SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
Computer Project
ผู้จัดทา
นายปราวี พึ่งประดิษฐ์
เลขที่ 13 ม.6/12
นายศุภชัย บุญสุขประสิทธิ์
เลขที่ 28 ม.6/12
โครงงานคอมพิวเตอร์
o โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตน
สนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุ
อุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทา
โครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและ
พัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางใน
การศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มี
ผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหา
ความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนา
เกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ
ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมี
ความสุข
ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
o 1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
(Educational Media)
o 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
(Tools Development)
o 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory
Experiment)
o 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
(Application)
o 5. โครงงานพัฒนาเกม
(Game Development)
1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้าง
โปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บท
ทบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคล
หรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์
เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียน
แบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชา
ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์
วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียน
ทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน
ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรม
แบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
1. สารานุกรมไทยฉบับมัลติมีเดีย
2. สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
3. พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย
4. โปรแกรมช่วยสอนการถ่ายภาพ
5. 76 จังหวัดของไทย
6. สูตรขนมไทยอร่อยทั่วโลก
7. คอมพิวเตอร์สอนพิมพ์ดีด
8. ยาไทยและยาจีน
9. โปรแกรมช่วยสอนการทางานของ
ทรานซิสเตอร์
2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่ง
โดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น
ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุม
ต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็น
โปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์
ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถ
นาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุใน
มุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรม
ประเภท 3D
ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
1. โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย
2. โปรแกรมอ่านอักษรไทย
3. โปรแกรมวาดภาพสามมิติ
4. โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล
5. โปรแกรมบีบอัดข้อมูล
6. โปรแกรมประมวลผลคาไทยบน
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
7. โปรแกรมการออกแบบผังงาน
8. พอร์ตแบบขนานของไทย
9. การส่งสัญญาณควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของ
สาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้
หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งใน
เรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง
หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้
พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การ
ทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่อง
นั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล
ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า
ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
ตัวอย่าง โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
1. การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเลี้ยงปลานิลด้วยคอมพิวเตอร์
2. การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วย
คอมพิวเตอร์
3. การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา
4. การทดลองผสมสารเคมีต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์
5. ปัจจัยต่างๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน
6. ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน
7. การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูล
8. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดเบื้องต้น
9. โปรแกรมจาลองการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง
ในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร
ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น
โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ
อุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่
มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา
และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ
ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการ
ทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ
สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง
อาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
ตัวอย่าง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application)
1. ระบบบริหารจัดกาข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน
2. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล
3. ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต
4. ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง
5. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบน
รถประจาทาง
6. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ
7. โฮมเพจส่วนบุคคล
8. โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น
9. โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ
ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการ
คานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่
รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงาน
ประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น
เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย
ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม
ต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้
เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
1. เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี
2. เกมอักษรเขาวงกต
3. เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
4. เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ
5. เกมหมากฮอส
6. เกมบวกลบเลขแสนสนุก
7. เกมศึกรามเกียรติ์
8. เกมมวยไทย
9. เกมอักษรไขว้
ขั้นตอนของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
o โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้อง
ทาอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่
ล ะ ขั้ น ต อ น จ ะ มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ
ความสาเร็จของโครงงานนั้นๆ การ
คัดเลือกโครงงานที่สนใจจะทา ควร
เป็นไปตามความสามารถ ความถนัด
ความสนใจ และความต้องการของตัว
ผู้เรียนเอง การสารวจและการเลือกเรื่อง
ที่จะทาโครงงาน เป็นขั้นตอนแรกของ
การทาโครงงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญ
มาก
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและ
แหล่งข้อมูล
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
5. การจัดทารายงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของ
โครงงาน
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะ
ทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์
มักจะได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จาก
การสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว
อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้
- เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน
- ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
- สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
- มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึง
ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ให้คาปรึกษา
- มีเวลาเพียงพอ
- มีงบประมาณเพียงพอ
- มีความปลอดภัย
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ
คาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้
ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้
เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา
จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่าง
เหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุป
สาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งคือ การศึกษา
ผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจาก
เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์
ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้
เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลง
ผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
3.1 กำหนดขอบเขตงำน
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามากาหนด
ขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทาโครงงาน
3.2 กำรออกแบบกำรพัฒนำ
การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์
ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้
ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน
3.3 พัฒนำโครงงำนขั้นต้น
การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไป
ได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผล
จากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสม
ยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไป
ได้ของโครงงานและหลักการ
3.4 จัดทำและเสนอข้อเสนอโครงงำนคอมพิวเตอร์
เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่
ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีกครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและ
ดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
4.1 กำรเตรียมกำร
ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะ
ใช้ในการทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อม
ด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่
ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้ง
ข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 กำรลงมือพัฒนำ
4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจ
เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น
4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้ว
เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมี
ความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงในการ
ต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึก
ข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลา
ในการทางาน
4.3 กำรตรวจสอบผลงำนและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความ
จาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับ
ความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูง
ด้วย
4.4 กำรอภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วย
ข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจ
ถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย
เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับ
หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึง
การนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ
การอภิปรายผลที่ได้ด้วย
4.5 แนวทำงกำรพัฒนำโครงงำนในอนำคตและ
ข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบ
ข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็น
ข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การจัดทารายงาน
เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และ
สรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึง
รายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงาน
คอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้
เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุป
และข้อเสนอแนะต่างๆ
เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่าน
และเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุม
หัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ส่วนนา
2. ส่วนเนื้อเรื่อง
3. ส่วนอ้างอิง
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีก
ขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของ
ความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท
และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอ
ผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผล
งานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่
ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด
โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดง
แหล่งอ้างอิง
http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/Comput
erProject/content1.html
http://ortocus0138yrc.blogspot.com/2015/08/blog-
post_26.html

