SlideShare a Scribd company logo
สร้าง CINEMAGRAPH ด้วย
โปรแกรม PHOTOSHOP
Cinemagraph หลักสูตรที่ผู้อบรมจะได้เรียนรู้
เทคนิคการเปลี่ยนภาพนิ่งให้เป็นภาพเคลื่อนไหว
เป็นการผสานกันระหว่างภาพถ่ายและวิดีโอ ช่วย
สร้างมิติใหม่เพิ่มความมีชีวิตเข้าไปในภาพได้
โดยง่ายด้วยโปรแกรมสุดฮิตที่ช่วยในการสร้างงาน
อย่าง Photoshop
CINEMAGRAPH เครื่องมือสร้าง
ชีวิตชีวาให้ CONTENT MARKETING
https://www.brandbuffet.in.th/2
016/01/why-brands-should-
embrace-cinemagraphs-for-
storytelling/
CINEMAGRAPH อีกหนึ่งวิธีใช้ภาพเล่าเรื่อง
คาว่า Cinemagraph มาจากการรวมคาของ Cinema (ภาพยนต์
หรือวิดีโอ) และ Photograph (ภาพนิ่งหรือภาพถ่าย) กลายมาเป็น
ภาพถ่ายมหัศจรรย์ที่มีบางส่วนของภาพขยับได้ การผสานกันอย่างลงตัวของ
ภาพนิ่งและองค์ประกอบที่เคลื่อนไหว กลายเป็นความงดงามในการถ่ายทอด
เรื่องราวในภาพได้อย่างล้าลึกและดึงดูดความสนใจจากคนดูได้เป็นอย่างดี
สามารถดูตัวอย่างงาน Cinemagraph เจ๋งๆ ได้ใน
Hashtag #Cinemagraph ใน Instagram
จริงๆแล้ว CINEMAGRAPH มีความ
คล้ายคลึงกับภาพ .GIF อยู่พอสมควร
แต่มีความเป็นศิลปะมากกว่า
เมื่อถูกจัดวางอย่างดีจะสามารถ
สร้างความประทับใจและมี
Impact มากกว่าภาพถ่ายหรือ
คลิปวิดิโอทั่วไป สร้างการจดจา
ให้กับแบรนด์ได้เป็นอย่างดี
4 วิธีในการนา CINEMAGRAPH มาใช้
1. ทาให้สั้น งดงาม ละเต็มไปด้วยความหมาย Cinemagraph จะมีพลังที่สุดถ้ามันถูกทาให้ง่าย สั้น
และจับโมเมนท์ที่ฉลาดที่สุด ลูปสั้นๆนั้นต้องสามารถบอกเรื่องราวผ่านการพริ้วไหวของเสื้ อผ้า สายลมที่พัด
ผ่านเพียงชั่วครู่ หรือไวนืที่กาลังถูกรินให้เพื่อนในวันสาคัญ สามารถแสดงออกถึงความหมายมากมายที่เกิดขึ้น
ในชั่วขณะหนึ่ง
2. Cinemagraph มีความหมายมากกว่า 1,000 คา Cinemagraph มีพลังในการถ่ายทอด
ช่วงเวลาที่มีค่า จนทาให้คนดูสามารถมีความรู้สึกร่วมว่าเขากาลังนั่งอยู่ในสถานการณ์นั้นๆ
3. ผลลัพธ์ที่สวยงาม Cinemagraph เป็นทางเลือกที่ดีในการเพิ่มความวาววิ้งให้กับรูปที่สวยอยู่แล้ว
ดังนั้นจะดีมากถ้านาไปใช้กับโปรดักส์หรือไลฟ์สไตล์ที่หรูหราดูดีราคาแพง เช่น เพิ่มประกายและความพริ้วไหว
ให้กับชุดเดรสผ้าซาตินราคาแพง จะเพิ่มความสวยงามให้มากกว่าภาพนิ่ง
4. ราคาที่ถูกกว่าทาให้ Cinemagraph น่าสนใจเป็นอย่างมาก เมื่อเรากาลังทาแคมเปญหรือคอน
เทนท์ Cinemagraph เป็น Format ที่ใช้เงินน้อยกว่าวิดีโอแน่นอน
ทาภาพ CINEMAGRAPH หรือ
ภาพถ่ายมีชีวิต (.GIF ) ด้วยโฟโต้ชอป
https://km.phuket.psu.ac.th/?p=1306
การทาภาพ CINEMAGRAPH นั้น มี 3 วิธี
1.วิธีแรก …คือการถ่ายภาพแบบ Multi Shot แล้วนาไฟล์มาเรียงต่อกัน
ทาเป็นไฟล์ Gif ซึ่งวิธีการทาก็เหมือนการทาไฟล์ Gif ทั่วไป
2.วิธีที่ 2 …คือการเอาไฟล์ Video มาทา ซึ่งวิธีการนี้ ถ้าทาเป็นแล้ว
…วิธีแรกก็จะง่ายมาก ^^
3.วิธีสุดท้าย ..คือการนารูปภาพธรรมดาๆรูปเดียว มาก๊อปปี้ ตกแต่ง และ
ตัดต่อ ให้เป็นภาพเคลื่อนไหว ที่ละช๊อตๆ ซึ่งเป็นวิธีที่ต้องใช้เทคนิค
เฉพาะตัวสูงมาก ทายาก จึงไม่ค่อยมีใครใช้วิธีนี้ กัน
Video
เลือกไฟล์
Timeline
Loop
ตัดเฉพาะ
ส่วนที่ใช้
Layer Mark
สร้างภาพนิ่ง
Save
for
Web
ส่งออก
เลือกไฟล์ VIDEO
การเลือกช๊อตที่จะนามาทานี่แหละที่ยากที่สุด ถ้าเป็นVideoที่ถ่ายขึ้นเพื่อตั้งใจเอามาทาเลยก็ไม่มี
ปัญหา แต่ถ้าเป็น Video ที่ไม่ได้จัดฉากขึ้นเพื่อทา Cinemagraphs โดยเฉพาะแล้ว แนะนาให้
เลือกช๊อตที่ไม่มีการเคลื่อนไหวในซีนนั้นมาก เพราะส่วนที่เราต้องการให้เป็นภาพนิ่งกับส่วนที่เรา
ต้องการให้เคลื่อนไหว …อาจจะไม่สัมพันธ์กัน ทาให้งานออกมาไม่สวย
• ใช้โปรแกมตัดต่อ เช่น “Windows Live Movie Maker” ตัดไฟล์Videoเฉพาะส่วนที่
ต้องการทาเป็น Cinemagraphs (อาจจะแค่ 2-5 วินาที) เพื่อให้ไฟล์มีขนาดเล็ก จะได้ง่ายต่อ
การแปลงไฟล์ และ Import เข้า PhotoShop
• แปลงไฟล์ให้เป็น ตระกูล “Quick Time Movie”
(.MOV,.AVI,.MPG,.MPEG,.MP4) ด้วยโปรแกรมแปลงไฟล์ เช่น Adobe Media
Encoder ( ไฟล์ตะกูลอื่นเปิดใน PhotoShop ไม่ได้ อ่อ..ไม่แน่ใจนะว่า PhotoShop เปิด
ไฟล์ Movie ได้ตั้งแต่เวอร์ชั่นไหน เท่าที่รู้ก็ CS3 ขึ้นมา ก่อนหน้านั้น ไม่ทราบนะ TT-TT )
ตัดเฉพาะส่วนที่ใช้
• ลองกดเครื่องหมาย Play ใน“ANIMATION (TIMELINE)” ดูการ
เคลื่อนไหวของไฟล์ Video ..แล้วเลือกเฉพาะส่วนที่เราต้องการ โดยเลื่อน
“Work Area” ด้านซ้าย-ขวาเข้ามาตรงช่วงเฟรมที่เราเลือก
• จากนั้นกดมุมขวาบนของพาเนล ANIMATION (TIMELINE) เลือก
“Trim Document Duration to Work Area” …เราจะได้
ไฟล์เฉพาะส่วนที่เราใช้
สร้างภาพนิ่ง
• เลือน Current Time Indicator(ขีดแดงๆแสดงตาแหน่งการเล่นว่าอยู่
เฟรมไหน) ..หาเฟรมที่เราต้องการให้เป็นภาพหลัก เมื่อได้แล้วกด “Ctrl+A”
เพื่อเลือกพื้นที่ทั้งหมด (สังเกตุจะเกิด Selection รอบภาพ)
• กด “Ctrl+J” เพื่อCopyเอาภาพในเฟรมนั้น ขึ้นมาเป็นภาพธรรมดาใน
Layer ใหม่
(สังเกตุในพาเนลLayer จะมี Layer เพิ่มใหม่ขึ้นมา1Layer …เป็นภาพนิ่ง
ที่ไม่มีสัญลักษณ์Videoอยู่มุมขาวล่าง)
• คลิ๊กเลือกที่ Layer ภาพนิ่ง( Layer 2 ) กด “Q” เพื่อเข้าสู้่โหมด
Ouick Mask ใช้ Brush ระบายมาร์คส่วนที่เราไม่ต้องการให้เคลื่อนไหว
ส่งออก
วิธีแรก คือการถ่ายภาพ MULTI SHOT
แล้วนาไฟล์มาเรียงต่อกันทาเป็ นไฟล์ GIF
มาทารูปให้มีชีวิต ด้วยเทคนิค
Cinemagraph กัน!
https://pantip.com/topic
/35241146
วิธีทา CINEMAGRAPH เนี่ย จะแบ่งออกเป็ น 2
ส่วนหลักๆ คือ
1. การรวมภาพนิ่ง ให้เป็น VDO (สาหรับคนที่ใช้มือถือถ่าย burst)
2. การ Edit VDO ต่อเพื่อให้กลายเป็น Cinemagraph
ถ่าย Burst/Multi Shot มาก่อนเลย ได้ 100 รูป
(สามารถเอามาต่อเป็นVDO ได้ประมาณ 10 วินาที)
ก่อนทา CINEMAGRAPH ก็มาเตรียมตัวกันก่อน
