SlideShare a Scribd company logo
โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควร จะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้ น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และ นามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ 
ตัวอย่างโครงงาน 
ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภทMobile Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรม สาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วน เซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นั้นจาก ฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายังโทรศัพท์มือถือ
Image-based Mobile Dictionary Application is developed from the original application which users have to type a word to be searched for the meaning. This application is easy to use, a user only need to capture a void using a digital camera on a mobile phone or type it in. In addition, its system also offers user-friendly interfaces which users can easily understand once they have seen it. Image-based Mobile Dictionary Application consists of two functions; software on a mobile phone and software on a server. A vocabulary, which is typed or captured by users, is automatically sent via network to the server. If the input is an image file, the software on the server will recognize each character using image processing and then search for its meaning from database list. Afterwards, that vocabulary and its meaning will transfered to the mobile phone. 
ตัวอย่างโครงงาน 2 
ชื่อโครงงาน การพัฒนา software เพื่อใช้ในการอ่านและ simulate การประยุกต์ใช้ hologram กับบัตรประจาตัว ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ดาษพิช ทองนพเนื้อ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิติระดับปริญญาตรีปี ที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ ปัจจุบันได้ มีการนา hologram ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ มากมาย จึงได้แนวความคิดประยุกต์ laser hologram ในด้านการใช้ เป็น memory หรือ data storage เพื่อใช้ในการทาบัตรประจาตัว (ID card) ขึ้น โดยอาศัยลักษณะเด่นของ hologram 360 ซึ่ง สามารถให้ภาพสามมิติที่มองได้จากทุก ๆ มุมมองโดยรอบ และภาพที่เกิดเป็นแบบ Dynamics เมื่อมีการเปลี่ยนมุมการมอง และ ตาแหน่ง film ลอดจนลักษณะการปลอมแปลงของ hologram ทาได้ยากจึงนามาเก็บรักษาความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ของบัตร งานวิจัยนี้ จึงประกอบด้วยการ 1.ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ hologram360 เพื่อนาไปประยุกต์สร้างเป็นบัตรประจาตัว 2.ออกแบบทดลองและพัฒนาการสร้าง hardware ในส่วนของเครื่องสาหรับอ่านและตรวจสอบบัตร 3.พัฒนา software เพื่อทางานในด้าน pattern recognition เพื่อการอ่านและยืนยัน ( verify) บัตรสาหรับเครื่องอ่านบัตร ตลอดจน ออกแบบระบบpattern สาหรับเก็บข้อมูลบนบัตร ระบบสาหรับการอ่านและพัฒนา software เพื่อทาการ simulate และทดลองการทางาน ของระบบ การอ่าน การใช้บัตร การทางานของเครื่องอ่านบัตรและ software (program) ที่ใช้อ่าน
การศึกษาทดลองขณะนี้เป็นการพัฒนา software ซึ่งประกอบด้วย 1. การศึกษาหลักการ ลักษณะของข้อมูล ตลอดจนการเชื่อมโยง software และวิธีที่ใช้ในการอ่านและเก็บข้อมูลเพื่อวิธีของ pattern recognition ที่จะนามาใช้ โดยรวมถึงการพิจารณา tolerance ที่ย่อมรับได้ 2. ทดลองเขียน และพัฒนา software สาหรับ pattern recognition ในการอ่านบัตร 3. ทดลองเขียน และพัฒนา software เพื่อใช้ในการ simulate ผลที่ได้จากการใช้ software ที่เขียนขึ้น การอ่าน การทา pattern recognition และระบบการใช้บัตร ฯลฯ 4. ทดลองทา simulation เพื่อนาผลที่ได้มาใช้ในการพัฒนาระบบ software , hardware , และส่วนอื่น ๆ ของบัตรต่อไป ขณะนี้ในส่วนที่พัฒนา software อยู่ในขั้นตอนการศึกษาระบบ hardware และเลือกวิธีของ pattern recognition เพื่อใช้ในการ เขียน program (หรือ พัฒนา software) รวมถึงการทดลอง simulate อย่างง่ายและการศึกษาการใช้ development tools ต่าง ๆ เช่น ภาษา computer , program ต่าง ๆ เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการ simulate และพัฒนาด้าน software ต่อไปงานวิจัยนี้อยู่ระหว่างการ ดาเนินการจากหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และได้รับการตอบรับการจดทะเบียนลิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว 
ตัวอย่างโครงงาน 3 