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
buntitaoopifif
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Yamroll Yam
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
Kansiri Sai-ud
 
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-ddddกิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
Korakrit Jindadang
 

What's hot (19)

กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Com.3
Com.3Com.3
Com.3
 
กิจกรรม234
กิจกรรม234กิจกรรม234
กิจกรรม234
 
Bar and two ON Tour
Bar and two ON TourBar and two ON Tour
Bar and two ON Tour
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
Pro 23
Pro 23Pro 23
Pro 23
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
Www
WwwWww
Www
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-ddddกิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation607.45
Presentation607.45Presentation607.45
Presentation607.45
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 3 tp

ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
Chanya Sangsuwanlert
 
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
Muk Krailop
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะโครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะ
singto momepoko
 
โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2
โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2
โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2
singto momepoko
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
Justice MengKing
 
computer project
computer projectcomputer project
computer project
Tangkwa Zar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Tangkwa Zar
 

Similar to 3 tp (20)

ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Comchap
ComchapComchap
Comchap
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมงานคู่
งานคอมงานคู่งานคอมงานคู่
งานคอมงานคู่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Im gay
Im gayIm gay
Im gay
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะโครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ะะะะะะะ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2
โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2
โครงงานคอมพิวเตอร์Tung2
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
computer project
computer projectcomputer project
computer project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from THXB (8)

Finalproject (1)
Finalproject (1)Finalproject (1)
Finalproject (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Final612 0941
Final612 0941Final612 0941
Final612 0941
 
2562 final-project 612-09
2562 final-project 612-092562 final-project 612-09
2562 final-project 612-09
 
Com final612 0941
Com final612 0941Com final612 0941
Com final612 0941
 
2562 final-project 612-09
2562 final-project 612-092562 final-project 612-09
2562 final-project 612-09
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2 612 09_41
Work2 612 09_41Work2 612 09_41
Work2 612 09_41
 

