป็นเป็นเหตุและผล คู่ที่ 2 ตอบ. การพัฒนาจิตใจ อธิบาย ตรงกับหลักธรรมที่เรียกว่า จิตตภาวนา ซึ่งหมายถึง การอบ รมใหแพรียบพร้อมด้วยคุณธรรมอันดีงาม เช่น ความเมตตากรุณา ความกตัญญู ขยันหมั่นเพียร ความอดทน ปล่อยวาง เหล่านี้เป็นต้น 1. ถ้าขาดการพัฒนากาย จะทำาให้ร่างกายอ่อนแอ เข้ากับ สิ่งแวดล้อมและคนในสังคมไม่ได้ 2. ถ้าขาดการพัฒนาศีล (ศีล) จะทำาให้เป็นคนก่อความเดือด ร้อนให้สังคมและประเทศชาติ 71 2. ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตจตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่า นั้น ถ้าธรรมเหล่าใดได้แก่นิพพาน คำาที่ขีตเส้นใต้จะหมายถึง สิ่งใด 1. ทุกข์ 2. สมุทัย 3.นิโรธ 3. ผู้ที่มีการศึกษาสูงส่วนใหญ่ไม่มีสัมมาคารวะ และความกตัญญู ตามหลักการศึกษาที่มุ่งพัฒนาตนให้งอกงามทั้ง 4 ด้าน แสดงว่า เขาขาดการพัฒนาด้านใด 1. การพัฒนากาย 2. การพัฒนาศีล 3. การ
  • 22. 3. ถ้าขาดการพัฒนาปัญญา จะทำาให้โง่ ไม่สามารถนำา ความรู้ไปแก้ปัญหาต่างๆได้ ตอบ ข้อ 2 อัปปมาทธรรม อธิบาย หมายถึงธรรมแห่งความไม่ประมาท มีสติรอบคอบดี พระพุทธเจ้าสรรเสริญว่าเป็นธรรมเอก หรือ “ ”ยอดของธรรม ข้ออื่นผิด เพราะ ข้อ 1 อปริหานิยธรรม หมายถึง ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม 3. อัปปมัญญาธรรม หมายถึง ธรรมที่แผ่ไปไม่มีประมาณ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา (พรหมวิหาร 4) 4. อภิญญาเทสิธรรม หมายถึง โพธิปักขิยธรรม 37 ประการ มีสติปัฏ ฐาน 4 เป็นต้น ตอบ ข้อ 2 พระอานนท์ อธิบาย เป็นผู้เลิศกว่าผู้อื่นในด้านเป็นพหูสูต (คงแก่เรียน) ผู้มีสติ ผู้มี คติ ผู้มีความเพียร และเป็นยอดพุทธอุปัฏฐาก กล่าวคือ พระอานนท์ผู้มี สติปัญญาดี ระลึกอะไรได้รวดเร็ว มีสติรอบคอบ ความทรงจำาเป็นเลิศ จดจำาพุทธพจน์ได้เป็นอันมาก คำาสอนที่เป็นพระสูตรเมื่อครั้งปฐม สังคายนา ล้วนเป็นผลแห่งความจำาของพระอานนท์ทั้งสิ้น ข้ออื่นๆผิดเพราะ ข้อ 1 พระสารีบุตรเป็นเลิศในด้านปัญญา คือ สามารถแสดงธรรมกัป ปวัตนสูตร และ อริยสัจ 4 ได้เท่าเทียมกับพระพุทธเจ้า ข้อ 3 พระอุบาลีเป็นเลิศในด้านผู้ทรงพระวินัย ข้อ 4 พระมหากัจจายนะเป็นเลิศในด้านผู้อธิบาย เนื้อความโดยย่อให้ พิสดาร 72 4. สัตว์บกที่มีรอยเท้าใหญ่ที่สุดคือ ช้าง หลักธรรมใดทางพระพุทธ ศาสนาเปรียบได้กับรอยเท้าช้าง 1. อปริหานิยธรรม 2. อัปปมาทธรรม3. อัปปมัญญาธรรม 5. เอตทัคคะในเรื่อง “เป็นผู้มีสติปัญญาดี จดจำาพระพุทธพจน์ได้เป็น ”อย่างดีทั้งหมด เป็นคุณสมบัติ พระสาวกรูปใด 1. พระสารีบุตร 2. พระอานนท์ 3. พระอุบาลี 6. พิธีถวายผ้าแด่พระสงฆ์ในฤดูออกพรรษา กำาหนดเวลาเพียง 1 เดือน ตั้งแต่แรม 1 คำ่า เดือน 11 ถึงวัน เพ็ญเดือน 12 เรียกว่าพิธีอะไร 1. พิธีถวายผ้าจำานำาพรรษา 2. พิธีถวายผ้าป่า สามัคคี
  • 23. ตอบ ข้อ 3 พิธีถวายผ้ากฐิน อธิบาย การทอดกฐิน เป็นกาลทาน คือ ถวายเฉพาะเวลา 1 เดือนหลัง ออกพรรษาเท่านั้น ข้ออื่นๆ ผิดเพราะ ข้อ 1 ผ้าจำานำาพรรษา นิยมถวายในช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา คือเริ่ม ตั้งแต่ แรม 1 คำ่า เดือน 8 ข้อ 2 ผ้าป่าสามัคคี ไม่กำาหนดเวลา ตามธรรมเนียมจะถวายหลัง เทศกาลกฐินออกไป ข้อ 4 ผ้าบังสุกุล คือ ผ้าที่พระสงฆ์ชักเอาผ้าซึ่งเขาทอดวางไว้ที่ศพ ที่ หีบศพ ตอบ ข้อ 4 เชื่อถือคำาเ ท็จนั้น อธิบาย เร่องการวินิจฉัยหลักการพูดเท็จมี 4 ประการ คือ (1) เป็นเรื่อง ไม่จริง (2) จงใจพูดให้ผิด (3) พยายามพูดคำานั้น (4) คนอื่นเข้าใจเนื้อ ความนั้น หากครบองค์ประกอบทั้ง 4 ข้อ เรียกว่าศีลขาด ข้ออื่นๆผิด เพราะ ข้อ 1 เรื่องไม่จริงมีมากมาย ” ”ยังไม่ถึงขั้น ศีลขาด ข้อ 2 คิดจะกล่าวแต่ยังไม่พูดออกไป ข้อ 4 กำาลังกล่าวคำาเท็จ หากเป็นการพูดเล่น ”ยังไม่ถึงขั้น ศีลขาด 73 7. การล่วงละเมิดศีล ข้อ มุสาวาทถึงลำาดับใด จึงจะถือว่า ถึงขั้น “ศีล ”ขาด 1. เป็นเรื่องที่ไม่จริง 2. มีจิตคิดจะกล่าวเท็จ3. กำาลังกล่าวคำาเท็จ 8. คำานมัสการที่ขีดเส้นใต้ “นะโม ตัสสะ ...อะระหะโต...สัมมาสัม ”พุทธัสะ นั้น แสดงถึงพระพุทธคุณในข้อใด 1. พระปัญญาคุณ 2. พระกรุณา คุณ 3. พระบริสุทธิคุณ 4. พระเมตตาคุณ
  • 24. ตอบ ข้อ 3 พระบริสุทธิคุณ คำาอธิบาย หมายถึงทรงเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้สิ้นกิเลส มีความบริสุทธิ์ ซึ่งตรงกับพุทธคุณด้าน พระบริสุทธิคุณ ข้อ 1 พระปัญญาคุณ ตรงกับคำาว่าสัมมาสัมพุทโธ ข้อ 2,4 พระกรุณาคุณ หรือ พระเมตตาคุณ ตรงกับคำาว่า ภควา ตอบ ข้อ 3 วันอาสาฬหบูชา อธิบาย วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 คำ่าเดือน 8 พระพุทธเจ้า ทรงแสดงปฐมเทศนา “ ”ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์ ณ ป่า อิสิปตนมฤคทายวัน กรุงพาราณสี แล้วทรงสอนข้อปฏิบัติ “มัชฌิมา ”ปฏิปทา หรือ มรรค 8 วันอื่นผิดเพราะ วันมาฆบูชา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 3 มีการแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ และเกิด เหตุจาตุรงคสันนิบาต วันวิสาขบูชา ขึ้น 15 คำ่า เดือน 6 เป็นวันประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า วันอัฏฐมีบูชา แรม 8 คำ่า เดือน 6 เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ตอบ ข้อ 2 เวทนาขันธ์ คือ ความรู้สึกเวทนาสงสาร อธิบาย เป็นการอธิบายขันธ์ 5 ผิด เนื่องจากเวทนา เป็นความรู้สึก สุข ทุกข์ เฉยๆ ไม่ใช่สงสาร 74 9. “มัชฌิมาปฏิปทา ”หรือทางสายกลาง เป็นหลักธรรมที่เกี่ยวเนื่อง วันสำาคัญอะไรของพุทธศาสนา 1. วันมาฆบูชา 2. วันวิสาขบูชา 3. วันอาสาฬหบูชา 4. วัน อัฏฐมีบูชา 10. ข้อใดอธิบายเรื่องขันธ์ ผิด 1. รูปขันธ์ คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย 2. เวทนาขันธ์ คือ ความรู้สึกเวทนาสงสาร 3. สังขารขันธ์ คือ ส่วนปรุงแต่งให้คิดดีคิดชั่ว 4. วิญญาณขันธ์ คือ ส่วนที่รับรู้สึก หรือส่วนที่รู้คิด