SlideShare a Scribd company logo
1
MULTIMEDIA
WITH PREMIERE
1
ขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ในมุมมองของนักตัดต่อ
2
การวางโครงเรื่อง
(Storyboard)
การจัดเตรียม
ภาพยนตร์
ทําการตัดต่อ
ภาพยนตร์
การแปลงไฟล์
ภาพยนตร์
1
2
2
ความเข้าใจเกี่ยวกับไฟล์
3
Broadcast Television
ระบบทีวี เส้น ฟิลด์ ประเทศ
NTSC-M 525 60 US&Other
NTSC-Japan 525 60 Japan
PAL-B,G,H 625 50 West/CenEurope และThai
PAL-D 625 50 China
PAL-I 625 50 UK,Ireland & South Africa
SECAM 625 50 East/MiddelEurope
4
3
4
3
มาตรฐานแผ่น VCD
คุณสมบัติ PAL NTSC
ขนาด 352x288 352x240
Bit Rate
Video 1.15 Mbps
และ Audio 224 Kbps
Video 1.15 Mbps
และ Audio 244 Kbps
Frame Rate 25 29.97
5
รูปแบบของการบีบอัดข้อมูลวิดีโอ
Audio Video Interleave (AVI) : เป็นมาตรฐานรูปแบบการ
แสดงผลวิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท์ โดยกําหนดความละเอียดสูงสุดของ
วิดีโอเอาไว้ที่ 320x240 จุดสี ที่ความเร็ว 30 ภาพต่อวินาที ซึ่งถือว่ามี
คุณภาพของภาพและเสียงที่ไม่ดีเท่าที่ควร ไม่สามารถแสดง
ภาพเคลื่อนไหวที่ขนาดเต็มจอภาพได้ ไม่จําเป็นต้องมีอุปกรณ์แสดงผล
เพิ่มเติมพิเศษใด ๆ
6
5
6
4
รูปแบบของการบีบอัดข้อมูลวิดีโอ
Quick Time : เป็นอีกมาตรฐานการแสดงผลวิดีโอที่พัฒนาโดย
บริษัทแอปเปิล เพื่อเป็นมาตรฐานในการดูวิดีโอรูปแบบต่าง ๆ ใน
ระบบปฏิบัติการของเครื่อง Macintosh นิยมใช้กันมาก เนื่องจาก
สามารถรองรับการบีบอัดข้อมูลวิดีโอได้หลายรูปแบบ
Motion Picture Expert Group (MPEG) : เป็น
มาตรฐานการแสดงผลวิดีโอขั้นสูงที่มีคุณภาพดีกว่า AVI หรือ Quick 
Time แต่ต้องอาศัยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมพิเศษช่วยใน
การแสดงผลมีมาตรฐานออกมาเป็นที่รู้จักกัน 2 แบบ
7
Motion Picture Expert Group (MPEG)
 MPEG‐1 เป็นมาตรฐานอันแรกที่ออกมาเพื่อใช้แสดง
ภาพวิดีโอที่ความละเอียด 352x240 จุดสี ที่ความเร็ว 30
ภาพต่อวินาที คุณภาพของภาพจะตํ่ากว่าวิดีโอเทปเล็กน้อย
 MPEG‐2 เป็นมาตรฐานใหม่ที่ออกมา ด้วยความ
ละเอียดของภาพที่ 720x480 หรือ 1280x720 จุดสี ที่
ความเร็วสูงถึง 60 ภาพต่อวินาที ด้วยคุณภาพเสียงระดับ
Audio CD จึงทําให้มาตรฐาน MPEG ‐2 เป็นที่ยอมรับ
ในการแสดงผลวิดีโอคุณภาพสูง ในปัจจุบัน
8
7
8
5
Type of color display system
True Color System
– ระบบสีจริง การส่งข้อมูลสีไปสู่หน้าจอโดยตรง
– เก็บค่าสี ที่ 24/16 bits per pixel
– แสดงค่าสีตั้งแต่ 65,536 – 16.7 ล้านสี
– JPG, BMP(24), TIFF(24)
Index Color System
– ระบบสีแบบเปิดตาราง มีการส่งสัญญาณเพื่ออ่านค่าสีจากตารางสี เมื่อได้
ค่าสีที่แท้จริง จึงส่งกลับไปยังจอภาพ
– เก็บค่าสีที่ 8 bits per pixel
– สามารถแสดงสีได้ครั้งละ 256 สี แต่สามารถลือกได้ 16.7 ล้านสี
– GIF, BMP(8), TIFF(8)
9
การทํางานกับโปรแกรม
10
9
10
6
การเข้าสู่โปรแกรม
1. คลิก Start
2. เลือก Programs 
3. เลือก Adobe Premiere Pro CC 2018
11
การสร้างไฟล์ใหม่
• คลิกเลือกที่ New Project  เพื่อสร้าง Project ใหม่
• ช่อง Available Preset : ทําการกําหนดคุณสมบัติของ
ไฟล์วีดีโอตาม Footage ที่เตรียมไว้
• ช่อง Location :ทําการกําหนดแหล่งจัดเก็บ Project โดย
คลิกปุ่ม Browse… 
• ช่อง Name :ทําการตั้งชื่อ Project
• คลิกปุ่ม OK 
12
11
12
7
หน้าต่างสําหรับเลือกรูปแบบ
13
หน้าต่างการสร้างไฟล์ใหม่
14
13
14
8
ส่วนประกอบของโปรแกรม
15
Project
Clip Monitor
Timeline
Panel
Output Monitor
คําศัพท์ที่ใช้ใน Premiere
โปรเจ็คต์ หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างหรือกําลังตัดต่ออยู่ เรียกไฟล์
งานนั้น ๆ ว่า “Project  (โปรเจ็คต์)”  ซึ่งครอบคลุมงานทั้งชิ้นของเรา
คลิป หมายถึง ไฟล์วิดีโอ ไฟล์ภาพและไฟล์เสียงต่าง ๆ ที่เราทําการ
Import  หรือเรานําเข้ามาใช้ในโปรเจ็คต์ โดยแต่ละไฟล์เราจะเรียกว่า
“Clip  (คลิป)”
16
15
16
9
คําศัพท์ที่ใช้ใน Premiere
Track หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline  ซึ่งแต่ละเลเยอร์เราจะ
เรียกว่า “Track (แทร็ก)” เช่น เลเยอร์ของ Video 1 เราเรียกว่า
Track ของ Video  1 โดย Track  เหล่านี้ใช้สําหรับตัดต่อ
ภาพยนตร์และตัดต่อเสียงรวมทั้งเพิ่มเทคนิคพิเศษต่าง ๆ
เฟรม หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่ใน Timeline  ซึ่งแต่ละ
ช่องนี้จะแสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่ในคลิป โดยจะเรียงต่อกันไปเรื่อย ๆ
เหมือนกับฟิล์มถ่ายหนังและจะเรียกช่องเหล่านี้ว่า “Frame (เฟรม)”
17
คําศัพท์ที่ใช้ใน Premiere
ซีเควนส์ หมายถึง ลําดับหรือฉาก ๆ หนึ่งของภาพยนตร์ที่เรียงกันเป็น
เรื่อง ซึ่งในโปรแกรม Premiere  ได้นําเอาคํานี้มาใช้เรียกหน้าต่าง
ย่อยในการจัดลําดับคลิป บนหน้าต่าง Timeline  เพื่อให้เกิดเป็น
ภาพยนตร์ว่า “Sequence (ซีเควนส์)”
18
17
18
10
การใช้งานคลิป
19
ประเภทของคลิป
คลิปที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอมี 3 รูปแบบ
–คลิปวีดีโอ เช่น *.avi,*.mov,*.mpeg,*.wmv
–คลิปเสียง เช่น *.mp3,*.wav,*.wma
–คลิปภาพ เช่น *.jpg,*.psd,*.png
20
19
20
11
การ Import คลิปเข้ามาทํางาน
• เลือกเมนู File  เลือกคําสั่ง Import
• เลือกไฟล์วิดีโอที่ต้องการ
• คลิกปุ่ม Open
21
การจัดการเกี่ยวกับคลิป
การจัดการคลิปแบ่งเป็น 2 รูปแบบดังนี้
– การเตรียมคลิปและจัดการคลิปก่อนนําลงบน Timeline
– การจัดการคลิปบน Timeline เพื่อการตัดต่อ
22
21
22
12
การจัดการคลิปก่อนนําลงบน Timeline
ขั้นตอนการทํางานดังนี้
• ตั้งภาพประจําเพื่อบ่งบอกเรื่องราวของคลิป
• จัดเรียงคลิปในรูปแบบต่างๆ
• เก็บคลิบให้เป็นหมวดหมู่
• การเปลี่ยนชื่อคลิป
• การนําคลิปต้นฉบับเข้ามาตัดต่อ
23
การจัดเรียงคลิป
หน้าต่าง Project สามารถแสดงคลิปได้ 2 รูปแบบ
–List  ใช้จัดเรียงคลิปให้แสดงรายละเอียดของคลิป
–Icon ใช้จัดเรียงคลิปให้เรียงเป็นรูปแบบไอคอน
24
23
24
13
การเก็บคลิปให้เป็นหมวดหมู่
1. คลิกที่คลิปที่ต้องการเริ่มจัดหมวดหมู่
2. คลิกปุ่ม Bin  บนหน้าต่าง Project 
25
การนําคลิปไปวางบนหน้าต่าง Timeline
1. คลิกที่คลิปที่ต้องการ
2. คลิกปุ่ม Automate to Sequence บนหน้าต่าง Project
26
25
26
14
การลบ Bin ออกจาก Project
1. คลิกเลือก Bin ที่ต้องการ
2. คลิกปุ่ม Clear บนหน้าต่าง project
27
การค้นหาคลิป
คลิกปุ่ม Find บนหน้าต่าง Project
ใส่รายละเอียดคลิปที่ต้องการหาในช่อง Find What 
คลิกปุ่ม Find
28
27
28
15
การเปลี่ยนชื่อคลิป
1. คลิกขวาที่คลิปที่ต้องการเปลี่ยนชื่อ
2. เลือกคําสั่ง Rename
3. พิมพ์ชื่อที่ต้องการ
4. กด Enter
29
การลบคลิป
1. คลิกขวาที่คลิปที่ต้องการลบ
2. เลือกคําสั่ง Clear
3. หรือ คลิกที่ปุ่ม Clear 
4. หรือ กดปุ่ม Delete ที่ Keyboard
30
29
30
16
การแสดงคลิปบนหน้าต่าง Monitor
• ใช้แถบเครื่องมือบนหน้าต่าง Monitor
31
การนําคลิปต้นฉบับจากหน้าต่าง Project มาทํางานบนMonitor
วิธีที่ 1
• คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการ
• ลากมาปล่อยที่ Monitor 
ซ้าย
วิธีที่ 2
• ดับเบิ้ลคลิกที่คลิปในหน้าต่าง
Project เพื่อแสดงคลิป
32
31
32
17
การนําคลิปต้นฉบับเข้ามาบางส่วน
• ตั้งค่าเฟรมเริ่มต้น
– คลิกที่ปุ่ม Timecode 
– พิมพ์เวาลาไปที่เฟรมที่เรา
กําหนด
– คลิกที่ เพื่อกําหนด In 
Point
• ตั้งค่าเฟรมสุดท้าย
– คลิกที่ Timecode
– พิมพ์เวลาไปที่เฟรมที่ต้องการ
– คลิกที่ เพื่อกําหนด
Out Point
33
คลิกลากคลิปจากหน้าต่าง Monitor ไปวางที่ Timeline
การปรับเปลี่ยนเวลา In/Out Point
คลิกที่คลิปบน Monitor
คลิกปุ่ม เพื่อกําหนดเวลา In Point
พิมพ์เวลาที่ต้องการ
กด Enter
คลิกปุ่ม เพื่อกําหนดเวลา Out Point
พิมพ์เวลาที่ต้องการ
กด Enter
34
33
34
18
การเริ่มตัดต่อบน Timeline
35
การนําคลิปต้นฉบับมาทํางานบน Timeline
วิธีที่1
• คลิกที่หน้าต่าง Project
• คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการ
• ลากมาปล่อยที่ Timeline
วิธีที่ 2
• คลิกเมาส์ค้างที่คลิปบน
Monitor
• ลากมาปล่อยที่ Timeline
36
35
36
19
การแสดงคลิปบน Timeline
คลิกปุ่ม บนหน้าต่าง Timeline
เลือกรูปแบบที่ต้องการ
– Show Head and title: แสดงภาพในช่วงหัวท้ายของคลิป
– Show Head Only : แสดงภาพเฉพาะช่วงหัวของคลิป
– Show Frame : แสดงภาพในแต่ละช่วงของคลิป
– Show Name Only : แสดงชื่อของคลิปเท่านั้น
37
การขยายและย่อมุมมองของคลิป
• คลิกเลือนแถบ (Zoom) บน Timeline
• ปุ่ม ใช้ย่อมุมมอง
• ปุ่ม ใช้ขยายมุมมอง
• แถบ คลิกค้างแล้วเลื่อนเพื่อปรับย่อและขยาย
38
37
38
20
การแยกเสียงออกจากคลิปวีดีโอ
1. คลิกขวาที่คลิปที่ต้องการ
2. เลือกคําสั่ง Unlink
39
การทําให้ไฟล์เสียงและภาพติดกัน
1. คลิกเลือกคลิปภาพ และ คลิปเสียง ที่ต้องการที่หน้าต่าง
Timeline
2. คลิกขวา เลือกคําสั่ง Link
การกําหนดความเร็วในการแสดงคลิป
1. คลิกเลือก Track ที่ต้องการบน Timeline
2. เลือกเมนู Clip เลือกคําสั่ง Speed/Duration…
3. กําหนดความเร็วที่ต้องการ
– Speed กําหนดความเร็วของคลิปเพิ่มจากเดิมเป็นเปอร์เซนต์
– Duration กําหนดความเร็วตามความต้องการเอง
(0:00:00:00:00 คือ ชม.:นาที:วินาที:จํานวนเฟรม)
4. คลิกปุ่ม OK
40
39
40
21
การกําหนดให้เล่นคลิปถอยหลัง
1. เลือกคลิปที่ต้องการที่ Timeline
2. เลือกเมนู Clip เลือกคําสั่ง Speed/Duration…
3. คลิกเลือกที่ Reverse Speed 
41
การระบุเฟรมสําคัญด้วย Marking
1. เลื่อนตัวเลื่อนเฟรมไปยังเฟรมที่ต้องการ
2. คลิกปุ่ม Set Unnumdered Marker บน
หน้าต่าง Timeline
42
การล็อคคลิปไม่ให้วางซ้อนกัน
1. ก่อนที่จะทําการวางคลิปใหม่
2. คลิกที่ปุ่ม Snap
3. คลิกค้างที่คลิปใหม่ที่ต้องการมาวางที่ Timeline 
41
42
22
รายละเอียดแถบเครื่องมือต่างๆ
• เลื่อนไปที่ต้นคลิป