3 tp

  • 2. ผู้จัดทา นายปราวี พึ่งประดิษฐ์ เลขที่ 13 ม.6/12 นายศุภชัย บุญสุขประสิทธิ์ เลขที่ 28 ม.6/12
  • 3. โครงงานคอมพิวเตอร์ o โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตน สนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุ อุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทา โครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและ พัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางใน การศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มี ผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหา ความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนา เกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมี ความสุข
  • 4. ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ o 1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) o 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) o 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) o 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) o 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 5. 1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้าง โปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บท ทบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคล หรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียน แบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชา ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียน ทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรม แบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 6. ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 1. สารานุกรมไทยฉบับมัลติมีเดีย 2. สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล 3. พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย 4. โปรแกรมช่วยสอนการถ่ายภาพ 5. 76 จังหวัดของไทย 6. สูตรขนมไทยอร่อยทั่วโลก 7. คอมพิวเตอร์สอนพิมพ์ดีด 8. ยาไทยและยาจีน 9. โปรแกรมช่วยสอนการทางานของ ทรานซิสเตอร์
  • 7. 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่ง โดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุม ต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็น โปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถ นาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุใน มุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรม ประเภท 3D
  • 8. ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 1. โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย 2. โปรแกรมอ่านอักษรไทย 3. โปรแกรมวาดภาพสามมิติ 4. โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล 5. โปรแกรมบีบอัดข้อมูล 6. โปรแกรมประมวลผลคาไทยบน ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ 7. โปรแกรมการออกแบบผังงาน 8. พอร์ตแบบขนานของไทย 9. การส่งสัญญาณควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
  • 9. 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของ สาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งใน เรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การ ทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่อง นั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
  • 10. ตัวอย่าง โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) 1. การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเลี้ยงปลานิลด้วยคอมพิวเตอร์ 2. การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วย คอมพิวเตอร์ 3. การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา 4. การทดลองผสมสารเคมีต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ 5. ปัจจัยต่างๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน 6. ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน 7. การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูล 8. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดเบื้องต้น 9. โปรแกรมจาลองการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
  • 11. 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง ในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ อุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่ มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการ ทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
  • 12. ตัวอย่าง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application) 1. ระบบบริหารจัดกาข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน 2. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล 3. ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต 4. ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง 5. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบน รถประจาทาง 6. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ 7. โฮมเพจส่วนบุคคล 8. โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น 9. โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ
  • 13. 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการ คานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่ รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงาน ประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม ต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 14. ตัวอย่าง โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) 1. เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี 2. เกมอักษรเขาวงกต 3. เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4. เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ 5. เกมหมากฮอส 6. เกมบวกลบเลขแสนสนุก 7. เกมศึกรามเกียรติ์ 8. เกมมวยไทย 9. เกมอักษรไขว้
  • 15. ขั้นตอนของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ o โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้อง ทาอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่ ล ะ ขั้ น ต อ น จ ะ มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ความสาเร็จของโครงงานนั้นๆ การ คัดเลือกโครงงานที่สนใจจะทา ควร เป็นไปตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตัว ผู้เรียนเอง การสารวจและการเลือกเรื่อง ที่จะทาโครงงาน เป็นขั้นตอนแรกของ การทาโครงงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญ มาก ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและ แหล่งข้อมูล 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน 5. การจัดทารายงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของ โครงงาน
  • 16. 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะ ทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จาก การสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้ - เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน - ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา - สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้ - มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึง ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ให้คาปรึกษา - มีเวลาเพียงพอ - มีงบประมาณเพียงพอ - มีความปลอดภัย
  • 17. 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอ คาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้ เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่าง เหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุป สาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งคือ การศึกษา ผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจาก เอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลง ผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย
  • 18. 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน 3.1 กำหนดขอบเขตงำน วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามากาหนด ขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทาโครงงาน 3.2 กำรออกแบบกำรพัฒนำ การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน 3.3 พัฒนำโครงงำนขั้นต้น การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไป ได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผล จากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสม ยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไป ได้ของโครงงานและหลักการ 3.4 จัดทำและเสนอข้อเสนอโครงงำนคอมพิวเตอร์ เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีกครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและ ดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
  • 19. 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน 4.1 กำรเตรียมกำร ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะ ใช้ในการทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อม ด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้ง ข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 กำรลงมือพัฒนำ 4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจ เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น 4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้ว เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมี ความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงในการ ต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึก ข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลา ในการทางาน 4.3 กำรตรวจสอบผลงำนและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความ จาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับ ความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูง ด้วย 4.4 กำรอภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วย ข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจ ถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับ หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึง การนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ การอภิปรายผลที่ได้ด้วย 4.5 แนวทำงกำรพัฒนำโครงงำนในอนำคตและ ข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบ ข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็น ข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 20. 5. การจัดทารายงาน เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และ สรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึง รายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงาน คอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้ เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุป และข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่าน และเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุม หัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ส่วนนา 2. ส่วนเนื้อเรื่อง 3. ส่วนอ้างอิง
  • 21. 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีก ขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลของ ความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอ ผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผล งานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดง