SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
MCDOWELL DIGITAL
MEDIA, INC.
DigitalAdvertising
Approach
Computer
Project
โดย
นาย ชิษณุพงศ์ วงษ์วิริยะ
นาย สิทธิกร โคทวี
ประเภทของโครงงาน
คอมพิวเตอร์
โครงงาน
คอมพิวเตอร์
หมายถึง กิจกรรมการเรียนทีนักเีรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปญหาทีตนเองสนใจ โดยจะต้อง
วางแผนการดําเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์
เครืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทีเกียวข้อง ตลอดจนทักษะพืนฐานในการพัฒนาโครงงาน เรืองที
นักเรียนสนใจและคิดจะทําโครงงาน ซึงอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเปนเรืองทีนักพัฒนาโปรแกรมได้
เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทําโครงงานเรืองดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลง
แนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิมเติมจากผลงานเดิมทีมีผู้
รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสําคัญของการทําโครงงานเปนการเปดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์
ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้
คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสือการเรียนรู้เพือการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์
ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพือฝกให้
นักเรียนเปนบุคคลทีใฝเรียนใฝรู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอือเฟอเผือแผ่
ให้กับเพือนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
เปนโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสือเพือการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วย
การเรียน ซึงอาจจะต้องมีภาคแบบฝกหัด บททบทวน และคําถามคําตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียน
แบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี ถือว่าเครืองคอมพิวเตอร์เปนอุปกรณ์
การสอน ไม่ใช่เปนครูผู้สอน ซึงอาจเปนการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วย
ตนเองก็ได้     โครงงานประเภทนีสามารถพัฒนาขึนเพือใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปน
สาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอืน ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจ
คัดเลือกหัวข้อทีนักเรียนทัวไปทีทําความเข้าใจยาก มาเปนหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน
ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
1.โครงงานพั ฒนาสือเพื อการศึกษา (EDUCATIONAL MEDIA)
เปนโครงงานเพือพัฒนาเครืองมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึงโดยส่วนใหญ่จะ
เปนในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครืองมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์
พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เปนต้น สําหรับซอฟต์แวร์เพือการพิมพ์
งานนันสร้างขึนเปนโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึงจะเปนเครืองมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์
ต่าง ๆ บนเครืองคอมพิวเตอร์เปนไปได้โดยง่าย ซึงรูปทีได้สามารถนําไปใช้งานต่าง ๆ ได้
มากมาย สําหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สําหรับช่วยในการออกแบบ
สิงของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
2.โครงงานพัฒนาเครืองมือ (Tools Development)
เปนโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจําลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เปนโครงงานทีผู้ทําต้องศึกษารวบรวมความรู้
หลักการ ข้อเท็จจรงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึงในเรองทีต้องการศึกษา แล้วเสนอเปนแนวคิด แบบจําลอง
หลักการ ซึงอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรอคําอธิบายก็ได้ พร้อมทังนําเสนอวธีการจําลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์
การทําโครงงานประเภทนีมีจุดสําคัญอยู่ทีผู้ทําต้องมีความรู้เรองนัน ๆ เปนอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรอง
การไหลของเหลว การทดลองเรองพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เปนต้น
3. โครงงานประเภทจําลองทฤษฎี (Theory Experiment)
เพิมหัวเรองย่อยเปนโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพือประยุกต์ใช้งานจรงในชีวตประจําวัน เช่น
ซอฟต์แวร์สําหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สําหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สําหรับการระบุคนร้าย
เปนต้น โครงงานงานประเภทนีจะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึงอาจจะสร้างใหม่
หรอปรับปรุงดัดแปลงของเดิมทีมีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึนก็ได้ โครงงานลักษณะนีจะต้องศึกษาและวเคราะห์
ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนําข้อมูลทีได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนัน ๆ ต่อจากนันต้องมีการ
ทดสอบการทํางานหรอทดสอบคุณภาพของสิงประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี
นักเรยนต้องใช้ความรู้เกียวกับเครองคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครองมือต่าง ๆ ทีเกียวข้อง รวมทังอาจใช้วธี
ทางวศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
เปนโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพือความรู้ และ/หรอ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก
เกมหมากฮอส เกมการคํานวณเลข ซึงเกมทีพัฒนาขึนนีน่าจะเน้นให้เปนเกมทีไม่รุนแรง เน้น
การใช้สมองเพือฝกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนีจะมีการออกแบบลักษณะและกฎ
เกณฑ์การเล่น เพือให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทังให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้
ทําการสํารวจและรวบรวมข้อมูลเกียวกับเกมต่าง ๆ ทีมีอยู่ทัวไปและนํามาปรับปรุงหรอพัฒนา
ขึนใหม่เพือให้ปนเกมทีแปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์เปนกิจกรรมทีต้องทําอย่างต่อเนืองหลายขันตอน และแต่ละขันตอนจะมีความสําคัญต่อความสําเร็จของโครงงานนันๆ
การคัดเลือกโครงงานทีสนใจจะทํา ควรเปนไปตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตัวผู้เรียนเอง
การสํารวจและการเลือกเรืองทีจะทําโครงงาน เปนขันตอนแรกของการทําโครงงาน ซึงเปนขันตอนทีสําคัญมาก
ขันตอนการทําโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตังชือโครงงานคอมพิวเตอร์ทีสนใจจะทํา)
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. การจัดทําข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
5. การจัดทํารายงาน
6. การนําเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตังชือโครงงานคอมพิวเตอร์ทีสนใจจะทํา)
ปญหาสําคัญในการทําโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึงคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทําโครงงานเรืองอะไร
โดยทัวไปเรืองทีจะนํามาพัฒนาเปนโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรืองทัวๆ ไป จากปญหา คําถาม
หรือความสนใจในเรืองต่างๆ จากการสังเกตสิงต่างๆ ทีเกียวเนืองกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิงต่างๆ รอบตัว
ขันตอนการทําโครงงาน
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึงรวมถึงการขอคําปรึกษาจากครูผู้เชียวชาญ ปราชญ์ภูมิปญญาท้องถิน จะช่วยให้ผู้เรียนได้
แนวคิดทีใช้ในการกําหนดขอบเขตของเรืองทีจะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิงขึน รวมทังได้ความรู้เพิมเติมในเรืองทีจะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและ
วางแผนดําเนินการทําโครงงานนันได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสําคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลทีสําคัญอีก
แหล่งหนึงคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจากเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึงอาจค้นหาได้จาก
เว็บไซต์ต่างๆ ทัวโลก จะช่วยเพิมพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนียังทําให้เกิดแนวคิดทีจะดัดแปลงผลงาน
ดังกล่าว มาจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อทีตนสนใจด้วย ตัวอย่างเว็บไซต์
3. การจัดทําข้อเสนอโครงงาน
โดยทัวไป การทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขันตอนทีสําคัญดังนี
3.1 กําหนดขอบเขตงาน
วเคราะห์ข้อมูลทีได้จากการทบทวนเอกสารวชาการ เพือนํามากําหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการ
วางแผนจัดทําโครงงาน
3.2 การออกแบบการพัฒนา
การออกแบบพัฒนา มีการกําหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที
ต้องใช้กําหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคทีใช้ในการพัฒนา พร้อมทังกําหนดตารางการปฏิบัติงาน
3.3 พัฒนาโครงงานขันต้น
การพัฒนาโครงงานขันต้น เปนการลงมือปฏิบัติเพือศึกษาความเปนไปได้เบืองต้น โดยอาจทําการพัฒนา
ส่วนย่อยๆ บางส่วนตามทีได้ออกแบบไว้โดยนําผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานทีออกแบบไว้ในครังแรกให้
เหมาะสมยิงขึน ขันตอนนีเปนทางเลือกสําหรับผู้เสนอโครงงานทีต้องการตรวจสอบความเปนไปได้ของโครงงานและหลักการ
3.4 จัดทําและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เขียนข้อเสนอโครงงานนําเสนอต่ออาจารย์ทีปรกษา เพืออาจารย์ทีปรกษาจะได้แนะนําในส่วนทียังบกพร่อง
อยู่อีกครัง ซึงจะทําให้การวางแผนและดําเนินการทําโครงงานเปนไปอย่างราบรน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
เมือข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ทีปรกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทําโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขันต่อไปจะเปนการ
ลงมือพัฒนาตามขันตอนทีวางแผนไว้ ดังนี
4.1 การเตรยมการ
ต้องเตรยมเครองคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอืนๆ ทีจะใช้ในการทดลอง พร้อมทังจัดเตรยมสถานทีสําหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และ
ควรเตรยมสมุดบันทึก หรอบันทึกเปนแฟมข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สําหรับบันทึกการทํากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทําโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอ
ย่างไร มีปญหาและแก้ไขได้หรอไม่ อย่างไร รวมทังข้อสังเกตต่างๆ ทีพบ
4.2 การลงมือพัฒนา
4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานทีวางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลียนแปลงหรอเพิมเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทําให้ผลงานดีขึน
4.2.2 จัดระบบการทํางานโดยทําส่วนทีเปนหลักสําคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทําส่วนทีเปนส่วนประกอบหรอส่วนเสรมเพือให้โครงงานมีความ
สมบูรณ์มากขึน และถ้ามีการแบ่งงานกันทํา ให้ทําความตกลงในการต่อเชือมชินงานทีชัดเจนด้วย
4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเปนระบบและครบถ้วน
4.2.4 คํานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการทํางาน
4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเปนความจําเปน เพือให้แน่ใจว่าผลงานทีพัฒนาขึนทํางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการทีระบุไว้ในเปาหมาย
และทําด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
เมือพัฒนาผลงานเรยบร้อยแล้ว ให้จัดทําสรุปด้วยข้อความทีสันกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพือช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิงทีค้นพบจากการทําโครงงาน