• เลื่อนไปที่ปลายสุดของคลิป
• เลื่อนกลับไปที่จุด Mark ก่อนหน้า
• เดินหน้าไปยังจุด Mark ถัดไป
• ให้แสดงเฟรมโดยย้อนหลังทีละเฟรม
• แสดงเฟรมถัดไปทีละเฟรม
43
การเพิ่ม Track ให้คลิปบน Timeline
1. คลิกขวาที่ Track ใดก็ได้บน Timeline
2. เลือกคําสั่ง Add track
3. กําหนดรายละเอียด
4. คลิกปุ่ม Ok
44
43
44
23
การกําหนดการเพิ่ม Video Track
45
ระบุจํานวน Track
ระบุตําแหน่งการวาง Track
การกําหนดการเพิ่ม Audio Track
46
ระบุจํานวน Track
ระบุตําแหน่งการวาง Track
ระบุชนิดของ Audio Track
45
46
24
การกําหนดการเพิ่ม Audio Submix Track
47
ระบุจํานวน Track
ระบุตําแหน่งการวาง Track
ระบุชนิดของ Audio Submix Track
เครื่องมือที่ใช้ในการตัดต่อ
เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อมี 2 ส่วน คือ
• Tools 
• Monitor
48
47
48
25
การแทรกคลิปบน Timeline แบบ Insert
1. คลิกเลือกตําแหน่งที่ต้องการแทรกบน Timeline
2. เลือกคลิปที่ต้องการที่หน้าจอ Monitor
3. คลิกปุ่ม (Insert)
4. คลิกเลือกคลิปที่ต้องการแทรก
5. จะได้คลิปใหม่เพิ่มโดยไม่ทับกับคลิปเดิม
49
การแทรกคลิปบน Timeline แบบ Overley
1. คลิกเลือกตําแหน่งที่ต้องการแทรกบน Timeline
2. คลิกปุ่ม (Overley)
3. คลิกเลือกคลิปที่ต้องการแทรก
4. จะได้คลิปใหม่เพิ่มทับกับพื้นที่ของคลิปเดิม
50
49
50
26
การลบคลิปบางส่วนแบบ Lift
1. เลือกคลิปที่ต้องการตัดออกบน Timeline
2. ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point ที่ต้องการบน
หน้าต่าง Sequence
3. คลิกปุ่ม (Lift)
4. ส่วนที่ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point จะถูกตัดไป
51
การลบคลิปบางส่วนแบบ Extract
1. เลือกคลิปที่ต้องการตัดออกบน Timeline
2. ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point ที่ต้องการบน
หน้าต่าง Sequence
3. คลิกปุ่ม (Extract)
4. ส่วนที่ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point จะถูกตัดไป
52
51
52
27
เลือกคลิปที่ต้องการด้วย Selection Tool
• เลือกคลิปเดียว
– คลิกที่ Selection Tool
– คลิกที่คลิปที่ต้องการ
• เลือกหลายคลิปติดกัน
– คลิกค้างจากที่ว่างๆบน Timeline
– ลากคลุมคลิปที่ต้องการ
53
การย้ายตําแหน่งคลิป
1. คลิกเลือกที่ไปยังตําแหน่งที่ต้องการคลิปที่ต้องการ
2. คลิกค้างแล้วลาก
54
การลบคลิป
คลิกเลือกที่คลิปที่ต้องการ
กดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด
53
54
28
การย่อขยายคลิป
1. คลิกที่ขอบของคลิปที่ต้องการย่อหรือขยาย
2. ให้เมาส์เปลี่ยนรูปเป็น
3. คลิกเมาส์ค้างลากเข้าเพื่อย่อ คลิกออกเพื่อขยาย
55
การเลือกคลิปด้วย Track Select Tool
1. คลิกที่ Track Select Tool
2. คลิกที่คลิปบน Timeline
56
55
56
29
ปรับความยาวของคลิปด้วย (Ripple Edit Tool)
1. คลิกที่ (Ripple Edit Tool)
2. คลิกที่ขอบของคลิปที่ต้องการย่อหรือขยาย
3. ให้เมาส์เปลี่ยนรูปเป็น
4. คลิกเมาส์ค้างลากเข้าเพื่อย่อ คลิกออกเพื่อขยาย
57
การตัดคลิปด้วย (Razor Tool)
1. คลิกที่
2. นําไปคลิกเลือกตําแหน่งที่ต้องการตัดบนคลิป
58
57
58
30
เลื่อนเฟรมที่อยู่ในคลิปด้วย (Slip Tool)
1. คลิกที่ (Slip Tool)
2. คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการแล้วลากเข้า หรือ ออก
3. จะได้เฟรมในคลิปที่ถูกซ่อนไว้ออกมาแสดง
59
การปรับรายละเอียด Keyframe ด้วย
1. คลิกปุ่ม เพื่อเปิดเครื่องมือ
2. เลือก Show Opacity Handles
3. คลิกปุ่ม
4. เลือกคลิปที่ต้องการปรับ
60
59
60
31
การปรับรายละเอียด Keyframe (ต่อ)
1. คลิกเลือกตําแหน่งที่ Timeline
2. คลิกปุ่ม Add/Remove Keyframe
3. จะปรากฏจุดเล็กๆบนคลิป
4. คลิกค้างที่จุดแล้วลากเพื่อเลื่อนปรับไปตําแหน่งที่ต้องการ
61
การเลือนคลิปด้วย (Hand Tool)
1. คลิกที่ (Hand Tool)
2. คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการ
3. ลากไปตําแหน่งที่ต้องการ
62
61
62
32
เครื่องมือใน Video Track และ Audio Track
63
Toggle Track Output
Toggle Track Lock
การเปลี่ยนฉากด้วย Transitions
64
63
64
33
65
การใช้ Transitions
1. เลือกเมนู Windows
2. เลือกคําสั่ง Effects
3. เลือก Video Transitions
4. ลาก Transitions ที่ต้องการมาปล่อยไว้ระหว่างคลิป
66
65
66
34
การปรับแต่ง Transitions
1. คลิกที่ Transition ที่ต้องการปรับแต่ง
2. เลือกเมนู Windows 
3. เลือกคําสั่ง Effect Controls
4. กําหนดรายละเอียดที่ต้องการ
67
68
แสดงผลลัพธ์
ระยะเวลาในการแสดงผล
แสดงส่วน Transition
ระหว่างคลิป
ตั้งค่าจุดเริ่มต้น
Transition
ตั้งค่าจุดสิ้นสุด
Transition
กําหนดจุดเริ่มต้นการ
เปลี่ยนฉากที่คลิปที่ 2
67
68
35
การลบ Transitions
1. คลิกเลือก Transitions ที่ต้องการ
2. กดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด
หรือ
1. คลิกขวาที่ Transitions ที่ต้องการ
2. เลือกคําสั่ง Clear 
69
Transition ที่นิยมใช้
• Curtain
• Additive Dissolve
• Iris Cross
• Iris Diamond
• Center Peel
• Swap
• Clock Wipe
• Zoom Boxs
70
69
70
36
ทํางานกับเสียง
71
ชนิดของคลิปเสียง
ชนิดของคลิปเสียงในโปรแกรม Premiere  มี 2 รูปแบบ ดังนี้
คลิปเสียงธรรมดา
เป็นคลิปที่มีเฉพาะเสียงเท่านั้น เช่น คลิปเพลง คลิปเสียง
ประกอบ
คลิปเสียงประกอบคลิปวิดีโอ
เป็นคลิปเสียงที่มาพร้อมกับคลิปวิดีโอ โดยจะแสดงไปพร้อมกัน
อย่างสอดคล้อง
72
71
72
37
ประเภทของเสียงใน Premiere
ระบบเสียงแบบ Mono
เป็นระบบเสียงที่มีช่องสัญญาณเสียงเดียว
ระบบเสียงแบบ Stereo
เป็นระบบเสียงที่มี 2 ช่องสัญญาณ
ระบบเสียงแบบ 5.1 Channel
เป็นระบบเสียงที่แสดงเสียงออกทางลําโพง 6 ตัว หรือ
เรียกลัษณะเสียงแบบนี้ว่า “ระบบเสียง Surround”
73
การใส่เสียง
การ Import  เสียงเข้ามาในโปรเจ็กต์
1. เลือก FileImport…. หรือกดปุ่ม <Ctrl+l>  ที่คีย์บอร์ด
2. เลือกไฟล์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม
3. รอสักครู่ ไฟล์เสียงจะถูกเรียกเข้ามาอยู่ที่หน้าต่าง Project
74
73
74
38
การใส่เสียงบน Timeline
การวางคลิปเสียงบน Timeline  จะเหมือนกับการวางคลิปวิดีโอ
โดยที่คลิปเสียง 1 คลิปจะวางไว้บน Audio  Track ซึ่งเราสามารถ
กําหนดหรือเลือกได้ว่าจะวางคลิปเสียงไว้ใน Track
75
การกําหนดรูปแบบของคลิปออดิโอ
76
แสดงคลื่นเสียง
แสดงเฉพาะชื่อ
75
76
39
การปรับระดับเสียงบน Timeline
1. คลิกเลือก ที่ Audio   Track
2. จากนั้นจะแสดงเมนู ให้คลิกเลือก Show  Clip  KeyFrame
3. คลิกเลือก Volume : BypassVolumeLevel
4. ใช้เครื่องมือ (Pen  Tools)
77
การใส่ Transitions ให้กับคลิปออดิโอ
Transitions  ให้กับคลิปออดิโอจะมีการทํางานคล้ายกับ
Transition  ของวิดีโอนั่นคือ สามารถเพิ่ม Transition  ระหว่าง
คลิปเสียงทั้ง 2 คลิปเพื่อสร้างให้การต่อเนื่องของเสียงทั้ง 2 คลิป ที่เรียง
ต่อกันราบรื่นขึ้น โดยอาจเรียก Transitions  ของออดิโอได้อีกอย่าง
หนึ่งว่า Cross‐Fade  ซึ่งจะมีเพียง 2 Transitions  นั้นคือ
Constant  Gain  และ Constant  Power
78
77
78
40
วิธีใส่ Transitions ให้กับคลิปออดิโอ
1. คลิกเลือกป้ าย Effects
2. แล้วเลือก Audio  Edit  transitions
3. แล้วเลือก Transitions
79
การเพิ่ม Track เสียง
Premiere  สามารถเพิ่มเสียงได้มากเท่าที่เรา
ต้องการ เริ่มแรกจะมี 3 Track โดยเราสามารถเพิ่มได้จาก
หน้าต่าง Timeline
ขั้นตอนการเพิ่ม Track
1. คลิกขวาที่ Audio  Track 
ในหน้าต่าง Timeline
2. เลือก Add  Tracks…..
80
79
80
41
การเพิ่ม Track เสียง(ต่อ)
1. กําหนดจํานวน Track ที่ต้องการเพิ่ม
2. แล้วกดปุ่ม
3. จะได้ Track  ที่เราต้องการเพิ่มจากเดิมตามจํานวนที่เรา
กําหนด
81
การตัดต่อด้วย Sequence
82
81
82
42
การสร้าง Sequence
1. คลิกที่ปุ่ม บนหน้าต่าง project 
2. เลือกคําสั่ง Sequence
3. กําหนดรายละเอียด
– Sequence Name : ใส่ชื่อ Sequence
– Video : กําหนดจํานวน Video Track
– Audio : กําหนดระบบเสียงของ Audio Track
4. คลิกปุ่ม OK
83
การรวม Sequence
1. สร้าง Sequence หลัก
2. คลิกลาก Sequence ส่วนที่ 1
3. ปล่อยที่ Timeline ของ Sequence หลัก
4. คลิกลาก Sequence ส่วนที่เหลือมาวางรวมกัน
84
83
84
43
การสร้างไตเติ้ล
85
การสร้างไตเติ้ล
“ก่อนจะเริ่มฉายภาพยนตร์สักเรื่องหนึ่ง สิ่งที่เราสังเกต
คือมักจะมีไตเติ้ลขึ้นมาก่อน โดยเขียนชื่อว่าใครเป็นผู้กํากับ ใครเขียนบท
และหนังชื่ออะไร แม้กระทั่งตอนจบก็มีรายนามของผู้สร้าง นักแสดง ผู้
กํากับ คนเขียนบท อีกครั้ง ซึ่งนับว่าไตเติ้ลเป็นส่วนที่เข้ามาเพิ่มความ
สมบูรณ์ให้กับภาพยนต์ของเรามากขึ้น”
86
85
86
44
ควายหมายของไตเติ้ล
ไตเติ้ล (Title) เป็นตัวอักษรที่ใช้ประกอบในภาพยนตร์
เพื่อสื่อถึงหลายละเอียดของภาพยนตร์นั้น เช่น ชื่อเรื่อง ทีมผู้สร้าง
นักแสดง หรือจะเป็นการบอกเรื่องราวของคลิปวิดีโอว่าคลิปนี้มีความเป็นมา
อย่างไร
87
ไตเติ้ลก่อนฉาย ไตเติ้ลหลังฉาย
การสร้างไตเติ้ล
ขั้นตอนการสร้างไตเติ้ล
1. หน้าต่าง Project
2. คลิกที่ปุ่ม
3. New  Item
4. เลือก Title….
88
87
88
45
การสร้างไตเติ้ล(ต่อ)
1. ตั้งชื่องานเรื่องที่เราจะสร้างในช่อง Name
2. คลิกปุ่ม
89
การสร้างไตเติ้ล(ต่อ)
ปรากฎหน้าต่าง Adobe  Title  Designer  เพื่อสร้างไตเติ้ล
90
89
90
46
เครื่องมือในการสร้างไตเติ้ล
91
กลุ่มคําสั่งการ
จัดเรียงไตเติ้ล
พื้นที่การทํางาน
(Work Area)
กลุ่มเครื่องมือจัดรูปแบบไตเติ้ล
กลุ่มเครื่องมือ
สร้าง Stryle
กลุ่มคําสั่งกําหนด
คุณสมบัติของไตเติ้ล
กลุ่มเครื่องมือสร้างไตเติ้ล
การทํางานกับคลิป Video
ด้วย Keyframe
92
91
92
47
Keyframe
เฟรมที่ถูกกําหนดค่าการกระทําใดๆ ลงไป เพื่อระบุให้เฟรมนั้นเป็น
เฟรมหลักในการทํางาน จะใช้เมื่อต้องการสร้างงานบางอย่างเป็นพิเศษ
โดยจะมีการระบุ Keyframe เริ่มต้นและ Keyframe สุดท้ายก่อน
เสมอ
93
วิธีการกําหนด Keyframe
1. คลิกที่ปุ่ม
2. เลือกคําสั่ง Show Keyframes
3. คลิกเลือกคลิปที่ต้องการกําหนด Keyframe
4. เลื่อนตัวเลื่อนเฟรมไปตําแหน่งที่ต้องการกําหนดบน Timeline
5. คลิกที่ปุ่ม เพื่อกําหนด Keyframe
6. จะปรากฏ ขึ้นมาที่เส้นสีเหลืองที่พาดผ่านกลางคลิป
94
93
94
48
การลบ Keyframe
1. คลิกที่เฟรมที่ไม่ต้องการ
2. กดปุ่ม Delete
95
คลิกเลือกแล้วกด Delete ที่
คีย์บอร์ด
การ Fade ภาพ
เป็นรูปแบบหนึ่งในการเปลี่ยนฉาก โดยการทําให้ภาพแรกค่อยๆ
หายไปแล้วภาพที่สองค่อยๆ ฉายขึ้นมา
96
95
96
49
การใช้ Keyframe ในการ Fade ภาพ
1. เรียง Keyframe ให้เป็นเส้นตรงชิดขอบบนของคลิป เพื่อกําหนดให้
แสดงภาพให้ชัดเจน
2. คลิกลาก Frame ย้ายตําแหน่งให้ลดระดับลง เพื่อกําหนดให้แสดง
ภาพให้มืดลง
97
การใช้ Keyframe ในการสร้างคลิปเคลื่อนไหว
1. คลิกที่แถบ Opacity
2. เลือก Motion เลือก Scale
3. เลือกเมนู Window เลือก Workspace  เลือก Effect
4. คลิกที่ปุ่ม ที่ Scale เพื่อกําหนดให้สร้าง Keyframe ตลอด
การทํางาน
5. เลื่อนตัวเลื่อนเฟรมที่หน้าต่าง Effect Controls มายังจุดที่
ต้องการให้ฉากขยายเต็มจอ
6. ทดลองเล่นคลิป
98
97
98
50
การใช้ Keyframe ในการสร้างคลิปเคลื่อนไหว
99
คลิก Opacity เลือก Motion เลือก Scale
เลือกเมนู Windows เลือก
Workspace เลือก Effect
การใช้ Keyframe ในการสร้างคลิปเคลื่อนไหว
100
คลิกเพื่อ
กําหนดให้มี
การสร้าง
Keyframe
คลิกเลือกตําแหน่งการ
แสดงภาพของคลิป
เลื่อนแถบเพื่อกําหนดขนาดการ
แสดงบนจอภาพของ Keyframe
ผลการปรับต่าง
จุด Keyframe จะแสดง
เมื่อทําการปรับแต่ง
99
100
51
สร้างคลิปวิดีโอจากภาพนิ่ง
101
สร้างคลิปวิดีโอจากภาพนิ่ง
• เคลื่อนไหวโดยการย่อ/ขยายขนาดภาพ
• เคลื่อนไหวโดยการหมุนภาพ
• เคลื่อนไหวโดยการเปลี่ยนตําแหน่งภาพ
102
101
102
52
สร้างคลิปวิดีโอจากภาพนิ่ง(ต่อ)
103
กลุ่มคําสั่ง Motion ในหน้าต่าง Effect Controls
เคลื่อนไหวโดยการย่อ/ขยายขนาดภาพ
ลักษณะแบบนี้ใช้คําสั่ง Scale ในหัวข้อ Motion เป็นหลัก
104
คําสั่ง Scale
103
104
53
เคลื่อนไหวโดยการหมุนภาพ
105
ลักษณะแบบนี้ใช้คําสั่ง Rotation ในหัวข้อ Motion เป็นหลัก
คําสั่ง Rotation
เคลื่อนไหวโดยการเปลี่ยนตําแหน่งภาพ
106
ลักษณะแบบนี้ใช้คําสั่ง Position ในหัวข้อ Motion เป็นหลัก
คําสั่ง Position
105
106
54
การแก้ไขรายละเอียดของคีย์เฟรม (ต่อ)
107
การใส่เอ็ฟเฟ็คให้คลิปวิดีโอ
108
107
108
55
สร้างการซ้อนฉากแบบ Blue Screen
การซ้อนฉากแบบนี้หลายคนคงเคยได้ยินกันมาบ้าง ซึ่งเป็นการ
ซ้อนฉากแบบหนึ่ง โดยใช้ฉากหลังเป็นสีนํ้าเงิน (การถ่ายทําเป็นพื้นหลังสี
นํ้าเงิน) แล้วใช้เทคนิคพิเศษในการตัดฉากที่เป็นสีนํ้าเงินออกไป เทคนิคนี้
เรียกว่า Blue Screen
109
สร้างการซ้อนฉากแบบ Blue Screen (ต่อ)
1. ทําการ Import คลิปวิดีโอและคลิปภาพพื้นหลัง
2. วางคลิปวิดีโอที่มีฉากหลังเป็น Blue Screen และคลิปที่ใช้เป็นภาพพื้น
หลังบนหน้าต่าง Timeline
3. ยืดความยาวของคลิปภาพ และคลิปวิดีโอให้เท่ากัน
4. เลือก Effects > Video Effects > Keying > Blue Screen Key
110
109
110
56
สร้างการซ้อนฉากแบบ Blue Screen (ต่อ)
111
1
2
3
การซ้อนฉากด้วยเอ็ฟเฟ็ค RGB Difference
ซึ่งเป็นการซ้อนฉากในลักษณะเดียวกับ Blue Screen เพียงแต่ไม่มี
การจํากัดสีของฉากหลังของคลิปวิดีโอ
112
111
112
57
การซ้อนฉากด้วยเอ็ฟเฟ็ค RGB Difference (ต่อ)
1. เลือกคําสั่ง Video Effects > Keying > RGB Difference Key
2. ลากเอ็ฟเฟ็ค RGB Difference Key ไปปล่อยบนคลิปที่ต้องการ
3. คลิก ค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปปล่อยบริเวณพื้นที่เป็นฉากหลัง
ของคลิป
4. สีฉากหลังของคลิปจะหายไป
113
การซ้อนฉากแบบ Track Matte
การสร้างภาพซ้อนแบบ Track Matte นั้น เป็นการสร้างภาพที่
แตกต่างกับการสร้างภาพซ้อนแบบ Blue Screen และ RGB Difference
เพราะเป็นการสร้างภาพซ้อนที่ใช้คลิปมากกว่า 2 คลิป โดยเราจะให้คลิป
แรกเป็นพื้นหลังหรือฉากหลัง (Background) คลิปที่ 2 เป็นส่วนที่เราต้องการ
แสดงหรือเป็นจุดเด่น และคลิปที่ 3 เป็นเหมือนหน้าต่างที่ให้คลิปที่ 2 แสดง
ลอดออกมา
114
113
114
58
การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ)
115
การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ)
แบ่งขั้นตอนการสร้างทั้งหมดได้ 2 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 สร้างหน้าต่างให้กับคลิป
ขั้นตอนที่ 2 ซ้อนคลิป
116
115
116
59
การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 1 สร้างหน้าต่างให้กับคลิป
1. Import คลิปที่ต้องการขึ้นมา 2 คลิป (คลิปจุดเด่น กับคลิปฉากหลัง)
2. นําคลิปจุดเด่นไปวางที่ Time Line ที่ Video2
3. คลิก เลือก Title… เพื่อสร้างคลิปที่เราต้องการให้เป็นช่องหน้าต่าง
4. คลิกที่  Show Video เพื่อแสดงฉากที่เราเลือกขึ้นมา
5. สร้างช่องหน้าต่างขึ้นมาโดยเลือกจากเครื่องมือทางด้านซ้าย
117
การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ)
118
คลิปเด่น วางที่
Video2
คลิปฉากหลัง วางที่ Video1
117
118
60
การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ)
119
เลือกเพื่อสร้างช่อง
หน้าต่าง
1
สร้างวงกลมจากเครื่องมือ
2
การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 2 ซ่อนคลิป
1. Import ไฟล์คลิปสุดท้ายเป็นช่องที่ให้คลิปเด่นแสดงผ่านเข้ามาที่
หน้าต่าง
2. ลากคลิปมาวางเรียงกันบน Timeline
– คลิปแรกวางบน Track Video1
– คลิปที่ 2 ต้องการให้เป็นคลิปเด่นของฉากไว้บน Track Video2
– คลิปสุดท้ายเป็นช่องที่ให้คลิปที่ 2 แสดงผ่านวางไว้บน Track Video3
3. เลือก Effects > Video Effects > Keying > Track Matte Key
120
119
120
61
การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 2 ซ่อนคลิป (ต่อ)
4. ลากเอ็ฟเฟ็คที่ต้องการ แล้วไปปล่อยไว้ที่คลิปจุดเด่นของฉาก
5. จากนั้นไปเปิด Effect Controls เราจะเห็นรูปวงกลมปรากฏทับอยู่บน
คลิปวิดีโอ
6. ในโหมด Track Matte Key ที่คําสั่ง Matte เลือก Video3
121
ฟังก์ชั่น และคลิปพิเศษอื่น ๆ
122
121
122
62
ฟังก์ชั่น และคลิปพิเศษอื่น ๆ
การสร้างองค์ประกอบต่าง ๆ ของภาพยนต์ทั่วไป เช่น ตัวนับถอยหลัง
( Counting Leader ), แถบสีหน้าจอ ( Bar and Tome ) 
และ Storyboard ที่รวบรวมโครงเรื่องที่ต้องการสร้าง เป็นต้น
123
124
ฟังก์ชั่น และคลิปพิเศษอื่น ๆ
• ตัวนับถอยหลัง ( Counting Leader )
• แถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone )
123
124
63
ตัวนับถอยหลัง ( Counting Leader )
Counting Leader หรือตัวนับถอยหลัง โดยทั่วไปก่อนการแสดง
ภาพยนต์ หรือเล่นคลิปทั่วไปมักจะมีการนับถอยหลังไปเรื่อย ๆ เช่น
...5,4,3,2,1 เป็นต้น ซึ่งมีประโยชน์ให้ผู้ชมเตรียมตัว และรู้ว่าภาพยนต์เรื่อง
นั้นกําลังจะฉาย
125
การสร้างตัวนับถอยหลัง ( Counting Leader )
1. คลิก เลือกคําสั่ง Universal Counting Leader…
2. จะปรากฏหน้าต่าง Universal Counting Leader ทําการ
กําหนดรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับตัวนับถอยหลังตามต้องการ
3. คลิกปุ่ม
4. จะปรากฏคลิป Universal Counting Leader บนหน้าต่าง
Project
5. ทําการลากคลิป Universal Counting Leader ไปวางที่
หน้าต่าง Timeline จากนั้นทําการตัดต่อได้ตามต้องการ
126
125
126
64
127
แถบสี ( Bar and Tone )
แถบสี หรือ Bar and Tone โดยทั่วไปจะมีการแสดงแถบสีก่อน หรือ
จบภาพยนต์ ซึ่งแถบสีที่ไล่โทน เพื่อแสดงสีต่าง ๆ โดยแถบสีนี้จะมี
ประโยชน์ในการเปรียบเทียบสีที่แสดงอยู่บนหน้าจอว่าแสดงสีเป็นไปตาม
ปรกติหรือไม่ อีกทั้งยังใช้แสดงในช่วงต้น และท้ายของภาพยนต์ ในกรณีที่
เราถ่ายทําเผื่อไว้ในช่วงต้น และปิดท้ายเมื่อฉายภาพยนต์จบ
การสร้างแถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone )
1. คลิก เลือกคําสั่ง Bar and Tone
2. จะปรากฏคลิป Bar and Tone บนหน้าต่าง Project
3. ทําการลากคลิป Bar and Tone ไปวางที่หน้าต่าง Timeline
จากนั้นทําการตัดต่อได้ตามต้องการ
128
127
128
65
129
การสร้างแถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone )
คลิก เลือกคําสั่ง
Bar and Tone
130
การสร้างแถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone )
คลิปของ Bar and Tone
จะปรากฏ
ที่หน้าต่าง Project
129
130
66
การ Export เพื่อเผยแพร่ไฟล์วิดีโอ
131
ขั้นตอนการ Export ไฟล์ AVI
1. เลือกเมนู File
2. เลือกคําสั่ง Export
3. เลือกคําสั่ง Movie…
4. ปรากฏหน้าต่าง Export Movie
– ในช่อง Save in : กําหนดแหล่งจัดเก็บไฟล์
– ในช่อง File Name : กําหนดชื่อไฟล์
5. คลิกปุ่ม
132
131
132
67
การตั้งค่า Video
เป็นส่วนของการกําหนดค่าคุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
โดยตรง ซึ่งจะมีผลต่อขนาดของไฟล์ คุณภาพ และรายละเอียดอื่น ๆ ที่จะ
แสดงออกมาด้วย โดยสามารถกําหนดค่าเหล่านั้นได้ ดังนี้
133
การตั้งค่า Video (ต่อ)
134
สําหรับไฟล์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์
สําหรับไฟล์ที่ใช้กับการ
แพร่ภาพทางสื่อวิดีโอ
133
134
68
การตั้งค่า Video (ต่อ)
Frame Size : เป็นการปรับขนาดของ Frame ซึ่งปรกติจะอยู่ที่อัตรา
4:3 ยกเว้น Digital Video ของระบบ CCIR‐601 ที่มีค่ามาตรฐาน
ต่างออกไป เช่น ระบบ NTSC D1 เท่ากับ 720:486 และ PAL D1 
720:576 เนื่องจากรูปร่างของ Pixel มีขนาดไม่เท่ากัน แต่หากเราได้เลือก
รูปแบบของไฟล์วิดีโอไว้ก่อนสร้าง Project แล้วค่า Frame Size จะ
ถูกกําหนดให้โดยไม่ต้องแก้ไขอีก
135
การตั้งค่า Video (ต่อ)
• Frame Rate : เป็นการตั้งค่าในการแสดงจํานวนภาพต่อวินาที
ซึ่งควรกําหนดค่าให้สอดคล้องกับการกําหนด Time Display เพื่อ
ไม่ให้เกิดความแตกต่างในการแสดงผล
• Pixel Aspect Ratio : เป็นการกําหนดอัตราส่วนของ Pixel ที่
ใช้แสดงบนหน้าจอ
136
135
136

More Related Content

Similar to Adobe premiere pro cc 2018

Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Pipit Sitthisak
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Pisit Noiwangklang
 
Introduction to Final Cut Pro X
Introduction to Final Cut Pro XIntroduction to Final Cut Pro X
Introduction to Final Cut Pro X
Henry Shen
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
ajpeerawich
 

Similar to Adobe premiere pro cc 2018 (6)

Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
 
Introduction to Final Cut Pro X
Introduction to Final Cut Pro XIntroduction to Final Cut Pro X
Introduction to Final Cut Pro X
 
การใช้งาน Any video converter
การใช้งาน Any video converterการใช้งาน Any video converter
การใช้งาน Any video converter
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 

More from smittichai chaiyawong

Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
smittichai chaiyawong
 
Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
smittichai chaiyawong
 
Cinemagraph by photoshop
Cinemagraph by photoshopCinemagraph by photoshop
Cinemagraph by photoshop
smittichai chaiyawong
 
Motion graphic by ppt
Motion graphic by pptMotion graphic by ppt
Motion graphic by ppt
smittichai chaiyawong
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
smittichai chaiyawong
 
การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013
smittichai chaiyawong
 
Excel 2013
Excel 2013Excel 2013
02 word 2013
02 word 201302 word 2013
02 word 2013
smittichai chaiyawong
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
smittichai chaiyawong
 
Ms outlook 2016
Ms outlook 2016Ms outlook 2016
Ms outlook 2016
smittichai chaiyawong
 
