SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 2
เรื่องส่วนประกอบของการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
เมื่อทำโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทำการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่
ต้องทำคือการจัดทำรายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งาน
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด
วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียน
รายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา
การเขียนรายงานโครงงานหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ารายงานฉบับสมบูรณ์ มีรูปแบบยืดหยุ่นตาม
ประเภทของโครงงานที่ทำ ขอให้เป็นการนำข้อมูลต่าง ๆที่มีอยู่แล้ว มาจัดระบบ ทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้
ว่าโครงงานทำ
เกี่ยวกับอะไร แต่ขอให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ส่วนนำ เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน ซึ่งประกอบด้วย
>> ชื่อโครงงาน
>> ชื่อสาขาของงานวิจัย
>> ชื่อผู้ทำโครงงาน
>> ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
>> คำขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ได้รับความ
ช่วยเหลือและร่วมมือจากหลายฝ่าย จึงควรกล่าวขอบคุณบุคลากรหรือหน่วยงานต่างๆ ที่มีส่วนช่วย
ให้โครงงานนี้สำเร็จ
>> บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ และผลที่
ได้ ตลอดจนข้อสรุปต่างๆ อย่างย่อ (ประมาณ 250-400 คำ)
2. บทนำ เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
>> ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
>> วัตถุประสงค์
>> ขอบเขตของโครงงาน
3. หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือ
วิธีการที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่ผู้เรียนนำมา
เปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
4. วิธีดำเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบ วิธีการที่
ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ ที่ต้องใช้ในการทำงาน
5. ผลการศึกษา นำเสนอข้อมูล หรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือ
ข้อความ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงความเข้าใจของผู้อื่นเป็นหลัก
6. สรุปผลและข้อเสนอแนะ การสรุปผลการดำเนินงาน เป็นการอธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำงาน
ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุป
ไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการ
ทำโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำโครงงานนี้
ส่วนข้อเสนอแนะในโครงงานควรมีเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงงาน หากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าใน
เรื่องทำนองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย นอกจากนี้ควรกล่าวถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุ
ประโยชน์ที่ผู้เรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำผลงาน
ของโครงงานไปใช้ด้วย
7. บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร และ/หรือเว็บไซต์ต่างๆ ที่ผู้ทำโครงงาน
ใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำโครงงานนี้
ต้องศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ อย่างน้อย 5 แหล่ง การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้อง
ตามหลักการเขียนด้วย
8. คู่มือการใช้งาน หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทำเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ผู้เรียนจัดทำคู่มือ
วิธีการใช้งานด้วย
คู่มืออธิบายวิธีการใช้งาน ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อผลงาน
2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อ
จะใช้ผลงานนั้นได้
3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อ
จะให้ผลงานนั้นทำงานได้อย่างสมบูรณ์
4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และส่ง
อะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำงาน
ในฟังก์ชันหนึ่งๆ
6. ข้อแนะนำในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทำงานได้ดีที่สุด
โดยคู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวกของรายงาน
ฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทำ ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานซึ่งเป็นการ
เขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่สำคัญที่สุดที่ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้
ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสำคัญๆ ทั้งหมด
ของโครงงาน
การเขียนรายงานผลการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะมีรูปแบบที่กำหนดไว้ให้ ซึ่งผู้เรียนจะต้องจัดทำเป็นรูปเล่ม
ตามหัวข้อที่กำหนดไว้ในรูปแบบเค้าโครงการเขียนรายงานผลการทำโครงงานคอมพิวเตอร์

More Related Content

Similar to Baikwam roootee6

กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
Tcnk Pond
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
กีรฏิยา ชัยชนะ
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2Dow Deedong
 
ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Rungnaree Khamchana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
sirirat28
 
Computer
ComputerComputer
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Siriyagon Pusod
 
Work 3
Work 3Work 3
คอม
คอมคอม
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิมYIMMIE89
 
งานคอม2
งานคอม2งานคอม2
งานคอม2Charisma An
 

Similar to Baikwam roootee6 (20)

กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
K2(1)
K2(1)K2(1)
K2(1)
 
08
0808
08
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
K2
K2K2
K2
 
Com3
 Com3 Com3
Com3
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
งานคอม2
งานคอม2งานคอม2
งานคอม2
 