1. ขาตั้งกล้อง เพราะแต่ละรูปที่ใช้ฉากหลังต้องไม่ขยับ เป็นเฟรมเดียวกันทั้งหมด
2. มือถือที่ถ่าย burst/ Multi Shot ได้เยอะๆ (หรือ VDO คุณภาพสูง )
ในการทา Cinemagraph ให้ออกมาเนียนๆเนี่ย เราต้องวางแผนกันตั้งแต่
ตอนถ่ายเลย ว่าอยากให้อะไรขยับ อะไรเคลื่อนไหวจะได้ทางานต่อได้ง่ายๆ เนียนๆ
โดยสิ่งที่ขยับควรจะวนเป็นลูป เช่น ลมพัดปลิวไปมา , คลื่นทะเล , ดอกหญ้าขยับ
อะไรแบบนั้นนน ยิ่งเรา วางแผนตอนถ่ายดีเท่าไหร่ ก็ยิ่งได้ Cinemagraph ที
เนียนมากขึ้นเท่านั้น
PART1 !! ขั้นตอนการรวมภาพให้เป็ น VDO
ขั้นตอนที่1 ทารูปให้เป็น VDO กัน
ก่อน ขั้นตอนนี้ ไม่ยากๆ
เปิด Photoshop ขึ้นมา แล้วไปที่
Window >> Timeline
ขั้นตอนที่ 2
ต่อไปเราจะเอารูปทั้ง 100 รูปที่เตรียม
ไว้เข้ามาใน Timeline โดยกดที่
สัญลักษณ์ฟิมล์เล็กๆ แล้ว กด Add
Media.. >> แล้วเลือกรูปที่
เตรียมไว้ทั้งหมด
ขั้นตอนที่ 3 กด Play ใน timeline ภาพก็จะสามารถเล่นต่อกันได้
เหมือนเป็น VDO แล้ว แต่ลองสังเกตว่าแต่ละเฟรมจะใช้เวลาหลายวินาที
เลยออกมาเหมือนภาพ กระตุกๆ เราจะแก้โดยการลดระยะเวลาที่ใช้แสดงผล
ในแต่ละภาพลง เพื่อให้ภาพเล่นต่อกันได้เนียนขึ้นเหมือน VDO
กดตรง จุดๆ ที่วงกลม
ขั้นตอนที่ 4
หลังจาก Select All Frames
แล้ว กดตรงลัญลักษณ์เวลาเล็กๆ จาก
เดิมคือแสดงผลภาพละ 5 วินาที ให้
เปลี่ยนเป็น 0.1 Sec (มันจะ Slow
motion นิดหน่อยกาลังสวย ) หรือ
ใครอยากได้เร็วขึ้นก็กด No delay
เลย ส่วนใหญ่อยากได้ Slow ลง
กว่าเดิมก็ใช้ 0.2 s
ขั้นตอนที่ 5
ปรับเวลาเสร็จแล้ว Export เป็น
VDO ได้เลยจ้าา โดยไปที่ File
>> Export >> Render
VDO
ขั้นตอนที่ 6
(ขั้นตอนสุดท้ายของ Part1)
หลังจากกด Render VDO มันจะ
ให้เราตั้งค่าว่าอยากได้ VDO
คุณภาพยังไง ขนาดเท่าไหร่ อันนี้
สามารถตั้งได้ตามใจชอบเลย แต่ถ้าไม่
รู้จะตั้งยังไง ลองตั้งตามดูก่อนก็ได้ ส่วน
สาคัญคือ การตั้งชื่อ และ Location
ที่จะ save ส่วนขนาดและ frame
rate ตั้งเป็น Preset ตามที่มั้นตั้ง
ค่าไว้ให้เลยก็ได้
PART2 !! นา VDO มาทาเป็ น CINEMAGRAPH
ขั้นตอนที่ 1
โยน VDO ที่ได้จาก Part1 มาใส่ Photoshop เลย
หน้าตาจะเป็นประมาณนี้ สังเกตดูว่า Timeline ด้านล่างจะเป็น VDO
ต่อเนื่องกันแล้วไม่เหมือนในขั้นตอนการทาภาพนึ่งก่อนหน้านี้
ขั้นตอนที่ 2
เนื่องจาก Cinemagraph คือ gif สั้นๆ ที่วนไปมาเป็นลูป เพราะฉะนั้นขั้นตอนนี้ เราจะมาเลือก
ก่อนว่าจะใช้ช่วงไหนใน VDO โดยหลักการในการเลือกเฟรมคือ
1 . จุดเริ่มต้นของการเคลื่อนไหว และจุดสุดท้ายใกล้เคียงกัน เช่น ม่านหน้าต่างปลิวซ้าย แล้วกลับมาขวา
หรือดอกหญ้าขยับมาซ้าย แล้วกลับมาทางขวา หรือคลื่นทะเลที่ซัดเข้ามาเรื่อยๆ อะไรแบบนั้น
2. พยายามเลือกเฟรมที่ ส่วนที่เราต้องการให้นิ่ง ขยับน้อยที่สุด เวลาทาจะได้เนียนๆ เช่นอยากให้ขยับ ก็
ควรให้ใบหน้าและลาตัวนิ่ง
3. ควรเป็นระยะเวลาสั้นๆ เช่น 3-4 วินาที เพื่อให้ GIF ที่ได้ตอนสุดท้ายมีขนาดเล็กที่สุด
หลังจากเลือกได้แล้ว ให้เราลาก ขอบ VDO ด้านซ้าย หดเข้ามาตรงที่ต้องการให้เป็นจุดเริ่มต้น แล้ว
ลากขอบ VDO ด้านขวาเข้ามาตรงจุดที่ต้องการให้เป็นจุดสิ้นสุดของ VDO
ขั้นตอนที่ 3(การทาให้ VDO วนลูปเนียนๆ)
แบ่งออกเป็ นขั้นตอนย่อยๆให้ทาตามจะได้ง่ายขึ้ น
ขั้นตอนที่ 3-1
คลิกที่ Video Group 1 ที่มี
แล้ว Duplicate Group ขึ้นมา
โดยกด Command + j เราจะ
ได้ VDO Group 2 อัน
(จากรูปซ้าย จะกลายเป็นรูปขวา)
ขั้นตอนที่ 3-2
เลื่อน VDO อันที่อยู่ด้านล่างไปทางขวาให้ต่อกับ VDO ด้านบนพอดี
แบบในรูป (เลือกให้ A ล่าง ไปต่อกับ B ด้านบน)
ตอนนี้ หมายความว่า พอจบ VDO อันบนปุ๊ ป ก็จะไปเจอกับ VDO อัน
ล่าง ซึ่งเป็นจุดเดียวกับตอนเริ่ม VDO ด้านบนเป๊ ะๆ เพราะมันคือ VDO
ที่ Copy กันมา ...
ขั้นตอนที่ 3-3
จากจุด A ด้านล่าง เราจะลากขอบ VDO ด้านซ้าย คืนกลับไปทางซ้ายเล็กน้อย (ประมาณ 1-2 วิ)
ขั้นตอนนี้ จุด A ด้านล่างยังอยู่ที่เดิมนะ
เราแค่ได้พื้นที่ VDO ก่อนหน้า จุด A ด้านล่างกลับคืนมา (เราหดเอาไว้ในขั้นตอนที่ 2 ของ Part2 )
ลากขอบ VDO อันล่าง ด้านขวามาทางซ้าย จนตรงกับจุดสิ้นสุด VDO ด้านบน (จุด B ด้านบน)
ขั้นตอนที่ 3-4
คลิกที่ VDO ด้านบน แล้วกดลูกศรเล็กซ้ายมือ >> เลื่อนแถบ play สีแดงๆ ไปให้ตรงกัน
จุดเริ่มต้นของ VDO ด้านล่าง ตามรูป แล้วคลิกที่รูปนาฬิกา ที่อยู่หน้า Opacity ดูให้แน่ใจว่า
Opacity ในช่อง Layer ด้านขวา เป็น 100%
เลื่อนแถบ play ไปที่จุดสิ้นสุด VDO แล้วปรับ Opacity ตรงนี้ เป็น 0% เท่ากับว่าตอนนี้
VDO ด้านบน พอเล่นมาจนถึงจุดสีเหลืองอันแรก Opacity ของ VDO ด้านบน ก็จะค่อยๆลง
มาจนกลายเป็น 0% เมื่อถึงจุดสีเทาด้านขวา
ขั้นตอนที่ 4
หลังจากนั้นให้เรากด Ctrl +Shift + Alt + E เพื่อสร้างภาพนิ่งจาก VDO ที่
เรากดหยุดไว้ เลเยอร์สีม่วงๆนั้นแหละคือภาพนิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่ (เท่ากับว่าตอนนี้
เรามี 3 layer แล้วนะจ๊ะ)
ก่อนจบขั้นตอนนี้ ก็ลากเลเยอร์ภาพนิ่งมาซ้อนให้พอดีกับ VDO กันซะก่อน (ตอนนี้
ต่อให้กด Play ก็จะเห็นเป็นภาพนิ่งๆหมดแล้วเพราะภาพนิ่งบัง VDO อยู่)
ขั้นตอนที่ 5
ตอนนี้ เราจะมาทาให้บางส่วนขยับ โดยใช้ Layer mask
หลังจากนั้นใช้ Brush สีดาป้ ายลงไปตรงบริเวณที่ต้องการให้ขยับเลย หลักการเดียวกับ
Layer mask ภาพนิ่งปรกติเลย หากไม่มั่นใจว่าป้ ายตรงไหนไปบ้างแล้ว สามารถกด “
 “ ดูได้ ตรงที่ป้ ายให้ขยับ คือตรงที่ขึ้นสีแดง (ตามภาพตัวอย่าง)
ขั้นตอนที่ 6
ไปที่ File >> Save for Web ที่สาคัญเลยคือ อยากลืมกดให้มันวนเป็นลูปปป !!!
ข้อดีของการใช้ BURST SHOT ทา CINEMAGRAPH
จริงอยู่ที่หากเราถ่าย VDO มา จะลดขั้นตอนการรวมภาพนิ่งเป็น VDO
ไปได้ แต่การใช้ภาพนิ่งมาทานั้น ก็มีข้อดีหลักๆคือ เราสามารถปรับแสงสี