Windows 10
Windows 10Windows 10
แนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibreแนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibre
smittichai chaiyawong
 
Excel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finishExcel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finish
smittichai chaiyawong
 
Advance word2013
Advance word2013Advance word2013
Advance word2013
smittichai chaiyawong
 
เอกสาร Infographic
เอกสาร Infographicเอกสาร Infographic
เอกสาร Infographic
smittichai chaiyawong
 
slide intro Infographic
slide intro Infographicslide intro Infographic
slide intro Infographic
smittichai chaiyawong
 
Logical Excel
Logical ExcelLogical Excel
Logical Excel
smittichai chaiyawong
 
PowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 ConceptPowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 Concept
smittichai chaiyawong
 
Facebook marketingonline
Facebook marketingonlineFacebook marketingonline
Facebook marketingonline
smittichai chaiyawong
 
Summery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHETSummery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHET
smittichai chaiyawong
 

More from smittichai chaiyawong (20)

Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
 
Infographic presentation
Infographic presentationInfographic presentation
Infographic presentation
 
Cinemagraph by photoshop
Cinemagraph by photoshopCinemagraph by photoshop
Cinemagraph by photoshop
 
Motion graphic by ppt
Motion graphic by pptMotion graphic by ppt
Motion graphic by ppt
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013การใช้งาน Power point 2013
การใช้งาน Power point 2013
 
Excel 2013
Excel 2013Excel 2013
Excel 2013
 
02 word 2013
02 word 201302 word 2013
02 word 2013
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
 
Ms outlook 2016
Ms outlook 2016Ms outlook 2016
Ms outlook 2016
 
Windows 10
Windows 10Windows 10
Windows 10
 
แนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibreแนะนำ ProjectLibre
แนะนำ ProjectLibre
 
Excel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finishExcel 2010 basic finish
Excel 2010 basic finish
 
Advance word2013
Advance word2013Advance word2013
Advance word2013
 
เอกสาร Infographic
เอกสาร Infographicเอกสาร Infographic
เอกสาร Infographic
 
slide intro Infographic
slide intro Infographicslide intro Infographic
slide intro Infographic
 
Logical Excel
Logical ExcelLogical Excel
Logical Excel
 
PowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 ConceptPowerPoint2010 Concept
PowerPoint2010 Concept
 
Facebook marketingonline
Facebook marketingonlineFacebook marketingonline
Facebook marketingonline
 
Summery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHETSummery illustrator from PICHET
Summery illustrator from PICHET
 