และทําการอภิปรายผลด้วย เพือพิจารณาข้อมูลและผลทีได้พร้อมกับนําไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรอผลงานทีผู้อืนได้ศึกษาไว้แล้ว ทังนียังรวมถึงการนํา
หลักการ ทฤษฎี หรอผลงานของผู้อืนมาใช้ประกอบ
การอภิปรายผลทีได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมือทําโครงงานเสร็จสินลงแล้ว ผู้เรยนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นทีสําคัญหรอปญหา ซึงสามารถเขียนเปนข้อเสนอแนะและสิงทีควรจะศึกษาหรอใช้
ประโยชน์ต่อไปได้
5. การจัดทํารายงาน
เมือทําโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและ
ทําการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขันตอนต่อไปทีต้องทําคือ
การจัดทํารายงาน ซึงจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา
และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เปนวิธีสือ
ความหมายทีมีประสิทธิภาพ เพือให้ผู้อืนได้เข้าใจแนวคิด วิธี
ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลทีได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อ
เสนอแนะต่างๆ
เกียวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนัน ผู้เรียนควรใช้ภาษาที
อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้
ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี
1. ส่วนนํา
ประกอบด้วย
1.1 ปกนอก
1.2 ใบรองปก
1.3 ปกใน
1.4 บทคัดย่อ
1.5 กิตติกรรมประกาศ
1.6 สารบัญ
1.7 คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ (ถ้ามี)
2. ส่วนเนือเรือง
ส่วนนีกําหนดให้ทําแบบเปนบท จํานวน 5 บท
ประกอบด้วย
2.1 บทที 1 บทนํา
2.2 บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง
2.3 บทที 3 อุปกรณ์และวิธีดําเนินการ
2.4 บทที 4 ผลการดําเนินงาน
2.5 บทที 5 สรุปผลการดําเนินงาน/อภิปรายผล
การดําเนินงาน
3. ส่วนอ้างอิง
เปนส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการ
อ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก
3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3.2 ภาคผนวก
3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี)
หากโครงงานทีผู้เรียนจัดทําเปนการพัฒนาระบบใหม่ขึนมา ให้ผู้
เรียนจัดทําคู่มืออธิบายวิธีการใช้งานผลงานนันโดยละเอียด ซึง
ประกอบด้วย
- ชือผลงาน
- ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียด
ของเครืองคอมพิวเตอร์ทีต้องมีเพือจะใช้ผลงานนันได้
- ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชือซอฟต์แวร์ที
ต้องมีอยู่ในเครืองคอมพิวเตอร์ เพือจะให้ผลงานนันทํางานได้
อย่างสมบูรณ์
- คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนันทําหน้าทีอะไรบ้าง
รับอะไรเปนข้อมูลเข้า และส่งอะไรออกมาเปนข้อมูลออก
- วิธีการใช้งานของแต่ละฟงก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคําสังใด
หรือกดปุมใด
- ข้อแนะนําในการใช้งาน เพือให้ผลงานนันสามารถทํางานได้ดี
ทีสุด
คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือ
ใส่ไว้เปนภาคผนวกของรายงานฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่
ดุลยพินิจของผู้จัดทํา ทีกล่าวมานีเปนรูปแบบหนึงของการเขียน
รายงานซึงเปนการเขียนรายงานในลักษณะทัวๆ ไป รูปแบบดัง
กล่าวนีอาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทังนีขึนอยู่
กับลักษณะของโครงงาน ซึงสิงทีสําคัญทีสุดที
ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้
ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคทีถูกต้อง ใช้ภาษาทีเข้าใจง่าย ตรงไปตรง
มา และครอบคลุมประเด็นสําคัญๆ ทังหมดของโครงงาน
6. การนําเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
การนําเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทําโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของ
ความคิด ความพยายามในการทํางานที่ผูทําโครงงานไดทุมเท และเป็นวิธีที่ทําใหผูอื่นไดรับรูและเขาใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงาน
อาจทําไดในหลายรูปแบบตางๆ กัน เชน การแสดงผลงานโดยไมมีการอธิบายประกอบ การรายงานดวยคําพูดในที่ประชุม การจัด
นิทรรศการโดยโปสเตอร และอธิบายดวยคําพูด โดยผลงานที่นํามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบดวยสิ่งตอไปนี้
1) ชื่อโครงงาน
2) ชื่อผูจัดทําโครงงาน
3) ชื่ออาจารยที่ปรึกษา
4) คําอธิบายถึงที่มาและความสําคัญของโครงงาน
5) วิธีการดําเนินการที่สําคัญ
6) การสาธิตผลงาน
7) ผลการสังเกตและขอสรุปสําคัญที่ไดจากการทําโครงงาน
ถาเป็นการรายงานดวยคําพูดตอที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นตอไปนี้
1) จัดลําดับความคิดในการนําเสนออยางเป็นระบบและนําเสนออยางตรงไปตรงมาดวยภาษาที่ชัดเจนและเขาใจงาย
2) ทําความเขาใจกับเรื่องที่จะอธิบายใหดี รวมถึงเตรียมขอมูลที่อาจตองใชในการตอบคําถาม
3) หลีกเลี่ยงการนําเสนอดวยวิธีอานรายงาน
4) ควรมองไปยังผูฟังขณะรายงาน
5) ตอบคําถามอยางตรงไปตรงมา
6) รายงานใหเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด
7) ควรใชโปรแกรมนําเสนอประกอบการรายงาน
8) ความเหมาะสมของเนื้อหาตอผูฟัง
9) ถาเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยูในสภาพที่ทํางานไดเป็นอยางดี
การแสดงผลงานในรูปแบบของนิทรรศการ
การทําโครงงานคอมพิวเตอร นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนไดนําความรูทางคอมพิวเตอรมาใชแกปัญหา
พัฒนาคิดคนผลิตภัณฑตางๆ แลว ยังเป็นกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนมีความสนใจที่จะทํางานวิจัยและประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร
มากยิ่งขึ้นดวย ซึ่งในปัจจุบันนี้หลายประเทศทั่วโลกขาดแคลนบุคลากรทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอยางมาก ดังนั้นจึงนาที่จะ
จัดใหการทําโครงงานคอมพิวเตอรเป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น เพื่อนําไปสูการพัฒนาประเทศตอไปในอนาคต