และรีทัชภาพได้ง่ายๆตั้งแต่ขั้นตอนแรก เช่น นางแบบมีสิว เรา stamp
ออกตั้งแต่ใน LR เลย ถ้าถ่ายมาเป็น VDO การรีทัชใน VDO เป็นเรื่อง
ยากกว่ามากกกก
Instagram : @bewvaraporn
Instagram :https://www.instagram.com/lightculture/
วิธีที่ 2 คือการเอาไฟล์ VIDEO มาทา
10 ขั้นตอนง่าย ๆ กับการทา
CINEMAGRAPH ในโปรแกรม
Photoshop
https://www.motiongraphicplus.c
om/archives/6120
ขั้นตอนที่ 1 : เตรียมไฟล์ VDO
เราสามารถถ่าย VDO โดยใช้กล้อง หรือมือถือที่มีความละเอียดสูง ถ่าย
VDO ที่เราต้องการได้เลย หากยังนึกไม่ออกว่าจะทาแบบไหน เราก็
สามารถเสิร์จคาว่าCINEMAGRAP เพื่อหาตัวอย่างสวยๆ
เป็นแรงบันดาลใจก่อนได้
ขั้นตอนที่ 2 : ตั้งค่า WORK SPACE ในโปรแกรม PHOTOSHOP
จะสังเกตุเห็นว่าหน้าต่างของเราจะมีแถบ Timeline ขึ้นมาซึ่งเจ้า
ตัว Timeline นี่ละ ที่จะช่วยเราในการทา CINEMAGRAP กัน
ขั้นตอนที่ 3 : NEW FILE
เราจะสร้างไฟล์ขึ้นมาใหม่ เพื่อที่จะกาหนดขนาดของงานกันหากเราจะนา
CINEMAGRAP ไปโพสใน website หรือ Facebook เราควร
กาหนดขนาดของงานให้เหมาะสม และตั้งค่าความละเอียดอยู่ที่ 72 dpi
ขั้นตอนที่ 4 : นาไฟล์ VDO เข้ามา
โดยไปที่แถบเมนูด้านบน File > Place Embedded > เลือกไฟล์
VDO ที่ต้องการ สาเหตุที่เราเลือก Place Embedded เพื่อที่เป็น
การฝังเจ้าตัว VDO นี้ ลงในไฟล์นี้ เลย แม้เราจะลบ VDO ไปแล้ว
ไฟล์ที่เราฝังก็จะยังอยู่ เมื่อนา VDO เข้ามาเรียบร้อยให้กด Create
vdo timeline บนแถบเมนู timeline
ขั้นตอนที่ 5 : เลือกช่วงภาพเคลื่อนไหวที่ LOOP ที่สุด
เพื่อที่จะให้ภาพเรา loop หรือเล่นวน
ไปเรื่อยๆ แบบไม่สะดุด ให้เราเลือกตัด
ช่วงที่ภาพเคลื่อนไหวแล้วเนียนที่สุด
โดยเราสามารถกด Play หรือเลื่อน
แถบสีแดงไปมา เพื่อเลือกช่วงของ
VDO ที่เราต้องการ หากไม่ต้องการ
ช่วงไหน
เราสามารถใช้เครื่องมือ กรรไกร ตัด
VDO ช่วงที่เราไม่ต้องการออกแล้ว
กด delete ตรง Layer นั้นทิ้ง
ตรงกล่อง Layer ได้เลย
ขั้นตอนที่ 6 : SNAP SHORT
เลือกภาพนิ่งที่เราต้องการโดยเลื่อนแถบสีแดงไปยังช่วงที่เราต้องการได้เลย
จากนั้น SNAP SHORT ด้วยคาสั่ง Control + Shift + Alt + E [Pc]
เราก็จะได้ Layer ภาพนิ่งมา 1 อัน เลื่อนให้ตรงกับไฟล์ VDO ของเรา ตาม
ตัวอย่างภาพนี้ นะคะ
ขั้นตอนที่ 7 : ADD LAYER MASK
กดที่ layer ที่เราเพิ่ง SNAP
SHORT ไปในขั้นตอนที่แล้ว
แล้วกดไปที่ไอค่อนคล้ายรูป
กล้อง หรือเรียกว่าคาสั่ง “Add
layer mask”
ขั้นตอนที่ 8 : ใช้ BURSH ระบายตรงส่วนที่ต้องการให้ขยับ
เลือกใช้ Bursh ฟุ้ งๆ เพื่อให้ได้การขยับที่เนียน หรือจะเลือก Bursh ตามที่เราชอบได้เลย
ขั้นตอนที่ 9 : กด PLAY
กดปุ่ม Play บนแถบเครื่องมือ timeline เพื่อดูว่าส่วนที่เราต้องการให้
หยุด และ เคลื่อนไหวนั้นเป็นไปตามที่เราต้องการหรือไม่
หากเราต้องการเปลี่ยนส่วนที่จะขยับ เราสามารถแก้ไขได้ โดยใช้ เครื่องมือ
Eraser ลบบริเวณที่เราอยากให้หยุดนิ่ง
และใช้ Bursh ระบายในส่วนที่เราต้องการให้ขยับ
ขั้นตอนที่ 10 : SAVE
file > save for web
คลิ๊ก GIF
คลิ๊ก Forever
> Save
รายละเอียด CLICK
และสาหรับท่านที่ไม่มีพื้นฐานแล้วอยากทาเป็นเลย แนะนาให้มาศึกษาคอร์ส
นี้ ตอบโจทย์มากๆ
https://motiongraphicplus.com/graphic-academy
วิธีสุดท้าย ..คือการนารูปภาพธรรมดาๆ
รูปเดียว มาก๊อปปี้ ตกแต่ง และตัดต่อ ให้
เป็ นภาพเคลื่อนไหว
เนรมิตภาพนิ่งให้มีชีวิต ใน 1 นาที ด้วย
Photoshop!
https://craftfig.co/activities/ps-
cinemagraph
ขั้นตอน
1. เปิดไฟล์ ของคุณใน Photoshop โดยไปที่ File > Open
2. ลากย้าย Layer วิดีโอของคุณ ออกมาจากกรุ๊ป ให้อยู่เหนือ Layer ชื่อ
“Video Group 1” และลบ Layer “Video Group 1” ทิ้ง
3. ลาก Layer วิดีโอไปที่ปุ่ม “New Layer” เพื่อก๊อปปี้ Layer
ขึ้นมาอีกอันหนึ่ง
4. เปิด Timeline ของวิดีโอขึ้นมา โดยไปที่แถบเมนูด้านบน เลือก
Window > Timeline แล้วเลื่อนแถบเส้นแดงด้วยปุ่มด้านบน เพื่อหา
ภาพที่จะใช้เป็นภาพนิ่งหลัก
5. เมื่อได้ช่วงที่จะทาเป็นภาพนิ่งแล้ว ให้คลิกขวาที่ Layer ที่เราก๊อปปี้
เพิ่มขึ้นมาแล้วเลือกไปที่ “Rasterize Layer” จะเปลี่ยน Layer นั้น
ให้เป็นภาพนิ่ง
6. ที่ด้านบน คลิกที่ปุ่ม Select and Mask… แต่ถ้าด้านบนไม่มีปุ่ม
ให้ไปที่แถบเมนูด้านบน เลือก Select > Select and Mask… จะ
เข้าสู่หน้าต่างของการเลือกพื้นที่เจาะภาพ
7. ที่เมนูด้านขวาในส่วน View Mode คลิกที่ลูกศรชี้ลงข้างรูป เลือกให้
เป็น Overlay
8. ที่เมนูด้านซ้าย เลือก Brush Tool แล้วระบายในส่วนที่ต้องการให้
เคลื่อนไหว
9. เมื่อได้พื้นที่ที่ต้องการแล้ว คลิกที่ปุ่ม Invert ในเมนูด้านขวา เพื่อสลับพื้นที่ในการเลือกให้เป็น
ในส่วนที่เราต้องการ
ด้านล่างในส่วน Output Setting ให้เลือกเป็น Output To > Layer Mask แล้วไป
คลิกปุ่ม OK ที่ด้านล่างสุด
เราจะได้ภาพนิ่งที่ถูกเจาะในบริเวณที่ต้องการ
10. ที่แถบช่วงเวลาใน Timeline ให้เราเลื่อนปรับจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด ของการเคลื่อนไหว
เพื่อหาช่วงที่สามารถวนลูปได้เนียนที่สุด
ซึ่งเราสามารถกดปุ่ม Play เพื่อดูการเคลื่อนไหวได้ และ สามารถคลิกที่ปุ่มรูปเฟือง เพื่อตั้งค่า
ความละเอียดในการแสดงภาพจาลอง หรือ ตั้งค่าการเล่นวนลูปได้
11. บันทึกภาพโดยไปที่ File > Export > Save for Web (Legacy). ปรับตั้งค่า
ตามที่ต้องการ โดยในตัวอย่างนี้ ตั้งค่าเป็น GIF
Colors : 256
Dither : 100%
Looping Option : Forever
https://youtu.be/d8LtQCzUw6s
เทคนิควันนี้ มาจากทาง Adobe ซึ่งได้ทาซีรี่ย์ชื่อ ‘Make it now’ เป็นคลิปสอนเทคนิคสั้นๆ 1 นาที
ให้กับโปรแกรมต่างๆใน Adobe CC เพื่อให้ทุกคนสามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆได้ด้วยตัวเอง