ชื่อโครงงาน Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกฤชวัฒน์ เวชสาร ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.วิวาราช พร แก้ว สถาบันการศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน ไม่ระบุ บทคัดย่อ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้เข้ามามีบทบาทในงานวิจัยด้านต่าง ๆ กว่า 20 ปี ทั้งยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันมีความใกล้ชิด และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึ้น เพราะการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกกับสาขาวิชาต่าง ๆ อานวยให้การทางานนั้นมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง แม่นยา สะดวกและเหมาะสมต่อการนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ แก้ปัญหา และ/หรือใช้กับงานประยุกต์ที่มีความสลับซับซ้อนมาก ๆ ได้ แต่จานวนข้อมูลป้อน (Data input) ในการประมวลผล (Process) แปรผันตรงกับจานวนเวลาที่ใช้ และชุดคาสั่งมักเป็นจานวนชนิดทศนิยม (float) ซึ่งทาให้มีค่าหน่วงเวลา (latency) ในการทางานมาก โครงงาน 3D Shader for Game Programming นี้ มุ่งพัฒนาต้นแบบ Mini- 3D Graphics Engine สาหรับ การพัฒนาเกมส์ ในส่วนGraphics core โดยอาศัยเทคนิคการ Optimizing code ร่วมกับการ วาง Prototyping แบบพิเศษให้เข้ากับ Hardware Functions (Logical Layers)ของ CPU และ Display card ให้การแสดงผลมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น และเป็นการใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่า เพื่อลด causes of bottlenecks และ penaltiesโดยส่วนของฮาร์ดแวร์ใช้ AMD Processor และ nVidia GeFocre Display card series ส่วนของการ Programming ใช้ OpenGL ในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อการทดสอบ
ตัวอย่างโครงงาน 4 
ชื่อโครงงาน ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธัญญพร เรือนโรจน์รุ่ง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.สุรพันธ์ เมฆนาวิน สถาบันการศึกษา นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ การศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทา OCR (Optical Character Recognition) และรวบรวมตัวอย่างลายมือจากแหล่งต่างๆ เพื่อนามาศึกษาสภาพปัญหา พบปัญหาที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาในการตัดตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษรที่คล้ายกันมาก เช่น ด-ค-ต , ก-ถ-ภ , ผ-ฝ-พ-ฟ การเขียน ผิดรูปซึ่งมีผลให้ตัวอักษรที่ต่างกันมีลักษณะคล้ายกัน เช่น ย-ผ , ร-ช , พ-ม และความหลากหลายของ ลายมือ ดังนั้นการจะจดจาลักษณะตัวอักษรแต่ละตัวได้ ควรจะเน้นที่การจดจาลักษณะร่วม หรือลักษณะเด่น ของตัวอักษรนั้น จากลายมือที่ต่างกัน โดยการพิจารณาว่าตัวอักษร คือ กราฟที่ประกอบด้วยจุดยอดและขอบที่ลากเชื่อมจุด แล้วแทนอักษรแต่ละตัวด้วยจุด แต่เกิดปัญหาว่าไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ว่า ลักษณะของจุดนั้นจะใช้แทนตัวอักษรตัวใด จึงเพิ่มแฟกเตอร์ บางอย่างเข้าไป คือ เพิ่มจานวนจุดในบริเวณ จุดตัด จุดปลายและจุดสุดขอบด้านต่าง ๆ กาหนดลาดับของจุด อักษรที่คล้ายกันมากและใช้ ลักษณะเด่น ของตัวนั้นแทนจุดในบางตาแหน่ง ทาให้ความชัดเจนมากขึ้นและจะได้พิจารณาวิธีการอื่น ๆ เช่น การใช้อัตราส่วนของระยะ ระหว่างจุด การพิจารณาจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวอักษรในการแบ่งกลุ่มตัวอักษรให้ เหลือตัวที่พิจารณาน้อยลง แต่เนื่องจากตัวอักษร ภาษาไทยมีความซับซ้อนและมีรายละเอียดค่อนข้างมาก จึงมุ่งเน้นให้สามารถรู้จาตัวเลข 0-9 ให้ได้ก่อนเพื่อนาไปใช้ในการคัดแยกจดหมาย เนื่องจากรูปแบบลายมือที่พบบ่อยในการเขียนตัวเลขมีไม่มากนัก เมื่อแทนตัวเลขด้วยจุดที่มีการกาหนดลาดับ พิจารณาจุดเริ่มต้นและจุด สุดท้ายของตัวเลขแล้ว ก็สามารถแยกความแยกต่างของตัวเลขแต่ละตัวได้ค่อนข้างมาก นอกจากนี้จะใช้วิธีต่าง ๆ มาประกอบเพื่อเพิ่มความ ถูกต้อง ได้แก่ การพิจารณาตาแหน่งของจุดโดยให้ความสาคัญกับทิศทางมากกว่าระยะทาง โดยกาหนดทิศทางเพียง 8 ทิศ ถ้ามีทิศต่างไป จากทิศที่กาหนด จะหาว่ามีทิศใกล้เคียงกับทิศใดที่มกที่สุดและกาหนดให้เป็นทิศนั้น พิจารณาจากจานวนจุดที่ใกล้เคียงกัน และพิจารณาจาก ลักษณะเด่ของตัวเลข ก็จะเพิ่มความถูกต้องได้ในระดับหนึ่ง สาหรับปัญหาในการอ่านตัวเลขซึ่งอาจพบได้ เช่น การเขียนตัวเลขสองตัวติดกัน หรือการเขียนตัวเลขตัวเดียวแต่เส้นไม่ต่อเนื่องอาจทาให้เกิด ความสับสนได้ และปัญหาที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การเขียนผิดรูปซึ่งทาให้ยากแก่การจาแนกว่าตัวเลขตัวใด ซึ่งยังจะต้องศึกษาและพัฒนา ต่อไป 
ตัวอย่างโครงงาน 5 
ชื่อโครงงาน โครงการโปรแกรมการคานวณแบบขนานเพื่อการจาลองการเกิดคลื่นสินามิ ประเภทโปรแกรมเพื่องานพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย อาทิตย์ อินทวี , นางสาว เปรมจิต อภิเมธ๊ธธาารง, นาย กิตติพัฒน์ วิโรจน์ศิริ ชื่ออาจารย์ที่ ปรึกษา อ.ดร.วีระ เหมืองสิน สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ Tsunami is one of the most serious disasters. To prevent from the loss, an effective warning system must be established. Nowadays, there is no warning system that is both accurate and fast enough to generate the warning in time, thus false alarms are common. Soon people will ignore the warning, andwemayfaceanothertragedy. There is a program named TUNAMI which can accurately calculate the water level and the speed of tidal wave given initial parameter, but this program is very slow due to a lot of calculation. The parallel tsunami simulation program will be the parallel version of TUNAMI, applying both functional and domain decompositions. This program will be much faster than the original program and will be able to be used in real-time warning system. 
Cr : http://toffykz.blogspot.com/2012/08/8.html

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPuifai Sineenart Phromnin
 
8
88
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้Nuties Electron
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8JoyCe Zii Zii
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
Nutcha Kbn
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
noonnarinthip
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”Sunipha Ruamsap
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Fiction Lee'jslism
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีmcf_cnx1
 
3 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp023 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp02Sky Aloha'
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4kanatakenta
 

What's hot (15)

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
8
88
8
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
3 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp023 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp02
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 

Viewers also liked

Web desktop
Web desktopWeb desktop
Web desktop
Gökhan Canpolat
 
October 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market UpdateOctober 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market Update
Amanda McMillan
 
October 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market UpdateOctober 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market Update
Amanda McMillan
 
Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015
Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015
Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015
Festibity
 
winbladPatientcentreradeVårdmöten
winbladPatientcentreradeVårdmötenwinbladPatientcentreradeVårdmöten
winbladPatientcentreradeVårdmötenPhilippa Göranson
 
Taller 4 vanessa nacimba, leonela mindiola
Taller 4 vanessa nacimba, leonela mindiolaTaller 4 vanessa nacimba, leonela mindiola
Taller 4 vanessa nacimba, leonela mindiola
vanessanacimba
 
FULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVeta
FULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVetaFULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVeta
FULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVetaPhilippa Göranson
 
November 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Update
November 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate UpdateNovember 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Update
November 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Update
Amanda McMillan
 
Resumen unidad 1
Resumen unidad 1Resumen unidad 1
Resumen unidad 1
Dany Yanchapanta
 
Rehtorinkierrosmateriaali 2016
Rehtorinkierrosmateriaali  2016Rehtorinkierrosmateriaali  2016
Rehtorinkierrosmateriaali 2016
Laila Bröcker
 
Funktionsnedsättning
FunktionsnedsättningFunktionsnedsättning
Funktionsnedsättning
Kela
 
Survey analysis powerpoint
Survey analysis powerpointSurvey analysis powerpoint
Survey analysis powerpoint
paigehunter123
 
Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016
Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016
Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016
Festibity
 
Evaluacionformativa
EvaluacionformativaEvaluacionformativa
Evaluacionformativa
David Mrs
 
Introducción a la Calistenia
Introducción a la CalisteniaIntroducción a la Calistenia
Introducción a la Calistenia
HARRISON SPORT NUTRITION S.L.
 
Rehabilitering
RehabiliteringRehabilitering
Rehabilitering
Kela
 
Sci am special online issue 2003.no09 - germ wars
Sci am special online issue   2003.no09 - germ warsSci am special online issue   2003.no09 - germ wars
Sci am special online issue 2003.no09 - germ wars
Dholon Paul
 
Xbox one
Xbox oneXbox one
Xbox one
javiersalasar
 

Viewers also liked (18)

Web desktop
Web desktopWeb desktop
Web desktop
 
October 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market UpdateOctober 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Noble Square Neighborhood Real Estate Market Update
 
October 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market UpdateOctober 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market Update
October 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Market Update
 
Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015
Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015
Ponència de Vicente Guallart a la Festibity 2015
 
winbladPatientcentreradeVårdmöten
winbladPatientcentreradeVårdmötenwinbladPatientcentreradeVårdmöten
winbladPatientcentreradeVårdmöten
 
Taller 4 vanessa nacimba, leonela mindiola
Taller 4 vanessa nacimba, leonela mindiolaTaller 4 vanessa nacimba, leonela mindiola
Taller 4 vanessa nacimba, leonela mindiola
 
FULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVeta
FULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVetaFULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVeta
FULLTEXT01LiJamsellBarnCancerVillVeta
 
November 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Update
November 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate UpdateNovember 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Update
November 2015 Gold Coast Neighborhood Real Estate Update
 
Resumen unidad 1
Resumen unidad 1Resumen unidad 1
Resumen unidad 1
 
Rehtorinkierrosmateriaali 2016
Rehtorinkierrosmateriaali  2016Rehtorinkierrosmateriaali  2016
Rehtorinkierrosmateriaali 2016
 
Funktionsnedsättning
FunktionsnedsättningFunktionsnedsättning
Funktionsnedsättning
 
Survey analysis powerpoint
Survey analysis powerpointSurvey analysis powerpoint
Survey analysis powerpoint
 
Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016
Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016
Proyecto CSUC / Nexica Iniciativa TIC 2016
 
Evaluacionformativa
EvaluacionformativaEvaluacionformativa
Evaluacionformativa
 
Introducción a la Calistenia
Introducción a la CalisteniaIntroducción a la Calistenia
Introducción a la Calistenia
 
Rehabilitering
RehabiliteringRehabilitering
Rehabilitering
 
Sci am special online issue 2003.no09 - germ wars
Sci am special online issue   2003.no09 - germ warsSci am special online issue   2003.no09 - germ wars
Sci am special online issue 2003.no09 - germ wars
 
Xbox one
Xbox oneXbox one
Xbox one
 

Similar to ใบงานที่ 8

ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
Kubgife Yrc
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
Royphim Namsongwong
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
Fluofern
 
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
Film'film Kachamad
 
ใบงานท 8
ใบงานท   8ใบงานท   8
ใบงานท 8Milk MK
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานPerm Ton
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Nontt' Panich
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3minimalistknont
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
Film'film Kachamad
 
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
Revill Noes
 
Computer3.1
Computer3.1Computer3.1
Computer3.1
Mai Lovelove
 

Similar to ใบงานที่ 8 (20)

ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
 
ใบงานท 3
ใบงานท   3ใบงานท   3
ใบงานท 3
 
K8 (1)
K8 (1)K8 (1)
K8 (1)
 
ใบงานท 8
ใบงานท   8ใบงานท   8
ใบงานท 8
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__ใบงานท   8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
ใบงานท 8 เร__อง โครงงานประเภท _การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต__
 
งาน3
งาน3งาน3
งาน3
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
Computer3.1
Computer3.1Computer3.1
Computer3.1
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 