More Related Content

What's hot

Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)pangggggggggggggg
 
3 tp
3 tp3 tp
3 tpTHXB
 
Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28Mai Lovelove
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3Suppamas
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญLupin F'n
 
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์Alòne Home
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectSuppamas
 
กิจกรรมที่2 3
กิจกรรมที่2 3กิจกรรมที่2 3
กิจกรรมที่2 3Baiprik
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Aom Nachanok
 

What's hot (19)

Presentation 3 11,37 612
Presentation 3  11,37 612Presentation 3  11,37 612
Presentation 3 11,37 612
 
Polly pele
Polly pelePolly pele
Polly pele
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
 
3 tp
3 tp3 tp
3 tp
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
Kongngan
KongnganKongngan
Kongngan
 
Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28
 
Pro 23
Pro 23Pro 23
Pro 23
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
Project com 2
Project com 2Project com 2
Project com 2
 
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation607.45
Presentation607.45Presentation607.45
Presentation607.45
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
กิจกรรมที่2 3
กิจกรรมที่2 3กิจกรรมที่2 3
กิจกรรมที่2 3
 
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Computer project

กิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentationกิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentationatipa49855
 
กิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentationกิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentationatipa49855
 
Computer project 24
Computer project   24Computer project   24
Computer project 24ssuser5a0579
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4Popeye Kotchakorn
 
Presation2
Presation2Presation2
Presation2aomzone
 
Computer project fm
Computer project fmComputer project fm
Computer project fmfahjirachaya
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2Chomps13
 
การทำโครงงานต้องทำอย่างไร
การทำโครงงานต้องทำอย่างไรการทำโครงงานต้องทำอย่างไร
การทำโครงงานต้องทำอย่างไรwarayut promrat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pear Towichai
 
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Neys Swift
 
Computer project
Computer  projectComputer  project
Computer projectGiftzii
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Wisaruta
 
ชินกฤต วากย์เงินตรา
ชินกฤต วากย์เงินตราชินกฤต วากย์เงินตรา
ชินกฤต วากย์เงินตราkeawalin
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2
โครงงานคอมพ วเตอร  2โครงงานคอมพ วเตอร  2
โครงงานคอมพ วเตอร 2Wannwipha Kanjan
 

Similar to Computer project (20)

กิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentationกิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentation
 
กิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentationกิจกรรมที่ 3 presentation
กิจกรรมที่ 3 presentation
 
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project 24
Computer project   24Computer project   24
Computer project 24
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
Presation2
Presation2Presation2
Presation2
 
computer project
computer projectcomputer project
computer project
 
Computer project fm
Computer project fmComputer project fm
Computer project fm
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
การทำโครงงานต้องทำอย่างไร
การทำโครงงานต้องทำอย่างไรการทำโครงงานต้องทำอย่างไร
การทำโครงงานต้องทำอย่างไร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project
Computer  projectComputer  project
Computer project
 
Work 22
Work 22Work 22
Work 22
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ชินกฤต วากย์เงินตรา
ชินกฤต วากย์เงินตราชินกฤต วากย์เงินตรา
ชินกฤต วากย์เงินตรา
 
Project
ProjectProject
Project
 
Fometarn
FometarnFometarn
Fometarn
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2
โครงงานคอมพ วเตอร  2โครงงานคอมพ วเตอร  2
โครงงานคอมพ วเตอร 2
 

Computer project

  • 4. โครงงาน คอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนทีนักเีรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปญหาทีตนเองสนใจ โดยจะต้อง วางแผนการดําเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทีเกียวข้อง ตลอดจนทักษะพืนฐานในการพัฒนาโครงงาน เรืองที นักเรียนสนใจและคิดจะทําโครงงาน ซึงอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเปนเรืองทีนักพัฒนาโปรแกรมได้ เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทําโครงงานเรืองดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลง แนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิมเติมจากผลงานเดิมทีมีผู้ รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสําคัญของการทําโครงงานเปนการเปดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้ คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสือการเรียนรู้เพือการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพือฝกให้ นักเรียนเปนบุคคลทีใฝเรียนใฝรู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอือเฟอเผือแผ่ ให้กับเพือนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 5. เปนโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสือเพือการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วย การเรียน ซึงอาจจะต้องมีภาคแบบฝกหัด บททบทวน และคําถามคําตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียน แบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี ถือว่าเครืองคอมพิวเตอร์เปนอุปกรณ์ การสอน ไม่ใช่เปนครูผู้สอน ซึงอาจเปนการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วย ตนเองก็ได้     โครงงานประเภทนีสามารถพัฒนาขึนเพือใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเปน สาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอืน ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจ คัดเลือกหัวข้อทีนักเรียนทัวไปทีทําความเข้าใจยาก มาเปนหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ 1.โครงงานพั ฒนาสือเพื อการศึกษา (EDUCATIONAL MEDIA)
  • 6. เปนโครงงานเพือพัฒนาเครืองมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึงโดยส่วนใหญ่จะ เปนในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครืองมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์ พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เปนต้น สําหรับซอฟต์แวร์เพือการพิมพ์ งานนันสร้างขึนเปนโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึงจะเปนเครืองมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ ต่าง ๆ บนเครืองคอมพิวเตอร์เปนไปได้โดยง่าย ซึงรูปทีได้สามารถนําไปใช้งานต่าง ๆ ได้ มากมาย สําหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สําหรับช่วยในการออกแบบ สิงของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D 2.โครงงานพัฒนาเครืองมือ (Tools Development)
  • 7. เปนโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจําลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เปนโครงงานทีผู้ทําต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจรงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึงในเรองทีต้องการศึกษา แล้วเสนอเปนแนวคิด แบบจําลอง หลักการ ซึงอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรอคําอธิบายก็ได้ พร้อมทังนําเสนอวธีการจําลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทําโครงงานประเภทนีมีจุดสําคัญอยู่ทีผู้ทําต้องมีความรู้เรองนัน ๆ เปนอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรอง การไหลของเหลว การทดลองเรองพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เปนต้น 3. โครงงานประเภทจําลองทฤษฎี (Theory Experiment)
  • 8. เพิมหัวเรองย่อยเปนโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพือประยุกต์ใช้งานจรงในชีวตประจําวัน เช่น ซอฟต์แวร์สําหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สําหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สําหรับการระบุคนร้าย เปนต้น โครงงานงานประเภทนีจะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึงอาจจะสร้างใหม่ หรอปรับปรุงดัดแปลงของเดิมทีมีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึนก็ได้ โครงงานลักษณะนีจะต้องศึกษาและวเคราะห์ ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนําข้อมูลทีได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนัน ๆ ต่อจากนันต้องมีการ ทดสอบการทํางานหรอทดสอบคุณภาพของสิงประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี นักเรยนต้องใช้ความรู้เกียวกับเครองคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครองมือต่าง ๆ ทีเกียวข้อง รวมทังอาจใช้วธี ทางวศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application)
  • 9. 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เปนโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพือความรู้ และ/หรอ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการคํานวณเลข ซึงเกมทีพัฒนาขึนนีน่าจะเน้นให้เปนเกมทีไม่รุนแรง เน้น การใช้สมองเพือฝกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนีจะมีการออกแบบลักษณะและกฎ เกณฑ์การเล่น เพือให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทังให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ ทําการสํารวจและรวบรวมข้อมูลเกียวกับเกมต่าง ๆ ทีมีอยู่ทัวไปและนํามาปรับปรุงหรอพัฒนา ขึนใหม่เพือให้ปนเกมทีแปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 10. โครงงานคอมพิวเตอร์เปนกิจกรรมทีต้องทําอย่างต่อเนืองหลายขันตอน และแต่ละขันตอนจะมีความสําคัญต่อความสําเร็จของโครงงานนันๆ การคัดเลือกโครงงานทีสนใจจะทํา ควรเปนไปตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตัวผู้เรียนเอง การสํารวจและการเลือกเรืองทีจะทําโครงงาน เปนขันตอนแรกของการทําโครงงาน ซึงเปนขันตอนทีสําคัญมาก ขันตอนการทําโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตังชือโครงงานคอมพิวเตอร์ทีสนใจจะทํา) 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. การจัดทําข้อเสนอโครงงาน 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน 5. การจัดทํารายงาน 6. การนําเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตังชือโครงงานคอมพิวเตอร์ทีสนใจจะทํา) ปญหาสําคัญในการทําโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึงคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทําโครงงานเรืองอะไร โดยทัวไปเรืองทีจะนํามาพัฒนาเปนโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรืองทัวๆ ไป จากปญหา คําถาม หรือความสนใจในเรืองต่างๆ จากการสังเกตสิงต่างๆ ทีเกียวเนืองกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิงต่างๆ รอบตัว ขันตอนการทําโครงงาน
  • 11. 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึงรวมถึงการขอคําปรึกษาจากครูผู้เชียวชาญ ปราชญ์ภูมิปญญาท้องถิน จะช่วยให้ผู้เรียนได้ แนวคิดทีใช้ในการกําหนดขอบเขตของเรืองทีจะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิงขึน รวมทังได้ความรู้เพิมเติมในเรืองทีจะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและ วางแผนดําเนินการทําโครงงานนันได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสําคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลทีสําคัญอีก แหล่งหนึงคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจากเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึงอาจค้นหาได้จาก เว็บไซต์ต่างๆ ทัวโลก จะช่วยเพิมพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนียังทําให้เกิดแนวคิดทีจะดัดแปลงผลงาน ดังกล่าว มาจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อทีตนสนใจด้วย ตัวอย่างเว็บไซต์
  • 12. 3. การจัดทําข้อเสนอโครงงาน โดยทัวไป การทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขันตอนทีสําคัญดังนี 3.1 กําหนดขอบเขตงาน วเคราะห์ข้อมูลทีได้จากการทบทวนเอกสารวชาการ เพือนํามากําหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการ วางแผนจัดทําโครงงาน 3.2 การออกแบบการพัฒนา การออกแบบพัฒนา มีการกําหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที ต้องใช้กําหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคทีใช้ในการพัฒนา พร้อมทังกําหนดตารางการปฏิบัติงาน 3.3 พัฒนาโครงงานขันต้น การพัฒนาโครงงานขันต้น เปนการลงมือปฏิบัติเพือศึกษาความเปนไปได้เบืองต้น โดยอาจทําการพัฒนา ส่วนย่อยๆ บางส่วนตามทีได้ออกแบบไว้โดยนําผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานทีออกแบบไว้ในครังแรกให้ เหมาะสมยิงขึน ขันตอนนีเปนทางเลือกสําหรับผู้เสนอโครงงานทีต้องการตรวจสอบความเปนไปได้ของโครงงานและหลักการ 3.4 จัดทําและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ เขียนข้อเสนอโครงงานนําเสนอต่ออาจารย์ทีปรกษา เพืออาจารย์ทีปรกษาจะได้แนะนําในส่วนทียังบกพร่อง อยู่อีกครัง ซึงจะทําให้การวางแผนและดําเนินการทําโครงงานเปนไปอย่างราบรน
  • 13. 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน เมือข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ทีปรกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทําโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขันต่อไปจะเปนการ ลงมือพัฒนาตามขันตอนทีวางแผนไว้ ดังนี 4.1 การเตรยมการ ต้องเตรยมเครองคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอืนๆ ทีจะใช้ในการทดลอง พร้อมทังจัดเตรยมสถานทีสําหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และ ควรเตรยมสมุดบันทึก หรอบันทึกเปนแฟมข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สําหรับบันทึกการทํากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทําโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอ ย่างไร มีปญหาและแก้ไขได้หรอไม่ อย่างไร รวมทังข้อสังเกตต่างๆ ทีพบ 4.2 การลงมือพัฒนา 4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานทีวางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลียนแปลงหรอเพิมเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทําให้ผลงานดีขึน 4.2.2 จัดระบบการทํางานโดยทําส่วนทีเปนหลักสําคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทําส่วนทีเปนส่วนประกอบหรอส่วนเสรมเพือให้โครงงานมีความ สมบูรณ์มากขึน และถ้ามีการแบ่งงานกันทํา ให้ทําความตกลงในการต่อเชือมชินงานทีชัดเจนด้วย 4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเปนระบบและครบถ้วน 4.2.4 คํานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการทํางาน 4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเปนความจําเปน เพือให้แน่ใจว่าผลงานทีพัฒนาขึนทํางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการทีระบุไว้ในเปาหมาย และทําด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ เมือพัฒนาผลงานเรยบร้อยแล้ว ให้จัดทําสรุปด้วยข้อความทีสันกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพือช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิงทีค้นพบจากการทําโครงงาน และทําการอภิปรายผลด้วย เพือพิจารณาข้อมูลและผลทีได้พร้อมกับนําไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรอผลงานทีผู้อืนได้ศึกษาไว้แล้ว ทังนียังรวมถึงการนํา หลักการ ทฤษฎี หรอผลงานของผู้อืนมาใช้ประกอบ การอภิปรายผลทีได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมือทําโครงงานเสร็จสินลงแล้ว ผู้เรยนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นทีสําคัญหรอปญหา ซึงสามารถเขียนเปนข้อเสนอแนะและสิงทีควรจะศึกษาหรอใช้ ประโยชน์ต่อไปได้