More from TBnakglan

4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง 4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
TBnakglan
 
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล 4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
TBnakglan
 
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
TBnakglan
 
4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ 4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ
TBnakglan
 
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา 3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
TBnakglan
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
TBnakglan
 
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน 5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
TBnakglan
 
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
TBnakglan
 
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา 3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
TBnakglan
 
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
TBnakglan
 
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
TBnakglan
 
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
TBnakglan
 
วัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีวัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยี
TBnakglan
 
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
TBnakglan
 

More from TBnakglan (14)

4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง 4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
 
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล 4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
 
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
 
4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ 4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ
 
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา 3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
 
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน 5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
 
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
 
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา 3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
 
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
 
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
 
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
 
วัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีวัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยี
 
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
 

Baikwam roootee6

  • 1. ใบความรู้ที่ 2 เรื่องส่วนประกอบของการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เมื่อทำโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทำการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ ต้องทำคือการจัดทำรายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งาน รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียน รายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา การเขียนรายงานโครงงานหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ารายงานฉบับสมบูรณ์ มีรูปแบบยืดหยุ่นตาม ประเภทของโครงงานที่ทำ ขอให้เป็นการนำข้อมูลต่าง ๆที่มีอยู่แล้ว มาจัดระบบ ทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ ว่าโครงงานทำ เกี่ยวกับอะไร แต่ขอให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ส่วนนำ เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน ซึ่งประกอบด้วย >> ชื่อโครงงาน >> ชื่อสาขาของงานวิจัย >> ชื่อผู้ทำโครงงาน >> ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา >> คำขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ได้รับความ ช่วยเหลือและร่วมมือจากหลายฝ่าย จึงควรกล่าวขอบคุณบุคลากรหรือหน่วยงานต่างๆ ที่มีส่วนช่วย ให้โครงงานนี้สำเร็จ >> บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ และผลที่ ได้ ตลอดจนข้อสรุปต่างๆ อย่างย่อ (ประมาณ 250-400 คำ) 2. บทนำ เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย >> ที่มาและความสำคัญของโครงงาน >> วัตถุประสงค์ >> ขอบเขตของโครงงาน 3. หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือ วิธีการที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่ผู้เรียนนำมา เปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 4. วิธีดำเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบ วิธีการที่ ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ ที่ต้องใช้ในการทำงาน 5. ผลการศึกษา นำเสนอข้อมูล หรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือ ข้อความ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงความเข้าใจของผู้อื่นเป็นหลัก
  • 2. 6. สรุปผลและข้อเสนอแนะ การสรุปผลการดำเนินงาน เป็นการอธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำงาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุป ไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการ ทำโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำโครงงานนี้ ส่วนข้อเสนอแนะในโครงงานควรมีเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงงาน หากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าใน เรื่องทำนองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย นอกจากนี้ควรกล่าวถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุ ประโยชน์ที่ผู้เรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำผลงาน ของโครงงานไปใช้ด้วย 7. บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร และ/หรือเว็บไซต์ต่างๆ ที่ผู้ทำโครงงาน ใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำโครงงานนี้ ต้องศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ อย่างน้อย 5 แหล่ง การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้อง ตามหลักการเขียนด้วย 8. คู่มือการใช้งาน หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทำเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ผู้เรียนจัดทำคู่มือ วิธีการใช้งานด้วย
  • 3. คู่มืออธิบายวิธีการใช้งาน ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อ จะใช้ผลงานนั้นได้ 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อ จะให้ผลงานนั้นทำงานได้อย่างสมบูรณ์ 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และส่ง อะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำงาน ในฟังก์ชันหนึ่งๆ 6. ข้อแนะนำในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทำงานได้ดีที่สุด โดยคู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวกของรายงาน ฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทำ ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานซึ่งเป็นการ เขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่สำคัญที่สุดที่ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสำคัญๆ ทั้งหมด ของโครงงาน การเขียนรายงานผลการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะมีรูปแบบที่กำหนดไว้ให้ ซึ่งผู้เรียนจะต้องจัดทำเป็นรูปเล่ม ตามหัวข้อที่กำหนดไว้ในรูปแบบเค้าโครงการเขียนรายงานผลการทำโครงงานคอมพิวเตอร์