ใบงานที่ 8

  • 1. โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควร จะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้ น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และ นามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ ตัวอย่างโครงงาน ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภทMobile Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรม สาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วน เซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นั้นจาก ฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายังโทรศัพท์มือถือ
  • 2. Image-based Mobile Dictionary Application is developed from the original application which users have to type a word to be searched for the meaning. This application is easy to use, a user only need to capture a void using a digital camera on a mobile phone or type it in. In addition, its system also offers user-friendly interfaces which users can easily understand once they have seen it. Image-based Mobile Dictionary Application consists of two functions; software on a mobile phone and software on a server. A vocabulary, which is typed or captured by users, is automatically sent via network to the server. If the input is an image file, the software on the server will recognize each character using image processing and then search for its meaning from database list. Afterwards, that vocabulary and its meaning will transfered to the mobile phone. ตัวอย่างโครงงาน 2 ชื่อโครงงาน การพัฒนา software เพื่อใช้ในการอ่านและ simulate การประยุกต์ใช้ hologram กับบัตรประจาตัว ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ดาษพิช ทองนพเนื้อ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิติระดับปริญญาตรีปี ที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ ปัจจุบันได้ มีการนา hologram ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ มากมาย จึงได้แนวความคิดประยุกต์ laser hologram ในด้านการใช้ เป็น memory หรือ data storage เพื่อใช้ในการทาบัตรประจาตัว (ID card) ขึ้น โดยอาศัยลักษณะเด่นของ hologram 360 ซึ่ง สามารถให้ภาพสามมิติที่มองได้จากทุก ๆ มุมมองโดยรอบ และภาพที่เกิดเป็นแบบ Dynamics เมื่อมีการเปลี่ยนมุมการมอง และ ตาแหน่ง film ลอดจนลักษณะการปลอมแปลงของ hologram ทาได้ยากจึงนามาเก็บรักษาความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ของบัตร งานวิจัยนี้ จึงประกอบด้วยการ 1.ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ hologram360 เพื่อนาไปประยุกต์สร้างเป็นบัตรประจาตัว 2.ออกแบบทดลองและพัฒนาการสร้าง hardware ในส่วนของเครื่องสาหรับอ่านและตรวจสอบบัตร 3.พัฒนา software เพื่อทางานในด้าน pattern recognition เพื่อการอ่านและยืนยัน ( verify) บัตรสาหรับเครื่องอ่านบัตร ตลอดจน ออกแบบระบบpattern สาหรับเก็บข้อมูลบนบัตร ระบบสาหรับการอ่านและพัฒนา software เพื่อทาการ simulate และทดลองการทางาน ของระบบ การอ่าน การใช้บัตร การทางานของเครื่องอ่านบัตรและ software (program) ที่ใช้อ่าน
  • 3. การศึกษาทดลองขณะนี้เป็นการพัฒนา software ซึ่งประกอบด้วย 1. การศึกษาหลักการ ลักษณะของข้อมูล ตลอดจนการเชื่อมโยง software และวิธีที่ใช้ในการอ่านและเก็บข้อมูลเพื่อวิธีของ pattern recognition ที่จะนามาใช้ โดยรวมถึงการพิจารณา tolerance ที่ย่อมรับได้ 2. ทดลองเขียน และพัฒนา software สาหรับ pattern recognition ในการอ่านบัตร 3. ทดลองเขียน และพัฒนา software เพื่อใช้ในการ simulate ผลที่ได้จากการใช้ software ที่เขียนขึ้น การอ่าน การทา pattern recognition และระบบการใช้บัตร ฯลฯ 4. ทดลองทา simulation เพื่อนาผลที่ได้มาใช้ในการพัฒนาระบบ software , hardware , และส่วนอื่น ๆ ของบัตรต่อไป ขณะนี้ในส่วนที่พัฒนา software อยู่ในขั้นตอนการศึกษาระบบ hardware และเลือกวิธีของ pattern recognition เพื่อใช้ในการ เขียน program (หรือ พัฒนา software) รวมถึงการทดลอง simulate อย่างง่ายและการศึกษาการใช้ development tools ต่าง ๆ เช่น ภาษา computer , program ต่าง ๆ เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการ simulate และพัฒนาด้าน software ต่อไปงานวิจัยนี้อยู่ระหว่างการ ดาเนินการจากหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และได้รับการตอบรับการจดทะเบียนลิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว ตัวอย่างโครงงาน 3 ชื่อโครงงาน Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกฤชวัฒน์ เวชสาร ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.