Adobe premiere pro cc 2018

  • 2. 2 ความเข้าใจเกี่ยวกับไฟล์ 3 Broadcast Television ระบบทีวี เส้น ฟิลด์ ประเทศ NTSC-M 525 60 US&Other NTSC-Japan 525 60 Japan PAL-B,G,H 625 50 West/CenEurope และThai PAL-D 625 50 China PAL-I 625 50 UK,Ireland & South Africa SECAM 625 50 East/MiddelEurope 4 3 4
  • 3. 3 มาตรฐานแผ่น VCD คุณสมบัติ PAL NTSC ขนาด 352x288 352x240 Bit Rate Video 1.15 Mbps และ Audio 224 Kbps Video 1.15 Mbps และ Audio 244 Kbps Frame Rate 25 29.97 5 รูปแบบของการบีบอัดข้อมูลวิดีโอ Audio Video Interleave (AVI) : เป็นมาตรฐานรูปแบบการ แสดงผลวิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท์ โดยกําหนดความละเอียดสูงสุดของ วิดีโอเอาไว้ที่ 320x240 จุดสี ที่ความเร็ว 30 ภาพต่อวินาที ซึ่งถือว่ามี คุณภาพของภาพและเสียงที่ไม่ดีเท่าที่ควร ไม่สามารถแสดง ภาพเคลื่อนไหวที่ขนาดเต็มจอภาพได้ ไม่จําเป็นต้องมีอุปกรณ์แสดงผล เพิ่มเติมพิเศษใด ๆ 6 5 6
  • 4. 4 รูปแบบของการบีบอัดข้อมูลวิดีโอ Quick Time : เป็นอีกมาตรฐานการแสดงผลวิดีโอที่พัฒนาโดย บริษัทแอปเปิล เพื่อเป็นมาตรฐานในการดูวิดีโอรูปแบบต่าง ๆ ใน ระบบปฏิบัติการของเครื่อง Macintosh นิยมใช้กันมาก เนื่องจาก สามารถรองรับการบีบอัดข้อมูลวิดีโอได้หลายรูปแบบ Motion Picture Expert Group (MPEG) : เป็น มาตรฐานการแสดงผลวิดีโอขั้นสูงที่มีคุณภาพดีกว่า AVI หรือ Quick  Time แต่ต้องอาศัยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมพิเศษช่วยใน การแสดงผลมีมาตรฐานออกมาเป็นที่รู้จักกัน 2 แบบ 7 Motion Picture Expert Group (MPEG)  MPEG‐1 เป็นมาตรฐานอันแรกที่ออกมาเพื่อใช้แสดง ภาพวิดีโอที่ความละเอียด 352x240 จุดสี ที่ความเร็ว 30 ภาพต่อวินาที คุณภาพของภาพจะตํ่ากว่าวิดีโอเทปเล็กน้อย  MPEG‐2 เป็นมาตรฐานใหม่ที่ออกมา ด้วยความ ละเอียดของภาพที่ 720x480 หรือ 1280x720 จุดสี ที่ ความเร็วสูงถึง 60 ภาพต่อวินาที ด้วยคุณภาพเสียงระดับ Audio CD จึงทําให้มาตรฐาน MPEG ‐2 เป็นที่ยอมรับ ในการแสดงผลวิดีโอคุณภาพสูง ในปัจจุบัน 8 7 8
  • 5. 5 Type of color display system True Color System – ระบบสีจริง การส่งข้อมูลสีไปสู่หน้าจอโดยตรง – เก็บค่าสี ที่ 24/16 bits per pixel – แสดงค่าสีตั้งแต่ 65,536 – 16.7 ล้านสี – JPG, BMP(24), TIFF(24) Index Color System – ระบบสีแบบเปิดตาราง มีการส่งสัญญาณเพื่ออ่านค่าสีจากตารางสี เมื่อได้ ค่าสีที่แท้จริง จึงส่งกลับไปยังจอภาพ – เก็บค่าสีที่ 8 bits per pixel – สามารถแสดงสีได้ครั้งละ 256 สี แต่สามารถลือกได้ 16.7 ล้านสี – GIF, BMP(8), TIFF(8) 9 การทํางานกับโปรแกรม 10 9 10
  • 6. 6 การเข้าสู่โปรแกรม 1. คลิก Start 2. เลือก Programs  3. เลือก Adobe Premiere Pro CC 2018 11 การสร้างไฟล์ใหม่ • คลิกเลือกที่ New Project  เพื่อสร้าง Project ใหม่ • ช่อง Available Preset : ทําการกําหนดคุณสมบัติของ ไฟล์วีดีโอตาม Footage ที่เตรียมไว้ • ช่อง Location :ทําการกําหนดแหล่งจัดเก็บ Project โดย คลิกปุ่ม Browse…  • ช่อง Name :ทําการตั้งชื่อ Project • คลิกปุ่ม OK  12 11 12
  • 8. 8 ส่วนประกอบของโปรแกรม 15 Project Clip Monitor Timeline Panel Output Monitor คําศัพท์ที่ใช้ใน Premiere โปรเจ็คต์ หมายถึง ไฟล์งานที่เราสร้างหรือกําลังตัดต่ออยู่ เรียกไฟล์ งานนั้น ๆ ว่า “Project  (โปรเจ็คต์)”  ซึ่งครอบคลุมงานทั้งชิ้นของเรา คลิป หมายถึง ไฟล์วิดีโอ ไฟล์ภาพและไฟล์เสียงต่าง ๆ ที่เราทําการ Import  หรือเรานําเข้ามาใช้ในโปรเจ็คต์ โดยแต่ละไฟล์เราจะเรียกว่า “Clip  (คลิป)” 16 15 16
  • 9. 9 คําศัพท์ที่ใช้ใน Premiere Track หมายถึง เลเยอร์ที่ใช้ใน Timeline  ซึ่งแต่ละเลเยอร์เราจะ เรียกว่า “Track (แทร็ก)” เช่น เลเยอร์ของ Video 1 เราเรียกว่า Track ของ Video  1 โดย Track  เหล่านี้ใช้สําหรับตัดต่อ ภาพยนตร์และตัดต่อเสียงรวมทั้งเพิ่มเทคนิคพิเศษต่าง ๆ เฟรม หมายถึง ช่องแต่ละช่องที่แสดงอยู่ใน Timeline  ซึ่งแต่ละ ช่องนี้จะแสดงภาพแต่ละภาพที่อยู่ในคลิป โดยจะเรียงต่อกันไปเรื่อย ๆ เหมือนกับฟิล์มถ่ายหนังและจะเรียกช่องเหล่านี้ว่า “Frame (เฟรม)” 17 คําศัพท์ที่ใช้ใน Premiere ซีเควนส์ หมายถึง ลําดับหรือฉาก ๆ หนึ่งของภาพยนตร์ที่เรียงกันเป็น เรื่อง ซึ่งในโปรแกรม Premiere  ได้นําเอาคํานี้มาใช้เรียกหน้าต่าง ย่อยในการจัดลําดับคลิป บนหน้าต่าง Timeline  เพื่อให้เกิดเป็น ภาพยนตร์ว่า “Sequence (ซีเควนส์)” 18 17 18
  • 10. 10 การใช้งานคลิป 19 ประเภทของคลิป คลิปที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอมี 3 รูปแบบ –คลิปวีดีโอ เช่น *.avi,*.mov,*.mpeg,*.wmv –คลิปเสียง เช่น *.mp3,*.wav,*.wma –คลิปภาพ เช่น *.jpg,*.psd,*.png 20 19 20
  • 11. 11 การ Import คลิปเข้ามาทํางาน • เลือกเมนู File  เลือกคําสั่ง Import • เลือกไฟล์วิดีโอที่ต้องการ • คลิกปุ่ม Open 21 การจัดการเกี่ยวกับคลิป การจัดการคลิปแบ่งเป็น 2 รูปแบบดังนี้ – การเตรียมคลิปและจัดการคลิปก่อนนําลงบน Timeline – การจัดการคลิปบน Timeline เพื่อการตัดต่อ 22 21 22
  • 12. 12 การจัดการคลิปก่อนนําลงบน Timeline ขั้นตอนการทํางานดังนี้ • ตั้งภาพประจําเพื่อบ่งบอกเรื่องราวของคลิป • จัดเรียงคลิปในรูปแบบต่างๆ • เก็บคลิบให้เป็นหมวดหมู่ • การเปลี่ยนชื่อคลิป • การนําคลิปต้นฉบับเข้ามาตัดต่อ 23 การจัดเรียงคลิป หน้าต่าง Project สามารถแสดงคลิปได้ 2 รูปแบบ –List  ใช้จัดเรียงคลิปให้แสดงรายละเอียดของคลิป –Icon ใช้จัดเรียงคลิปให้เรียงเป็นรูปแบบไอคอน 24 23 24
  • 13. 13 การเก็บคลิปให้เป็นหมวดหมู่ 1. คลิกที่คลิปที่ต้องการเริ่มจัดหมวดหมู่ 2. คลิกปุ่ม Bin  บนหน้าต่าง Project  25 การนําคลิปไปวางบนหน้าต่าง Timeline 1. คลิกที่คลิปที่ต้องการ 2. คลิกปุ่ม Automate to Sequence บนหน้าต่าง Project 26 25 26
  • 14. 14 การลบ Bin ออกจาก Project 1. คลิกเลือก Bin ที่ต้องการ 2. คลิกปุ่ม Clear บนหน้าต่าง project 27 การค้นหาคลิป คลิกปุ่ม Find บนหน้าต่าง Project ใส่รายละเอียดคลิปที่ต้องการหาในช่อง Find What  คลิกปุ่ม Find 28 27 28
  • 15. 15 การเปลี่ยนชื่อคลิป 1. คลิกขวาที่คลิปที่ต้องการเปลี่ยนชื่อ 2. เลือกคําสั่ง Rename 3. พิมพ์ชื่อที่ต้องการ 4. กด Enter 29 การลบคลิป 1. คลิกขวาที่คลิปที่ต้องการลบ 2. เลือกคําสั่ง Clear 3. หรือ คลิกที่ปุ่ม Clear  4. หรือ กดปุ่ม Delete ที่ Keyboard 30 29 30
  • 16. 16 การแสดงคลิปบนหน้าต่าง Monitor • ใช้แถบเครื่องมือบนหน้าต่าง Monitor 31 การนําคลิปต้นฉบับจากหน้าต่าง Project มาทํางานบนMonitor วิธีที่ 1 • คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการ • ลากมาปล่อยที่ Monitor  ซ้าย วิธีที่ 2 • ดับเบิ้ลคลิกที่คลิปในหน้าต่าง Project เพื่อแสดงคลิป 32 31 32
  • 17. 17 การนําคลิปต้นฉบับเข้ามาบางส่วน • ตั้งค่าเฟรมเริ่มต้น – คลิกที่ปุ่ม Timecode  – พิมพ์เวาลาไปที่เฟรมที่เรา กําหนด – คลิกที่ เพื่อกําหนด In  Point • ตั้งค่าเฟรมสุดท้าย – คลิกที่ Timecode – พิมพ์เวลาไปที่เฟรมที่ต้องการ – คลิกที่ เพื่อกําหนด Out Point 33 คลิกลากคลิปจากหน้าต่าง Monitor ไปวางที่ Timeline การปรับเปลี่ยนเวลา In/Out Point คลิกที่คลิปบน Monitor คลิกปุ่ม เพื่อกําหนดเวลา In Point พิมพ์เวลาที่ต้องการ กด Enter คลิกปุ่ม เพื่อกําหนดเวลา Out Point พิมพ์เวลาที่ต้องการ กด Enter 34 33 34
  • 18. 18 การเริ่มตัดต่อบน Timeline 35 การนําคลิปต้นฉบับมาทํางานบน Timeline วิธีที่1 • คลิกที่หน้าต่าง Project • คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการ • ลากมาปล่อยที่ Timeline วิธีที่ 2 • คลิกเมาส์ค้างที่คลิปบน Monitor • ลากมาปล่อยที่ Timeline 36 35 36
  • 19. 19 การแสดงคลิปบน Timeline คลิกปุ่ม บนหน้าต่าง Timeline เลือกรูปแบบที่ต้องการ – Show Head and title: แสดงภาพในช่วงหัวท้ายของคลิป – Show Head Only : แสดงภาพเฉพาะช่วงหัวของคลิป – Show Frame : แสดงภาพในแต่ละช่วงของคลิป – Show Name Only : แสดงชื่อของคลิปเท่านั้น 37 การขยายและย่อมุมมองของคลิป • คลิกเลือนแถบ (Zoom) บน Timeline • ปุ่ม ใช้ย่อมุมมอง • ปุ่ม ใช้ขยายมุมมอง • แถบ คลิกค้างแล้วเลื่อนเพื่อปรับย่อและขยาย 38 37 38
  • 20. 20 การแยกเสียงออกจากคลิปวีดีโอ 1. คลิกขวาที่คลิปที่ต้องการ 2. เลือกคําสั่ง Unlink 39 การทําให้ไฟล์เสียงและภาพติดกัน 1. คลิกเลือกคลิปภาพ และ คลิปเสียง ที่ต้องการที่หน้าต่าง Timeline 2. คลิกขวา เลือกคําสั่ง Link การกําหนดความเร็วในการแสดงคลิป 1. คลิกเลือก Track ที่ต้องการบน Timeline 2. เลือกเมนู Clip เลือกคําสั่ง Speed/Duration… 3. กําหนดความเร็วที่ต้องการ – Speed กําหนดความเร็วของคลิปเพิ่มจากเดิมเป็นเปอร์เซนต์ – Duration กําหนดความเร็วตามความต้องการเอง (0:00:00:00:00 คือ ชม.:นาที:วินาที:จํานวนเฟรม) 4. คลิกปุ่ม OK 40 39 40
  • 21. 21 การกําหนดให้เล่นคลิปถอยหลัง 1. เลือกคลิปที่ต้องการที่ Timeline 2. เลือกเมนู Clip เลือกคําสั่ง Speed/Duration… 3. คลิกเลือกที่ Reverse Speed  41 การระบุเฟรมสําคัญด้วย Marking 1. เลื่อนตัวเลื่อนเฟรมไปยังเฟรมที่ต้องการ 2. คลิกปุ่ม Set Unnumdered Marker บน หน้าต่าง Timeline 42 การล็อคคลิปไม่ให้วางซ้อนกัน 1. ก่อนที่จะทําการวางคลิปใหม่ 2. คลิกที่ปุ่ม Snap 3. คลิกค้างที่คลิปใหม่ที่ต้องการมาวางที่ Timeline  41 42