More Related Content

Similar to Cinemagraph by photoshop

Photoscape manual
Photoscape manualPhotoscape manual
Photoscape manual
Chonthicha Sayan
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1
krunueng1
 
คู่มือการใช้ Photo scape 1
คู่มือการใช้ Photo scape 1คู่มือการใช้ Photo scape 1
คู่มือการใช้ Photo scape 1soraya112
 
การทำภาพ Animation
การทำภาพ Animationการทำภาพ Animation
การทำภาพ Animationwannasirial
 
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวหน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
Yui Janjira Ketsakorn
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)
เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)
เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)focusstorm124
 
แสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flash
แสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flashแสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flash
แสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flashfocusstorm124
 
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
patmalya
 

Similar to Cinemagraph by photoshop (10)

Photoscape manual
Photoscape manualPhotoscape manual
Photoscape manual
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดที่ 1
 
Logo web
Logo webLogo web
Logo web
 
คู่มือการใช้ Photo scape 1
คู่มือการใช้ Photo scape 1คู่มือการใช้ Photo scape 1
คู่มือการใช้ Photo scape 1
 
การทำภาพ Animation
การทำภาพ Animationการทำภาพ Animation
การทำภาพ Animation
 
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวหน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)
เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)
เทคนิคการใช้ Flash ขั้นเซียน (ตอนที่ 2)
 
แสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flash
แสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flashแสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flash
แสดงวิดีโอแบบง่ายๆ ใน Flash
 
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
6 4-เทคนิคการถ่ายภาพ
 

More from smittichai chaiyawong

Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
smittichai chaiyawong
 
Adobe premiere pro cc 2018
Adobe  premiere pro cc 2018Adobe  premiere pro cc 2018
Adobe premiere pro cc 2018
smittichai chaiyawong
 
Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
smittichai chaiyawong
 
Motion graphic by ppt
Motion graphic by pptMotion graphic by ppt
Motion graphic by ppt
smittichai chaiyawong
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
smittichai chaiyawong
 
การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013
smittichai chaiyawong
 