  • 14. 5. การจัดทํารายงาน เมือทําโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและ ทําการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขันตอนต่อไปทีต้องทําคือ การจัดทํารายงาน ซึงจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เปนวิธีสือ ความหมายทีมีประสิทธิภาพ เพือให้ผู้อืนได้เข้าใจแนวคิด วิธี ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลทีได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อ เสนอแนะต่างๆ เกียวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนัน ผู้เรียนควรใช้ภาษาที อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี 1. ส่วนนํา ประกอบด้วย 1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก 1.3 ปกใน 1.4 บทคัดย่อ 1.5 กิตติกรรมประกาศ 1.6 สารบัญ 1.7 คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ (ถ้ามี) 2. ส่วนเนือเรือง ส่วนนีกําหนดให้ทําแบบเปนบท จํานวน 5 บท ประกอบด้วย 2.1 บทที 1 บทนํา 2.2 บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง 2.3 บทที 3 อุปกรณ์และวิธีดําเนินการ 2.4 บทที 4 ผลการดําเนินงาน 2.5 บทที 5 สรุปผลการดําเนินงาน/อภิปรายผล การดําเนินงาน 3. ส่วนอ้างอิง เปนส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการ อ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก 3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม 3.2 ภาคผนวก 3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี) หากโครงงานทีผู้เรียนจัดทําเปนการพัฒนาระบบใหม่ขึนมา ให้ผู้ เรียนจัดทําคู่มืออธิบายวิธีการใช้งานผลงานนันโดยละเอียด ซึง ประกอบด้วย - ชือผลงาน - ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียด ของเครืองคอมพิวเตอร์ทีต้องมีเพือจะใช้ผลงานนันได้ - ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชือซอฟต์แวร์ที ต้องมีอยู่ในเครืองคอมพิวเตอร์ เพือจะให้ผลงานนันทํางานได้ อย่างสมบูรณ์ - คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนันทําหน้าทีอะไรบ้าง รับอะไรเปนข้อมูลเข้า และส่งอะไรออกมาเปนข้อมูลออก - วิธีการใช้งานของแต่ละฟงก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคําสังใด หรือกดปุมใด - ข้อแนะนําในการใช้งาน เพือให้ผลงานนันสามารถทํางานได้ดี ทีสุด คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือ ใส่ไว้เปนภาคผนวกของรายงานฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ ดุลยพินิจของผู้จัดทํา ทีกล่าวมานีเปนรูปแบบหนึงของการเขียน รายงานซึงเปนการเขียนรายงานในลักษณะทัวๆ ไป รูปแบบดัง กล่าวนีอาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทังนีขึนอยู่ กับลักษณะของโครงงาน ซึงสิงทีสําคัญทีสุดที ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคทีถูกต้อง ใช้ภาษาทีเข้าใจง่าย ตรงไปตรง มา และครอบคลุมประเด็นสําคัญๆ ทังหมดของโครงงาน
  • 15. 6. การนําเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน การนําเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทําโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของ ความคิด ความพยายามในการทํางานที่ผูทําโครงงานไดทุมเท และเป็นวิธีที่ทําใหผูอื่นไดรับรูและเขาใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงาน อาจทําไดในหลายรูปแบบตางๆ กัน เชน การแสดงผลงานโดยไมมีการอธิบายประกอบ การรายงานดวยคําพูดในที่ประชุม การจัด นิทรรศการโดยโปสเตอร และอธิบายดวยคําพูด โดยผลงานที่นํามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบดวยสิ่งตอไปนี้ 1) ชื่อโครงงาน 2) ชื่อผูจัดทําโครงงาน 3) ชื่ออาจารยที่ปรึกษา 4) คําอธิบายถึงที่มาและความสําคัญของโครงงาน 5) วิธีการดําเนินการที่สําคัญ 6) การสาธิตผลงาน 7) ผลการสังเกตและขอสรุปสําคัญที่ไดจากการทําโครงงาน ถาเป็นการรายงานดวยคําพูดตอที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นตอไปนี้ 1) จัดลําดับความคิดในการนําเสนออยางเป็นระบบและนําเสนออยางตรงไปตรงมาดวยภาษาที่ชัดเจนและเขาใจงาย 2) ทําความเขาใจกับเรื่องที่จะอธิบายใหดี รวมถึงเตรียมขอมูลที่อาจตองใชในการตอบคําถาม 3) หลีกเลี่ยงการนําเสนอดวยวิธีอานรายงาน 4) ควรมองไปยังผูฟังขณะรายงาน 5) ตอบคําถามอยางตรงไปตรงมา 6) รายงานใหเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด 7) ควรใชโปรแกรมนําเสนอประกอบการรายงาน 8) ความเหมาะสมของเนื้อหาตอผูฟัง 9) ถาเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยูในสภาพที่ทํางานไดเป็นอยางดี การแสดงผลงานในรูปแบบของนิทรรศการ การทําโครงงานคอมพิวเตอร นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนไดนําความรูทางคอมพิวเตอรมาใชแกปัญหา พัฒนาคิดคนผลิตภัณฑตางๆ แลว ยังเป็นกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนมีความสนใจที่จะทํางานวิจัยและประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร มากยิ่งขึ้นดวย ซึ่งในปัจจุบันนี้หลายประเทศทั่วโลกขาดแคลนบุคลากรทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอยางมาก ดังนั้นจึงนาที่จะ จัดใหการทําโครงงานคอมพิวเตอรเป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น เพื่อนําไปสูการพัฒนาประเทศตอไปในอนาคต