  • 22. 22 รายละเอียดแถบเครื่องมือต่างๆ • เลื่อนไปที่ต้นคลิป • เลื่อนไปที่ปลายสุดของคลิป • เลื่อนกลับไปที่จุด Mark ก่อนหน้า • เดินหน้าไปยังจุด Mark ถัดไป • ให้แสดงเฟรมโดยย้อนหลังทีละเฟรม • แสดงเฟรมถัดไปทีละเฟรม 43 การเพิ่ม Track ให้คลิปบน Timeline 1. คลิกขวาที่ Track ใดก็ได้บน Timeline 2. เลือกคําสั่ง Add track 3. กําหนดรายละเอียด 4. คลิกปุ่ม Ok 44 43 44
  • 23. 23 การกําหนดการเพิ่ม Video Track 45 ระบุจํานวน Track ระบุตําแหน่งการวาง Track การกําหนดการเพิ่ม Audio Track 46 ระบุจํานวน Track ระบุตําแหน่งการวาง Track ระบุชนิดของ Audio Track 45 46
  • 24. 24 การกําหนดการเพิ่ม Audio Submix Track 47 ระบุจํานวน Track ระบุตําแหน่งการวาง Track ระบุชนิดของ Audio Submix Track เครื่องมือที่ใช้ในการตัดต่อ เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อมี 2 ส่วน คือ • Tools  • Monitor 48 47 48
  • 25. 25 การแทรกคลิปบน Timeline แบบ Insert 1. คลิกเลือกตําแหน่งที่ต้องการแทรกบน Timeline 2. เลือกคลิปที่ต้องการที่หน้าจอ Monitor 3. คลิกปุ่ม (Insert) 4. คลิกเลือกคลิปที่ต้องการแทรก 5. จะได้คลิปใหม่เพิ่มโดยไม่ทับกับคลิปเดิม 49 การแทรกคลิปบน Timeline แบบ Overley 1. คลิกเลือกตําแหน่งที่ต้องการแทรกบน Timeline 2. คลิกปุ่ม (Overley) 3. คลิกเลือกคลิปที่ต้องการแทรก 4. จะได้คลิปใหม่เพิ่มทับกับพื้นที่ของคลิปเดิม 50 49 50
  • 26. 26 การลบคลิปบางส่วนแบบ Lift 1. เลือกคลิปที่ต้องการตัดออกบน Timeline 2. ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point ที่ต้องการบน หน้าต่าง Sequence 3. คลิกปุ่ม (Lift) 4. ส่วนที่ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point จะถูกตัดไป 51 การลบคลิปบางส่วนแบบ Extract 1. เลือกคลิปที่ต้องการตัดออกบน Timeline 2. ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point ที่ต้องการบน หน้าต่าง Sequence 3. คลิกปุ่ม (Extract) 4. ส่วนที่ตั้งค่า Set In Point และ Set Out Point จะถูกตัดไป 52 51 52
  • 27. 27 เลือกคลิปที่ต้องการด้วย Selection Tool • เลือกคลิปเดียว – คลิกที่ Selection Tool – คลิกที่คลิปที่ต้องการ • เลือกหลายคลิปติดกัน – คลิกค้างจากที่ว่างๆบน Timeline – ลากคลุมคลิปที่ต้องการ 53 การย้ายตําแหน่งคลิป 1. คลิกเลือกที่ไปยังตําแหน่งที่ต้องการคลิปที่ต้องการ 2. คลิกค้างแล้วลาก 54 การลบคลิป คลิกเลือกที่คลิปที่ต้องการ กดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด 53 54
  • 28. 28 การย่อขยายคลิป 1. คลิกที่ขอบของคลิปที่ต้องการย่อหรือขยาย 2. ให้เมาส์เปลี่ยนรูปเป็น 3. คลิกเมาส์ค้างลากเข้าเพื่อย่อ คลิกออกเพื่อขยาย 55 การเลือกคลิปด้วย Track Select Tool 1. คลิกที่ Track Select Tool 2. คลิกที่คลิปบน Timeline 56 55 56
  • 29. 29 ปรับความยาวของคลิปด้วย (Ripple Edit Tool) 1. คลิกที่ (Ripple Edit Tool) 2. คลิกที่ขอบของคลิปที่ต้องการย่อหรือขยาย 3. ให้เมาส์เปลี่ยนรูปเป็น 4. คลิกเมาส์ค้างลากเข้าเพื่อย่อ คลิกออกเพื่อขยาย 57 การตัดคลิปด้วย (Razor Tool) 1. คลิกที่ 2. นําไปคลิกเลือกตําแหน่งที่ต้องการตัดบนคลิป 58 57 58
  • 30. 30 เลื่อนเฟรมที่อยู่ในคลิปด้วย (Slip Tool) 1. คลิกที่ (Slip Tool) 2. คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการแล้วลากเข้า หรือ ออก 3. จะได้เฟรมในคลิปที่ถูกซ่อนไว้ออกมาแสดง 59 การปรับรายละเอียด Keyframe ด้วย 1. คลิกปุ่ม เพื่อเปิดเครื่องมือ 2. เลือก Show Opacity Handles 3. คลิกปุ่ม 4. เลือกคลิปที่ต้องการปรับ 60 59 60
  • 31. 31 การปรับรายละเอียด Keyframe (ต่อ) 1. คลิกเลือกตําแหน่งที่ Timeline 2. คลิกปุ่ม Add/Remove Keyframe 3. จะปรากฏจุดเล็กๆบนคลิป 4. คลิกค้างที่จุดแล้วลากเพื่อเลื่อนปรับไปตําแหน่งที่ต้องการ 61 การเลือนคลิปด้วย (Hand Tool) 1. คลิกที่ (Hand Tool) 2. คลิกค้างที่คลิปที่ต้องการ 3. ลากไปตําแหน่งที่ต้องการ 62 61 62
  • 32. 32 เครื่องมือใน Video Track และ Audio Track 63 Toggle Track Output Toggle Track Lock การเปลี่ยนฉากด้วย Transitions 64 63 64
  • 33. 33 65 การใช้ Transitions 1. เลือกเมนู Windows 2. เลือกคําสั่ง Effects 3. เลือก Video Transitions 4. ลาก Transitions ที่ต้องการมาปล่อยไว้ระหว่างคลิป 66 65 66
  • 34. 34 การปรับแต่ง Transitions 1. คลิกที่ Transition ที่ต้องการปรับแต่ง 2. เลือกเมนู Windows  3. เลือกคําสั่ง Effect Controls 4. กําหนดรายละเอียดที่ต้องการ 67 68 แสดงผลลัพธ์ ระยะเวลาในการแสดงผล แสดงส่วน Transition ระหว่างคลิป ตั้งค่าจุดเริ่มต้น Transition ตั้งค่าจุดสิ้นสุด Transition กําหนดจุดเริ่มต้นการ เปลี่ยนฉากที่คลิปที่ 2 67 68
  • 35. 35 การลบ Transitions 1. คลิกเลือก Transitions ที่ต้องการ 2. กดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด หรือ 1. คลิกขวาที่ Transitions ที่ต้องการ 2. เลือกคําสั่ง Clear  69 Transition ที่นิยมใช้ • Curtain • Additive Dissolve • Iris Cross • Iris Diamond • Center Peel • Swap • Clock Wipe • Zoom Boxs 70 69 70
  • 36. 36 ทํางานกับเสียง 71 ชนิดของคลิปเสียง ชนิดของคลิปเสียงในโปรแกรม Premiere  มี 2 รูปแบบ ดังนี้ คลิปเสียงธรรมดา เป็นคลิปที่มีเฉพาะเสียงเท่านั้น เช่น คลิปเพลง คลิปเสียง ประกอบ คลิปเสียงประกอบคลิปวิดีโอ เป็นคลิปเสียงที่มาพร้อมกับคลิปวิดีโอ โดยจะแสดงไปพร้อมกัน อย่างสอดคล้อง 72 71 72
  • 37. 37 ประเภทของเสียงใน Premiere ระบบเสียงแบบ Mono เป็นระบบเสียงที่มีช่องสัญญาณเสียงเดียว ระบบเสียงแบบ Stereo เป็นระบบเสียงที่มี 2 ช่องสัญญาณ ระบบเสียงแบบ 5.1 Channel เป็นระบบเสียงที่แสดงเสียงออกทางลําโพง 6 ตัว หรือ เรียกลัษณะเสียงแบบนี้ว่า “ระบบเสียง Surround” 73 การใส่เสียง การ Import  เสียงเข้ามาในโปรเจ็กต์ 1. เลือก FileImport…. หรือกดปุ่ม <Ctrl+l>  ที่คีย์บอร์ด 2. เลือกไฟล์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม 3. รอสักครู่ ไฟล์เสียงจะถูกเรียกเข้ามาอยู่ที่หน้าต่าง Project 74 73 74
  • 38. 38 การใส่เสียงบน Timeline การวางคลิปเสียงบน Timeline  จะเหมือนกับการวางคลิปวิดีโอ โดยที่คลิปเสียง 1 คลิปจะวางไว้บน Audio  Track ซึ่งเราสามารถ กําหนดหรือเลือกได้ว่าจะวางคลิปเสียงไว้ใน Track 75 การกําหนดรูปแบบของคลิปออดิโอ 76 แสดงคลื่นเสียง แสดงเฉพาะชื่อ 75 76
  • 39. 39 การปรับระดับเสียงบน Timeline 1. คลิกเลือก ที่ Audio   Track 2. จากนั้นจะแสดงเมนู ให้คลิกเลือก Show  Clip  KeyFrame 3. คลิกเลือก Volume : BypassVolumeLevel 4. ใช้เครื่องมือ (Pen  Tools) 77 การใส่ Transitions ให้กับคลิปออดิโอ Transitions  ให้กับคลิปออดิโอจะมีการทํางานคล้ายกับ Transition  ของวิดีโอนั่นคือ สามารถเพิ่ม Transition  ระหว่าง คลิปเสียงทั้ง 2 คลิปเพื่อสร้างให้การต่อเนื่องของเสียงทั้ง 2 คลิป ที่เรียง ต่อกันราบรื่นขึ้น โดยอาจเรียก Transitions  ของออดิโอได้อีกอย่าง หนึ่งว่า Cross‐Fade  ซึ่งจะมีเพียง 2 Transitions  นั้นคือ Constant  Gain  และ Constant  Power 78 77 78
  • 40. 40 วิธีใส่ Transitions ให้กับคลิปออดิโอ 1. คลิกเลือกป้ าย Effects 2. แล้วเลือก Audio  Edit  transitions 3. แล้วเลือก Transitions 79 การเพิ่ม Track เสียง Premiere  สามารถเพิ่มเสียงได้มากเท่าที่เรา ต้องการ เริ่มแรกจะมี 3 Track โดยเราสามารถเพิ่มได้จาก หน้าต่าง Timeline ขั้นตอนการเพิ่ม Track 1. คลิกขวาที่ Audio  Track  ในหน้าต่าง Timeline 2. เลือก Add  Tracks….. 80 79 80
  • 41. 41 การเพิ่ม Track เสียง(ต่อ) 1. กําหนดจํานวน Track ที่ต้องการเพิ่ม 2. แล้วกดปุ่ม 3. จะได้ Track  ที่เราต้องการเพิ่มจากเดิมตามจํานวนที่เรา กําหนด 81 การตัดต่อด้วย Sequence 82 81 82
  • 42. 42 การสร้าง Sequence 1. คลิกที่ปุ่ม บนหน้าต่าง project  2. เลือกคําสั่ง Sequence 3. กําหนดรายละเอียด – Sequence Name : ใส่ชื่อ Sequence – Video : กําหนดจํานวน Video Track – Audio : กําหนดระบบเสียงของ Audio Track 4. คลิกปุ่ม OK 83 การรวม Sequence 1. สร้าง Sequence หลัก 2. คลิกลาก Sequence ส่วนที่ 1 3. ปล่อยที่ Timeline ของ Sequence หลัก 4. คลิกลาก Sequence ส่วนที่เหลือมาวางรวมกัน 84 83 84
  • 43. 43 การสร้างไตเติ้ล 85 การสร้างไตเติ้ล “ก่อนจะเริ่มฉายภาพยนตร์สักเรื่องหนึ่ง สิ่งที่เราสังเกต คือมักจะมีไตเติ้ลขึ้นมาก่อน โดยเขียนชื่อว่าใครเป็นผู้กํากับ ใครเขียนบท และหนังชื่ออะไร แม้กระทั่งตอนจบก็มีรายนามของผู้สร้าง นักแสดง ผู้ กํากับ คนเขียนบท อีกครั้ง ซึ่งนับว่าไตเติ้ลเป็นส่วนที่เข้ามาเพิ่มความ สมบูรณ์ให้กับภาพยนต์ของเรามากขึ้น” 86 85 86
  • 44. 44 ควายหมายของไตเติ้ล ไตเติ้ล (Title) เป็นตัวอักษรที่ใช้ประกอบในภาพยนตร์ เพื่อสื่อถึงหลายละเอียดของภาพยนตร์นั้น เช่น ชื่อเรื่อง ทีมผู้สร้าง นักแสดง หรือจะเป็นการบอกเรื่องราวของคลิปวิดีโอว่าคลิปนี้มีความเป็นมา อย่างไร 87 ไตเติ้ลก่อนฉาย ไตเติ้ลหลังฉาย การสร้างไตเติ้ล ขั้นตอนการสร้างไตเติ้ล 1. หน้าต่าง Project 2. คลิกที่ปุ่ม 3. New  Item 4. เลือก Title…. 88 87 88
  • 45. 45 การสร้างไตเติ้ล(ต่อ) 1. ตั้งชื่องานเรื่องที่เราจะสร้างในช่อง Name 2. คลิกปุ่ม 89 การสร้างไตเติ้ล(ต่อ) ปรากฎหน้าต่าง Adobe  Title  Designer  เพื่อสร้างไตเติ้ล 90 89 90
  • 47. 47 Keyframe เฟรมที่ถูกกําหนดค่าการกระทําใดๆ ลงไป เพื่อระบุให้เฟรมนั้นเป็น เฟรมหลักในการทํางาน จะใช้เมื่อต้องการสร้างงานบางอย่างเป็นพิเศษ โดยจะมีการระบุ Keyframe เริ่มต้นและ Keyframe สุดท้ายก่อน เสมอ 93 วิธีการกําหนด Keyframe 1. คลิกที่ปุ่ม 2. เลือกคําสั่ง Show Keyframes 3. คลิกเลือกคลิปที่ต้องการกําหนด Keyframe 4. เลื่อนตัวเลื่อนเฟรมไปตําแหน่งที่ต้องการกําหนดบน Timeline 5. คลิกที่ปุ่ม เพื่อกําหนด Keyframe 6. จะปรากฏ ขึ้นมาที่เส้นสีเหลืองที่พาดผ่านกลางคลิป 94 93 94