Excel 2013
Excel 2013Excel 2013
02 word 2013
02 word 201302 word 2013
02 word 2013
smittichai chaiyawong
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
smittichai chaiyawong
 
Ms outlook 2016
Ms outlook 2016Ms outlook 2016
Ms outlook 2016
smittichai chaiyawong
 
Windows 10
Windows 10Windows 10
แนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibreแนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibre
smittichai chaiyawong
 
Excel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finishExcel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finish
smittichai chaiyawong
 
Advance word2013
Advance word2013Advance word2013
Advance word2013
smittichai chaiyawong
 
เอกสาร Infographic
เอกสาร Infographicเอกสาร Infographic
เอกสาร Infographic
smittichai chaiyawong
 
slide intro Infographic
slide intro Infographicslide intro Infographic
slide intro Infographic
smittichai chaiyawong
 
Logical Excel
Logical ExcelLogical Excel
Logical Excel
smittichai chaiyawong
 
PowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 ConceptPowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 Concept
smittichai chaiyawong
 
Facebook marketingonline
Facebook marketingonlineFacebook marketingonline
Facebook marketingonline
smittichai chaiyawong
 
Summery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHETSummery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHET
smittichai chaiyawong
 

More from smittichai chaiyawong (20)

Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
 
Adobe premiere pro cc 2018
Adobe  premiere pro cc 2018Adobe  premiere pro cc 2018
Adobe premiere pro cc 2018
 
Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
 
Motion graphic by ppt
Motion graphic by pptMotion graphic by ppt
Motion graphic by ppt
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013
 
Excel 2013
Excel 2013Excel 2013
Excel 2013
 
02 word 2013
02 word 201302 word 2013
02 word 2013
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
 
Ms outlook 2016
Ms outlook 2016Ms outlook 2016
Ms outlook 2016
 
Windows 10
Windows 10Windows 10
Windows 10
 
แนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibreแนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibre
 
Excel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finishExcel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finish
 
Advance word2013
Advance word2013Advance word2013
Advance word2013
 
เอกสาร Infographic
เอกสาร Infographicเอกสาร Infographic
เอกสาร Infographic
 
slide intro Infographic
slide intro Infographicslide intro Infographic
slide intro Infographic
 
Logical Excel
Logical ExcelLogical Excel
Logical Excel
 
PowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 ConceptPowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 Concept
 
Facebook marketingonline
Facebook marketingonlineFacebook marketingonline
Facebook marketingonline
 
Summery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHETSummery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHET
 

Cinemagraph by photoshop

  • 1. สร้าง CINEMAGRAPH ด้วย โปรแกรม PHOTOSHOP Cinemagraph หลักสูตรที่ผู้อบรมจะได้เรียนรู้ เทคนิคการเปลี่ยนภาพนิ่งให้เป็นภาพเคลื่อนไหว เป็นการผสานกันระหว่างภาพถ่ายและวิดีโอ ช่วย สร้างมิติใหม่เพิ่มความมีชีวิตเข้าไปในภาพได้ โดยง่ายด้วยโปรแกรมสุดฮิตที่ช่วยในการสร้างงาน อย่าง Photoshop
  • 2. CINEMAGRAPH เครื่องมือสร้าง ชีวิตชีวาให้ CONTENT MARKETING https://www.brandbuffet.in.th/2 016/01/why-brands-should- embrace-cinemagraphs-for- storytelling/
  • 3. CINEMAGRAPH อีกหนึ่งวิธีใช้ภาพเล่าเรื่อง คาว่า Cinemagraph มาจากการรวมคาของ Cinema (ภาพยนต์ หรือวิดีโอ) และ Photograph (ภาพนิ่งหรือภาพถ่าย) กลายมาเป็น ภาพถ่ายมหัศจรรย์ที่มีบางส่วนของภาพขยับได้ การผสานกันอย่างลงตัวของ ภาพนิ่งและองค์ประกอบที่เคลื่อนไหว กลายเป็นความงดงามในการถ่ายทอด เรื่องราวในภาพได้อย่างล้าลึกและดึงดูดความสนใจจากคนดูได้เป็นอย่างดี สามารถดูตัวอย่างงาน Cinemagraph เจ๋งๆ ได้ใน Hashtag #Cinemagraph ใน Instagram
  • 4. จริงๆแล้ว CINEMAGRAPH มีความ คล้ายคลึงกับภาพ .GIF อยู่พอสมควร แต่มีความเป็นศิลปะมากกว่า เมื่อถูกจัดวางอย่างดีจะสามารถ สร้างความประทับใจและมี Impact มากกว่าภาพถ่ายหรือ คลิปวิดิโอทั่วไป สร้างการจดจา ให้กับแบรนด์ได้เป็นอย่างดี
  • 5. 4 วิธีในการนา CINEMAGRAPH มาใช้ 1. ทาให้สั้น งดงาม ละเต็มไปด้วยความหมาย Cinemagraph จะมีพลังที่สุดถ้ามันถูกทาให้ง่าย สั้น และจับโมเมนท์ที่ฉลาดที่สุด ลูปสั้นๆนั้นต้องสามารถบอกเรื่องราวผ่านการพริ้วไหวของเสื้ อผ้า สายลมที่พัด ผ่านเพียงชั่วครู่ หรือไวนืที่กาลังถูกรินให้เพื่อนในวันสาคัญ สามารถแสดงออกถึงความหมายมากมายที่เกิดขึ้น ในชั่วขณะหนึ่ง 2. Cinemagraph มีความหมายมากกว่า 1,000 คา Cinemagraph มีพลังในการถ่ายทอด ช่วงเวลาที่มีค่า จนทาให้คนดูสามารถมีความรู้สึกร่วมว่าเขากาลังนั่งอยู่ในสถานการณ์นั้นๆ 3. ผลลัพธ์ที่สวยงาม Cinemagraph เป็นทางเลือกที่ดีในการเพิ่มความวาววิ้งให้กับรูปที่สวยอยู่แล้ว ดังนั้นจะดีมากถ้านาไปใช้กับโปรดักส์หรือไลฟ์สไตล์ที่หรูหราดูดีราคาแพง เช่น เพิ่มประกายและความพริ้วไหว ให้กับชุดเดรสผ้าซาตินราคาแพง จะเพิ่มความสวยงามให้มากกว่าภาพนิ่ง 4. ราคาที่ถูกกว่าทาให้ Cinemagraph น่าสนใจเป็นอย่างมาก เมื่อเรากาลังทาแคมเปญหรือคอน เทนท์ Cinemagraph เป็น Format ที่ใช้เงินน้อยกว่าวิดีโอแน่นอน
  • 6. ทาภาพ CINEMAGRAPH หรือ ภาพถ่ายมีชีวิต (.GIF ) ด้วยโฟโต้ชอป https://km.phuket.psu.ac.th/?p=1306
  • 7. การทาภาพ CINEMAGRAPH นั้น มี 3 วิธี 1.วิธีแรก …คือการถ่ายภาพแบบ Multi Shot แล้วนาไฟล์มาเรียงต่อกัน ทาเป็นไฟล์ Gif ซึ่งวิธีการทาก็เหมือนการทาไฟล์ Gif ทั่วไป 2.วิธีที่ 2 …คือการเอาไฟล์ Video มาทา ซึ่งวิธีการนี้ ถ้าทาเป็นแล้ว …วิธีแรกก็จะง่ายมาก ^^ 3.วิธีสุดท้าย ..คือการนารูปภาพธรรมดาๆรูปเดียว มาก๊อปปี้ ตกแต่ง และ ตัดต่อ ให้เป็นภาพเคลื่อนไหว ที่ละช๊อตๆ ซึ่งเป็นวิธีที่ต้องใช้เทคนิค เฉพาะตัวสูงมาก ทายาก จึงไม่ค่อยมีใครใช้วิธีนี้ กัน
  • 9. เลือกไฟล์ VIDEO การเลือกช๊อตที่จะนามาทานี่แหละที่ยากที่สุด ถ้าเป็นVideoที่ถ่ายขึ้นเพื่อตั้งใจเอามาทาเลยก็ไม่มี ปัญหา แต่ถ้าเป็น Video ที่ไม่ได้จัดฉากขึ้นเพื่อทา Cinemagraphs โดยเฉพาะแล้ว แนะนาให้ เลือกช๊อตที่ไม่มีการเคลื่อนไหวในซีนนั้นมาก เพราะส่วนที่เราต้องการให้เป็นภาพนิ่งกับส่วนที่เรา ต้องการให้เคลื่อนไหว …อาจจะไม่สัมพันธ์กัน ทาให้งานออกมาไม่สวย • ใช้โปรแกมตัดต่อ เช่น “Windows Live Movie Maker” ตัดไฟล์Videoเฉพาะส่วนที่ ต้องการทาเป็น Cinemagraphs (อาจจะแค่ 2-5 วินาที) เพื่อให้ไฟล์มีขนาดเล็ก จะได้ง่ายต่อ การแปลงไฟล์ และ Import เข้า PhotoShop • แปลงไฟล์ให้เป็น ตระกูล “Quick Time Movie” (.MOV,.AVI,.MPG,.MPEG,.MP4) ด้วยโปรแกรมแปลงไฟล์ เช่น Adobe Media Encoder ( ไฟล์ตะกูลอื่นเปิดใน PhotoShop ไม่ได้ อ่อ..ไม่แน่ใจนะว่า PhotoShop เปิด ไฟล์ Movie ได้ตั้งแต่เวอร์ชั่นไหน เท่าที่รู้ก็ CS3 ขึ้นมา ก่อนหน้านั้น ไม่ทราบนะ TT-TT )
  • 10. ตัดเฉพาะส่วนที่ใช้ • ลองกดเครื่องหมาย Play ใน“ANIMATION (TIMELINE)” ดูการ เคลื่อนไหวของไฟล์ Video ..แล้วเลือกเฉพาะส่วนที่เราต้องการ โดยเลื่อน “Work Area” ด้านซ้าย-ขวาเข้ามาตรงช่วงเฟรมที่เราเลือก • จากนั้นกดมุมขวาบนของพาเนล ANIMATION (TIMELINE) เลือก “Trim Document Duration to Work Area” …เราจะได้ ไฟล์เฉพาะส่วนที่เราใช้
  • 11. สร้างภาพนิ่ง • เลือน Current Time Indicator(ขีดแดงๆแสดงตาแหน่งการเล่นว่าอยู่ เฟรมไหน) ..หาเฟรมที่เราต้องการให้เป็นภาพหลัก เมื่อได้แล้วกด “Ctrl+A” เพื่อเลือกพื้นที่ทั้งหมด (สังเกตุจะเกิด Selection รอบภาพ) • กด “Ctrl+J” เพื่อCopyเอาภาพในเฟรมนั้น ขึ้นมาเป็นภาพธรรมดาใน Layer ใหม่ (สังเกตุในพาเนลLayer จะมี Layer เพิ่มใหม่ขึ้นมา1Layer …เป็นภาพนิ่ง ที่ไม่มีสัญลักษณ์Videoอยู่มุมขาวล่าง) • คลิ๊กเลือกที่ Layer ภาพนิ่ง( Layer 2 ) กด “Q” เพื่อเข้าสู้่โหมด Ouick Mask ใช้ Brush ระบายมาร์คส่วนที่เราไม่ต้องการให้เคลื่อนไหว
  • 12.
  • 14. วิธีแรก คือการถ่ายภาพ MULTI SHOT แล้วนาไฟล์มาเรียงต่อกันทาเป็ นไฟล์ GIF มาทารูปให้มีชีวิต ด้วยเทคนิค Cinemagraph กัน! https://pantip.com/topic /35241146
  • 15. วิธีทา CINEMAGRAPH เนี่ย จะแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนหลักๆ คือ 1. การรวมภาพนิ่ง ให้เป็น VDO (สาหรับคนที่ใช้มือถือถ่าย burst) 2. การ Edit VDO ต่อเพื่อให้กลายเป็น Cinemagraph ถ่าย Burst/Multi Shot มาก่อนเลย ได้ 100 รูป (สามารถเอามาต่อเป็นVDO ได้ประมาณ 10 วินาที)
  • 16. ก่อนทา CINEMAGRAPH ก็มาเตรียมตัวกันก่อน 1. ขาตั้งกล้อง เพราะแต่ละรูปที่ใช้ฉากหลังต้องไม่ขยับ เป็นเฟรมเดียวกันทั้งหมด 2. มือถือที่ถ่าย burst/ Multi Shot ได้เยอะๆ (หรือ VDO คุณภาพสูง ) ในการทา Cinemagraph ให้ออกมาเนียนๆเนี่ย เราต้องวางแผนกันตั้งแต่ ตอนถ่ายเลย ว่าอยากให้อะไรขยับ อะไรเคลื่อนไหวจะได้ทางานต่อได้ง่ายๆ เนียนๆ โดยสิ่งที่ขยับควรจะวนเป็นลูป เช่น ลมพัดปลิวไปมา , คลื่นทะเล , ดอกหญ้าขยับ อะไรแบบนั้นนน ยิ่งเรา วางแผนตอนถ่ายดีเท่าไหร่ ก็ยิ่งได้ Cinemagraph ที เนียนมากขึ้นเท่านั้น
  • 17. PART1 !! ขั้นตอนการรวมภาพให้เป็ น VDO ขั้นตอนที่1 ทารูปให้เป็น VDO กัน ก่อน ขั้นตอนนี้ ไม่ยากๆ เปิด Photoshop ขึ้นมา แล้วไปที่ Window >> Timeline ขั้นตอนที่ 2 ต่อไปเราจะเอารูปทั้ง 100 รูปที่เตรียม ไว้เข้ามาใน Timeline โดยกดที่ สัญลักษณ์ฟิมล์เล็กๆ แล้ว กด Add Media.. >> แล้วเลือกรูปที่ เตรียมไว้ทั้งหมด
  • 18. ขั้นตอนที่ 3 กด Play ใน timeline ภาพก็จะสามารถเล่นต่อกันได้ เหมือนเป็น VDO แล้ว แต่ลองสังเกตว่าแต่ละเฟรมจะใช้เวลาหลายวินาที เลยออกมาเหมือนภาพ กระตุกๆ เราจะแก้โดยการลดระยะเวลาที่ใช้แสดงผล ในแต่ละภาพลง เพื่อให้ภาพเล่นต่อกันได้เนียนขึ้นเหมือน VDO กดตรง จุดๆ ที่วงกลม
  • 19. ขั้นตอนที่ 4 หลังจาก Select All Frames แล้ว กดตรงลัญลักษณ์เวลาเล็กๆ จาก เดิมคือแสดงผลภาพละ 5 วินาที ให้ เปลี่ยนเป็น 0.1 Sec (มันจะ Slow motion นิดหน่อยกาลังสวย ) หรือ ใครอยากได้เร็วขึ้นก็กด No delay เลย ส่วนใหญ่อยากได้ Slow ลง กว่าเดิมก็ใช้ 0.2 s
  • 20. ขั้นตอนที่ 5 ปรับเวลาเสร็จแล้ว Export เป็น VDO ได้เลยจ้าา โดยไปที่ File >> Export >> Render VDO ขั้นตอนที่ 6 (ขั้นตอนสุดท้ายของ Part1) หลังจากกด Render VDO มันจะ ให้เราตั้งค่าว่าอยากได้ VDO คุณภาพยังไง ขนาดเท่าไหร่ อันนี้ สามารถตั้งได้ตามใจชอบเลย แต่ถ้าไม่ รู้จะตั้งยังไง ลองตั้งตามดูก่อนก็ได้ ส่วน สาคัญคือ การตั้งชื่อ และ Location ที่จะ save ส่วนขนาดและ frame rate ตั้งเป็น Preset ตามที่มั้นตั้ง ค่าไว้ให้เลยก็ได้
  • 21. PART2 !! นา VDO มาทาเป็ น CINEMAGRAPH ขั้นตอนที่ 1 โยน VDO ที่ได้จาก Part1 มาใส่ Photoshop เลย หน้าตาจะเป็นประมาณนี้ สังเกตดูว่า Timeline ด้านล่างจะเป็น VDO ต่อเนื่องกันแล้วไม่เหมือนในขั้นตอนการทาภาพนึ่งก่อนหน้านี้
  • 22. ขั้นตอนที่ 2 เนื่องจาก Cinemagraph คือ gif สั้นๆ ที่วนไปมาเป็นลูป เพราะฉะนั้นขั้นตอนนี้ เราจะมาเลือก ก่อนว่าจะใช้ช่วงไหนใน VDO โดยหลักการในการเลือกเฟรมคือ 1 . จุดเริ่มต้นของการเคลื่อนไหว และจุดสุดท้ายใกล้เคียงกัน เช่น ม่านหน้าต่างปลิวซ้าย แล้วกลับมาขวา หรือดอกหญ้าขยับมาซ้าย แล้วกลับมาทางขวา หรือคลื่นทะเลที่ซัดเข้ามาเรื่อยๆ อะไรแบบนั้น 2. พยายามเลือกเฟรมที่ ส่วนที่เราต้องการให้นิ่ง ขยับน้อยที่สุด เวลาทาจะได้เนียนๆ เช่นอยากให้ขยับ ก็ ควรให้ใบหน้าและลาตัวนิ่ง 3. ควรเป็นระยะเวลาสั้นๆ เช่น 3-4 วินาที เพื่อให้ GIF ที่ได้ตอนสุดท้ายมีขนาดเล็กที่สุด หลังจากเลือกได้แล้ว ให้เราลาก ขอบ VDO ด้านซ้าย หดเข้ามาตรงที่ต้องการให้เป็นจุดเริ่มต้น แล้ว ลากขอบ VDO ด้านขวาเข้ามาตรงจุดที่ต้องการให้เป็นจุดสิ้นสุดของ VDO
  • 23. ขั้นตอนที่ 3(การทาให้ VDO วนลูปเนียนๆ) แบ่งออกเป็ นขั้นตอนย่อยๆให้ทาตามจะได้ง่ายขึ้ น ขั้นตอนที่ 3-1 คลิกที่ Video Group 1 ที่มี แล้ว Duplicate Group ขึ้นมา โดยกด Command + j เราจะ ได้ VDO Group 2 อัน (จากรูปซ้าย จะกลายเป็นรูปขวา)
  • 24. ขั้นตอนที่ 3-2 เลื่อน VDO อันที่อยู่ด้านล่างไปทางขวาให้ต่อกับ VDO ด้านบนพอดี แบบในรูป (เลือกให้ A ล่าง ไปต่อกับ B ด้านบน) ตอนนี้ หมายความว่า พอจบ VDO อันบนปุ๊ ป ก็จะไปเจอกับ VDO อัน ล่าง ซึ่งเป็นจุดเดียวกับตอนเริ่ม VDO ด้านบนเป๊ ะๆ เพราะมันคือ VDO ที่ Copy กันมา ...
  • 25. ขั้นตอนที่ 3-3 จากจุด A ด้านล่าง เราจะลากขอบ VDO ด้านซ้าย คืนกลับไปทางซ้ายเล็กน้อย (ประมาณ 1-2 วิ) ขั้นตอนนี้ จุด A ด้านล่างยังอยู่ที่เดิมนะ เราแค่ได้พื้นที่ VDO ก่อนหน้า จุด A ด้านล่างกลับคืนมา (เราหดเอาไว้ในขั้นตอนที่ 2 ของ Part2 ) ลากขอบ VDO อันล่าง ด้านขวามาทางซ้าย จนตรงกับจุดสิ้นสุด VDO ด้านบน (จุด B ด้านบน)
  • 26. ขั้นตอนที่ 3-4 คลิกที่ VDO ด้านบน แล้วกดลูกศรเล็กซ้ายมือ >> เลื่อนแถบ play สีแดงๆ ไปให้ตรงกัน จุดเริ่มต้นของ VDO ด้านล่าง ตามรูป แล้วคลิกที่รูปนาฬิกา ที่อยู่หน้า Opacity ดูให้แน่ใจว่า Opacity ในช่อง Layer ด้านขวา เป็น 100% เลื่อนแถบ play ไปที่จุดสิ้นสุด VDO แล้วปรับ Opacity ตรงนี้ เป็น 0% เท่ากับว่าตอนนี้ VDO ด้านบน พอเล่นมาจนถึงจุดสีเหลืองอันแรก Opacity ของ VDO ด้านบน ก็จะค่อยๆลง มาจนกลายเป็น 0% เมื่อถึงจุดสีเทาด้านขวา
  • 27. ขั้นตอนที่ 4 หลังจากนั้นให้เรากด Ctrl +Shift + Alt + E เพื่อสร้างภาพนิ่งจาก VDO ที่ เรากดหยุดไว้ เลเยอร์สีม่วงๆนั้นแหละคือภาพนิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่ (เท่ากับว่าตอนนี้ เรามี 3 layer แล้วนะจ๊ะ) ก่อนจบขั้นตอนนี้ ก็ลากเลเยอร์ภาพนิ่งมาซ้อนให้พอดีกับ VDO กันซะก่อน (ตอนนี้ ต่อให้กด Play ก็จะเห็นเป็นภาพนิ่งๆหมดแล้วเพราะภาพนิ่งบัง VDO อยู่)
  • 28. ขั้นตอนที่ 5 ตอนนี้ เราจะมาทาให้บางส่วนขยับ โดยใช้ Layer mask หลังจากนั้นใช้ Brush สีดาป้ ายลงไปตรงบริเวณที่ต้องการให้ขยับเลย หลักการเดียวกับ Layer mask ภาพนิ่งปรกติเลย หากไม่มั่นใจว่าป้ ายตรงไหนไปบ้างแล้ว สามารถกด “ “ ดูได้ ตรงที่ป้ ายให้ขยับ คือตรงที่ขึ้นสีแดง (ตามภาพตัวอย่าง)
  • 29. ขั้นตอนที่ 6 ไปที่ File >> Save for Web ที่สาคัญเลยคือ อยากลืมกดให้มันวนเป็นลูปปป !!!
  • 30. ข้อดีของการใช้ BURST SHOT ทา CINEMAGRAPH จริงอยู่ที่หากเราถ่าย VDO มา จะลดขั้นตอนการรวมภาพนิ่งเป็น VDO ไปได้ แต่การใช้ภาพนิ่งมาทานั้น ก็มีข้อดีหลักๆคือ เราสามารถปรับแสงสี และรีทัชภาพได้ง่ายๆตั้งแต่ขั้นตอนแรก เช่น นางแบบมีสิว เรา stamp ออกตั้งแต่ใน LR เลย ถ้าถ่ายมาเป็น VDO การรีทัชใน VDO เป็นเรื่อง ยากกว่ามากกกก Instagram : @bewvaraporn Instagram :https://www.instagram.com/lightculture/
  • 31. วิธีที่ 2 คือการเอาไฟล์ VIDEO มาทา 10 ขั้นตอนง่าย ๆ กับการทา CINEMAGRAPH ในโปรแกรม Photoshop https://www.motiongraphicplus.c om/archives/6120
  • 32. ขั้นตอนที่ 1 : เตรียมไฟล์ VDO เราสามารถถ่าย VDO โดยใช้กล้อง หรือมือถือที่มีความละเอียดสูง ถ่าย VDO ที่เราต้องการได้เลย หากยังนึกไม่ออกว่าจะทาแบบไหน เราก็ สามารถเสิร์จคาว่าCINEMAGRAP เพื่อหาตัวอย่างสวยๆ เป็นแรงบันดาลใจก่อนได้
  • 33. ขั้นตอนที่ 2 : ตั้งค่า WORK SPACE ในโปรแกรม PHOTOSHOP จะสังเกตุเห็นว่าหน้าต่างของเราจะมีแถบ Timeline ขึ้นมาซึ่งเจ้า ตัว Timeline นี่ละ ที่จะช่วยเราในการทา CINEMAGRAP กัน
  • 34. ขั้นตอนที่ 3 : NEW FILE เราจะสร้างไฟล์ขึ้นมาใหม่ เพื่อที่จะกาหนดขนาดของงานกันหากเราจะนา CINEMAGRAP ไปโพสใน website หรือ Facebook เราควร กาหนดขนาดของงานให้เหมาะสม และตั้งค่าความละเอียดอยู่ที่ 72 dpi
  • 35. ขั้นตอนที่ 4 : นาไฟล์ VDO เข้ามา โดยไปที่แถบเมนูด้านบน File > Place Embedded > เลือกไฟล์ VDO ที่ต้องการ สาเหตุที่เราเลือก Place Embedded เพื่อที่เป็น การฝังเจ้าตัว VDO นี้ ลงในไฟล์นี้ เลย แม้เราจะลบ VDO ไปแล้ว ไฟล์ที่เราฝังก็จะยังอยู่ เมื่อนา VDO เข้ามาเรียบร้อยให้กด Create vdo timeline บนแถบเมนู timeline
  • 36. ขั้นตอนที่ 5 : เลือกช่วงภาพเคลื่อนไหวที่ LOOP ที่สุด เพื่อที่จะให้ภาพเรา loop หรือเล่นวน ไปเรื่อยๆ แบบไม่สะดุด ให้เราเลือกตัด ช่วงที่ภาพเคลื่อนไหวแล้วเนียนที่สุด โดยเราสามารถกด Play หรือเลื่อน แถบสีแดงไปมา เพื่อเลือกช่วงของ VDO ที่เราต้องการ หากไม่ต้องการ ช่วงไหน เราสามารถใช้เครื่องมือ กรรไกร ตัด VDO ช่วงที่เราไม่ต้องการออกแล้ว กด delete ตรง Layer นั้นทิ้ง ตรงกล่อง Layer ได้เลย
  • 37. ขั้นตอนที่ 6 : SNAP SHORT เลือกภาพนิ่งที่เราต้องการโดยเลื่อนแถบสีแดงไปยังช่วงที่เราต้องการได้เลย จากนั้น SNAP SHORT ด้วยคาสั่ง Control + Shift + Alt + E [Pc] เราก็จะได้ Layer ภาพนิ่งมา 1 อัน เลื่อนให้ตรงกับไฟล์ VDO ของเรา ตาม ตัวอย่างภาพนี้ นะคะ
  • 38. ขั้นตอนที่ 7 : ADD LAYER MASK กดที่ layer ที่เราเพิ่ง SNAP SHORT ไปในขั้นตอนที่แล้ว แล้วกดไปที่ไอค่อนคล้ายรูป กล้อง หรือเรียกว่าคาสั่ง “Add layer mask”
  • 39. ขั้นตอนที่ 8 : ใช้ BURSH ระบายตรงส่วนที่ต้องการให้ขยับ เลือกใช้ Bursh ฟุ้ งๆ เพื่อให้ได้การขยับที่เนียน หรือจะเลือก Bursh ตามที่เราชอบได้เลย
  • 40. ขั้นตอนที่ 9 : กด PLAY กดปุ่ม Play บนแถบเครื่องมือ timeline เพื่อดูว่าส่วนที่เราต้องการให้ หยุด และ เคลื่อนไหวนั้นเป็นไปตามที่เราต้องการหรือไม่ หากเราต้องการเปลี่ยนส่วนที่จะขยับ เราสามารถแก้ไขได้ โดยใช้ เครื่องมือ Eraser ลบบริเวณที่เราอยากให้หยุดนิ่ง และใช้ Bursh ระบายในส่วนที่เราต้องการให้ขยับ
  • 41. ขั้นตอนที่ 10 : SAVE file > save for web คลิ๊ก GIF คลิ๊ก Forever > Save
  • 43. วิธีสุดท้าย ..คือการนารูปภาพธรรมดาๆ รูปเดียว มาก๊อปปี้ ตกแต่ง และตัดต่อ ให้ เป็ นภาพเคลื่อนไหว เนรมิตภาพนิ่งให้มีชีวิต ใน 1 นาที ด้วย Photoshop! https://craftfig.co/activities/ps- cinemagraph
  • 44. ขั้นตอน 1. เปิดไฟล์ ของคุณใน Photoshop โดยไปที่ File > Open 2. ลากย้าย Layer วิดีโอของคุณ ออกมาจากกรุ๊ป ให้อยู่เหนือ Layer ชื่อ “Video Group 1” และลบ Layer “Video Group 1” ทิ้ง 3. ลาก Layer วิดีโอไปที่ปุ่ม “New Layer” เพื่อก๊อปปี้ Layer ขึ้นมาอีกอันหนึ่ง
  • 45.
  • 46. 4. เปิด Timeline ของวิดีโอขึ้นมา โดยไปที่แถบเมนูด้านบน เลือก Window > Timeline แล้วเลื่อนแถบเส้นแดงด้วยปุ่มด้านบน เพื่อหา ภาพที่จะใช้เป็นภาพนิ่งหลัก 5. เมื่อได้ช่วงที่จะทาเป็นภาพนิ่งแล้ว ให้คลิกขวาที่ Layer ที่เราก๊อปปี้ เพิ่มขึ้นมาแล้วเลือกไปที่ “Rasterize Layer” จะเปลี่ยน Layer นั้น ให้เป็นภาพนิ่ง
  • 47.
  • 48. 6. ที่ด้านบน คลิกที่ปุ่ม Select and Mask… แต่ถ้าด้านบนไม่มีปุ่ม ให้ไปที่แถบเมนูด้านบน เลือก Select > Select and Mask… จะ เข้าสู่หน้าต่างของการเลือกพื้นที่เจาะภาพ 7. ที่เมนูด้านขวาในส่วน View Mode คลิกที่ลูกศรชี้ลงข้างรูป เลือกให้ เป็น Overlay 8. ที่เมนูด้านซ้าย เลือก Brush Tool แล้วระบายในส่วนที่ต้องการให้ เคลื่อนไหว
  • 49.
  • 50. 9. เมื่อได้พื้นที่ที่ต้องการแล้ว คลิกที่ปุ่ม Invert ในเมนูด้านขวา เพื่อสลับพื้นที่ในการเลือกให้เป็น ในส่วนที่เราต้องการ ด้านล่างในส่วน Output Setting ให้เลือกเป็น Output To > Layer Mask แล้วไป คลิกปุ่ม OK ที่ด้านล่างสุด เราจะได้ภาพนิ่งที่ถูกเจาะในบริเวณที่ต้องการ 10. ที่แถบช่วงเวลาใน Timeline ให้เราเลื่อนปรับจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด ของการเคลื่อนไหว เพื่อหาช่วงที่สามารถวนลูปได้เนียนที่สุด ซึ่งเราสามารถกดปุ่ม Play เพื่อดูการเคลื่อนไหวได้ และ สามารถคลิกที่ปุ่มรูปเฟือง เพื่อตั้งค่า ความละเอียดในการแสดงภาพจาลอง หรือ ตั้งค่าการเล่นวนลูปได้ 11. บันทึกภาพโดยไปที่ File > Export > Save for Web (Legacy). ปรับตั้งค่า ตามที่ต้องการ โดยในตัวอย่างนี้ ตั้งค่าเป็น GIF Colors : 256 Dither : 100% Looping Option : Forever
  • 51.
  • 52. https://youtu.be/d8LtQCzUw6s เทคนิควันนี้ มาจากทาง Adobe ซึ่งได้ทาซีรี่ย์ชื่อ ‘Make it now’ เป็นคลิปสอนเทคนิคสั้นๆ 1 นาที ให้กับโปรแกรมต่างๆใน Adobe CC เพื่อให้ทุกคนสามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆได้ด้วยตัวเอง