  • 48. 48 การลบ Keyframe 1. คลิกที่เฟรมที่ไม่ต้องการ 2. กดปุ่ม Delete 95 คลิกเลือกแล้วกด Delete ที่ คีย์บอร์ด การ Fade ภาพ เป็นรูปแบบหนึ่งในการเปลี่ยนฉาก โดยการทําให้ภาพแรกค่อยๆ หายไปแล้วภาพที่สองค่อยๆ ฉายขึ้นมา 96 95 96
  • 49. 49 การใช้ Keyframe ในการ Fade ภาพ 1. เรียง Keyframe ให้เป็นเส้นตรงชิดขอบบนของคลิป เพื่อกําหนดให้ แสดงภาพให้ชัดเจน 2. คลิกลาก Frame ย้ายตําแหน่งให้ลดระดับลง เพื่อกําหนดให้แสดง ภาพให้มืดลง 97 การใช้ Keyframe ในการสร้างคลิปเคลื่อนไหว 1. คลิกที่แถบ Opacity 2. เลือก Motion เลือก Scale 3. เลือกเมนู Window เลือก Workspace  เลือก Effect 4. คลิกที่ปุ่ม ที่ Scale เพื่อกําหนดให้สร้าง Keyframe ตลอด การทํางาน 5. เลื่อนตัวเลื่อนเฟรมที่หน้าต่าง Effect Controls มายังจุดที่ ต้องการให้ฉากขยายเต็มจอ 6. ทดลองเล่นคลิป 98 97 98
  • 50. 50 การใช้ Keyframe ในการสร้างคลิปเคลื่อนไหว 99 คลิก Opacity เลือก Motion เลือก Scale เลือกเมนู Windows เลือก Workspace เลือก Effect การใช้ Keyframe ในการสร้างคลิปเคลื่อนไหว 100 คลิกเพื่อ กําหนดให้มี การสร้าง Keyframe คลิกเลือกตําแหน่งการ แสดงภาพของคลิป เลื่อนแถบเพื่อกําหนดขนาดการ แสดงบนจอภาพของ Keyframe ผลการปรับต่าง จุด Keyframe จะแสดง เมื่อทําการปรับแต่ง 99 100
  • 52. 52 สร้างคลิปวิดีโอจากภาพนิ่ง(ต่อ) 103 กลุ่มคําสั่ง Motion ในหน้าต่าง Effect Controls เคลื่อนไหวโดยการย่อ/ขยายขนาดภาพ ลักษณะแบบนี้ใช้คําสั่ง Scale ในหัวข้อ Motion เป็นหลัก 104 คําสั่ง Scale 103 104
  • 53. 53 เคลื่อนไหวโดยการหมุนภาพ 105 ลักษณะแบบนี้ใช้คําสั่ง Rotation ในหัวข้อ Motion เป็นหลัก คําสั่ง Rotation เคลื่อนไหวโดยการเปลี่ยนตําแหน่งภาพ 106 ลักษณะแบบนี้ใช้คําสั่ง Position ในหัวข้อ Motion เป็นหลัก คําสั่ง Position 105 106
  • 55. 55 สร้างการซ้อนฉากแบบ Blue Screen การซ้อนฉากแบบนี้หลายคนคงเคยได้ยินกันมาบ้าง ซึ่งเป็นการ ซ้อนฉากแบบหนึ่ง โดยใช้ฉากหลังเป็นสีนํ้าเงิน (การถ่ายทําเป็นพื้นหลังสี นํ้าเงิน) แล้วใช้เทคนิคพิเศษในการตัดฉากที่เป็นสีนํ้าเงินออกไป เทคนิคนี้ เรียกว่า Blue Screen 109 สร้างการซ้อนฉากแบบ Blue Screen (ต่อ) 1. ทําการ Import คลิปวิดีโอและคลิปภาพพื้นหลัง 2. วางคลิปวิดีโอที่มีฉากหลังเป็น Blue Screen และคลิปที่ใช้เป็นภาพพื้น หลังบนหน้าต่าง Timeline 3. ยืดความยาวของคลิปภาพ และคลิปวิดีโอให้เท่ากัน 4. เลือก Effects > Video Effects > Keying > Blue Screen Key 110 109 110
  • 56. 56 สร้างการซ้อนฉากแบบ Blue Screen (ต่อ) 111 1 2 3 การซ้อนฉากด้วยเอ็ฟเฟ็ค RGB Difference ซึ่งเป็นการซ้อนฉากในลักษณะเดียวกับ Blue Screen เพียงแต่ไม่มี การจํากัดสีของฉากหลังของคลิปวิดีโอ 112 111 112
  • 57. 57 การซ้อนฉากด้วยเอ็ฟเฟ็ค RGB Difference (ต่อ) 1. เลือกคําสั่ง Video Effects > Keying > RGB Difference Key 2. ลากเอ็ฟเฟ็ค RGB Difference Key ไปปล่อยบนคลิปที่ต้องการ 3. คลิก ค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปปล่อยบริเวณพื้นที่เป็นฉากหลัง ของคลิป 4. สีฉากหลังของคลิปจะหายไป 113 การซ้อนฉากแบบ Track Matte การสร้างภาพซ้อนแบบ Track Matte นั้น เป็นการสร้างภาพที่ แตกต่างกับการสร้างภาพซ้อนแบบ Blue Screen และ RGB Difference เพราะเป็นการสร้างภาพซ้อนที่ใช้คลิปมากกว่า 2 คลิป โดยเราจะให้คลิป แรกเป็นพื้นหลังหรือฉากหลัง (Background) คลิปที่ 2 เป็นส่วนที่เราต้องการ แสดงหรือเป็นจุดเด่น และคลิปที่ 3 เป็นเหมือนหน้าต่างที่ให้คลิปที่ 2 แสดง ลอดออกมา 114 113 114
  • 58. 58 การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ) 115 การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ) แบ่งขั้นตอนการสร้างทั้งหมดได้ 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สร้างหน้าต่างให้กับคลิป ขั้นตอนที่ 2 ซ้อนคลิป 116 115 116
  • 59. 59 การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ) ขั้นตอนที่ 1 สร้างหน้าต่างให้กับคลิป 1. Import คลิปที่ต้องการขึ้นมา 2 คลิป (คลิปจุดเด่น กับคลิปฉากหลัง) 2. นําคลิปจุดเด่นไปวางที่ Time Line ที่ Video2 3. คลิก เลือก Title… เพื่อสร้างคลิปที่เราต้องการให้เป็นช่องหน้าต่าง 4. คลิกที่  Show Video เพื่อแสดงฉากที่เราเลือกขึ้นมา 5. สร้างช่องหน้าต่างขึ้นมาโดยเลือกจากเครื่องมือทางด้านซ้าย 117 การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ) 118 คลิปเด่น วางที่ Video2 คลิปฉากหลัง วางที่ Video1 117 118
  • 60. 60 การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ) 119 เลือกเพื่อสร้างช่อง หน้าต่าง 1 สร้างวงกลมจากเครื่องมือ 2 การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 ซ่อนคลิป 1. Import ไฟล์คลิปสุดท้ายเป็นช่องที่ให้คลิปเด่นแสดงผ่านเข้ามาที่ หน้าต่าง 2. ลากคลิปมาวางเรียงกันบน Timeline – คลิปแรกวางบน Track Video1 – คลิปที่ 2 ต้องการให้เป็นคลิปเด่นของฉากไว้บน Track Video2 – คลิปสุดท้ายเป็นช่องที่ให้คลิปที่ 2 แสดงผ่านวางไว้บน Track Video3 3. เลือก Effects > Video Effects > Keying > Track Matte Key 120 119 120
  • 61. 61 การซ้อนฉากแบบ Track Matte (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 ซ่อนคลิป (ต่อ) 4. ลากเอ็ฟเฟ็คที่ต้องการ แล้วไปปล่อยไว้ที่คลิปจุดเด่นของฉาก 5. จากนั้นไปเปิด Effect Controls เราจะเห็นรูปวงกลมปรากฏทับอยู่บน คลิปวิดีโอ 6. ในโหมด Track Matte Key ที่คําสั่ง Matte เลือก Video3 121 ฟังก์ชั่น และคลิปพิเศษอื่น ๆ 122 121 122
  • 62. 62 ฟังก์ชั่น และคลิปพิเศษอื่น ๆ การสร้างองค์ประกอบต่าง ๆ ของภาพยนต์ทั่วไป เช่น ตัวนับถอยหลัง ( Counting Leader ), แถบสีหน้าจอ ( Bar and Tome )  และ Storyboard ที่รวบรวมโครงเรื่องที่ต้องการสร้าง เป็นต้น 123 124 ฟังก์ชั่น และคลิปพิเศษอื่น ๆ • ตัวนับถอยหลัง ( Counting Leader ) • แถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone ) 123 124
  • 63. 63 ตัวนับถอยหลัง ( Counting Leader ) Counting Leader หรือตัวนับถอยหลัง โดยทั่วไปก่อนการแสดง ภาพยนต์ หรือเล่นคลิปทั่วไปมักจะมีการนับถอยหลังไปเรื่อย ๆ เช่น ...5,4,3,2,1 เป็นต้น ซึ่งมีประโยชน์ให้ผู้ชมเตรียมตัว และรู้ว่าภาพยนต์เรื่อง นั้นกําลังจะฉาย 125 การสร้างตัวนับถอยหลัง ( Counting Leader ) 1. คลิก เลือกคําสั่ง Universal Counting Leader… 2. จะปรากฏหน้าต่าง Universal Counting Leader ทําการ กําหนดรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับตัวนับถอยหลังตามต้องการ 3. คลิกปุ่ม 4. จะปรากฏคลิป Universal Counting Leader บนหน้าต่าง Project 5. ทําการลากคลิป Universal Counting Leader ไปวางที่ หน้าต่าง Timeline จากนั้นทําการตัดต่อได้ตามต้องการ 126 125 126
  • 64. 64 127 แถบสี ( Bar and Tone ) แถบสี หรือ Bar and Tone โดยทั่วไปจะมีการแสดงแถบสีก่อน หรือ จบภาพยนต์ ซึ่งแถบสีที่ไล่โทน เพื่อแสดงสีต่าง ๆ โดยแถบสีนี้จะมี ประโยชน์ในการเปรียบเทียบสีที่แสดงอยู่บนหน้าจอว่าแสดงสีเป็นไปตาม ปรกติหรือไม่ อีกทั้งยังใช้แสดงในช่วงต้น และท้ายของภาพยนต์ ในกรณีที่ เราถ่ายทําเผื่อไว้ในช่วงต้น และปิดท้ายเมื่อฉายภาพยนต์จบ การสร้างแถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone ) 1. คลิก เลือกคําสั่ง Bar and Tone 2. จะปรากฏคลิป Bar and Tone บนหน้าต่าง Project 3. ทําการลากคลิป Bar and Tone ไปวางที่หน้าต่าง Timeline จากนั้นทําการตัดต่อได้ตามต้องการ 128 127 128
  • 65. 65 129 การสร้างแถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone ) คลิก เลือกคําสั่ง Bar and Tone 130 การสร้างแถบสีบนหน้าจอ ( Bar and Tone ) คลิปของ Bar and Tone จะปรากฏ ที่หน้าต่าง Project 129 130
  • 66. 66 การ Export เพื่อเผยแพร่ไฟล์วิดีโอ 131 ขั้นตอนการ Export ไฟล์ AVI 1. เลือกเมนู File 2. เลือกคําสั่ง Export 3. เลือกคําสั่ง Movie… 4. ปรากฏหน้าต่าง Export Movie – ในช่อง Save in : กําหนดแหล่งจัดเก็บไฟล์ – ในช่อง File Name : กําหนดชื่อไฟล์ 5. คลิกปุ่ม 132 131 132
  • 67. 67 การตั้งค่า Video เป็นส่วนของการกําหนดค่าคุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ โดยตรง ซึ่งจะมีผลต่อขนาดของไฟล์ คุณภาพ และรายละเอียดอื่น ๆ ที่จะ แสดงออกมาด้วย โดยสามารถกําหนดค่าเหล่านั้นได้ ดังนี้ 133 การตั้งค่า Video (ต่อ) 134 สําหรับไฟล์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ สําหรับไฟล์ที่ใช้กับการ แพร่ภาพทางสื่อวิดีโอ 133 134
  • 68. 68 การตั้งค่า Video (ต่อ) Frame Size : เป็นการปรับขนาดของ Frame ซึ่งปรกติจะอยู่ที่อัตรา 4:3 ยกเว้น Digital Video ของระบบ CCIR‐601 ที่มีค่ามาตรฐาน ต่างออกไป เช่น ระบบ NTSC D1 เท่ากับ 720:486 และ PAL D1  720:576 เนื่องจากรูปร่างของ Pixel มีขนาดไม่เท่ากัน แต่หากเราได้เลือก รูปแบบของไฟล์วิดีโอไว้ก่อนสร้าง Project แล้วค่า Frame Size จะ ถูกกําหนดให้โดยไม่ต้องแก้ไขอีก 135 การตั้งค่า Video (ต่อ) • Frame Rate : เป็นการตั้งค่าในการแสดงจํานวนภาพต่อวินาที ซึ่งควรกําหนดค่าให้สอดคล้องกับการกําหนด Time Display เพื่อ ไม่ให้เกิดความแตกต่างในการแสดงผล • Pixel Aspect Ratio : เป็นการกําหนดอัตราส่วนของ Pixel ที่ ใช้แสดงบนหน้าจอ 136 135 136