วิวาราช พร แก้ว สถาบันการศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน ไม่ระบุ บทคัดย่อ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้เข้ามามีบทบาทในงานวิจัยด้านต่าง ๆ กว่า 20 ปี ทั้งยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบันมีความใกล้ชิด และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึ้น เพราะการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกกับสาขาวิชาต่าง ๆ อานวยให้การทางานนั้นมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง แม่นยา สะดวกและเหมาะสมต่อการนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ แก้ปัญหา และ/หรือใช้กับงานประยุกต์ที่มีความสลับซับซ้อนมาก ๆ ได้ แต่จานวนข้อมูลป้อน (Data input) ในการประมวลผล (Process) แปรผันตรงกับจานวนเวลาที่ใช้ และชุดคาสั่งมักเป็นจานวนชนิดทศนิยม (float) ซึ่งทาให้มีค่าหน่วงเวลา (latency) ในการทางานมาก โครงงาน 3D Shader for Game Programming นี้ มุ่งพัฒนาต้นแบบ Mini- 3D Graphics Engine สาหรับ การพัฒนาเกมส์ ในส่วนGraphics core โดยอาศัยเทคนิคการ Optimizing code ร่วมกับการ วาง Prototyping แบบพิเศษให้เข้ากับ Hardware Functions (Logical Layers)ของ CPU และ Display card ให้การแสดงผลมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น และเป็นการใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่า เพื่อลด causes of bottlenecks และ penaltiesโดยส่วนของฮาร์ดแวร์ใช้ AMD Processor และ nVidia GeFocre Display card series ส่วนของการ Programming ใช้ OpenGL ในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อการทดสอบ
  • 4. ตัวอย่างโครงงาน 4 ชื่อโครงงาน ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธัญญพร เรือนโรจน์รุ่ง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.สุรพันธ์ เมฆนาวิน สถาบันการศึกษา นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ การศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทา OCR (Optical Character Recognition) และรวบรวมตัวอย่างลายมือจากแหล่งต่างๆ เพื่อนามาศึกษาสภาพปัญหา พบปัญหาที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาในการตัดตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษรที่คล้ายกันมาก เช่น ด-ค-ต , ก-ถ-ภ , ผ-ฝ-พ-ฟ การเขียน ผิดรูปซึ่งมีผลให้ตัวอักษรที่ต่างกันมีลักษณะคล้ายกัน เช่น ย-ผ , ร-ช , พ-ม และความหลากหลายของ ลายมือ ดังนั้นการจะจดจาลักษณะตัวอักษรแต่ละตัวได้ ควรจะเน้นที่การจดจาลักษณะร่วม หรือลักษณะเด่น ของตัวอักษรนั้น จากลายมือที่ต่างกัน โดยการพิจารณาว่าตัวอักษร คือ กราฟที่ประกอบด้วยจุดยอดและขอบที่ลากเชื่อมจุด แล้วแทนอักษรแต่ละตัวด้วยจุด แต่เกิดปัญหาว่าไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ว่า ลักษณะของจุดนั้นจะใช้แทนตัวอักษรตัวใด จึงเพิ่มแฟกเตอร์ บางอย่างเข้าไป คือ เพิ่มจานวนจุดในบริเวณ จุดตัด จุดปลายและจุดสุดขอบด้านต่าง ๆ กาหนดลาดับของจุด อักษรที่คล้ายกันมากและใช้ ลักษณะเด่น ของตัวนั้นแทนจุดในบางตาแหน่ง ทาให้ความชัดเจนมากขึ้นและจะได้พิจารณาวิธีการอื่น ๆ เช่น การใช้อัตราส่วนของระยะ ระหว่างจุด การพิจารณาจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวอักษรในการแบ่งกลุ่มตัวอักษรให้ เหลือตัวที่พิจารณาน้อยลง แต่เนื่องจากตัวอักษร ภาษาไทยมีความซับซ้อนและมีรายละเอียดค่อนข้างมาก จึงมุ่งเน้นให้สามารถรู้จาตัวเลข 0-9 ให้ได้ก่อนเพื่อนาไปใช้ในการคัดแยกจดหมาย เนื่องจากรูปแบบลายมือที่พบบ่อยในการเขียนตัวเลขมีไม่มากนัก เมื่อแทนตัวเลขด้วยจุดที่มีการกาหนดลาดับ พิจารณาจุดเริ่มต้นและจุด สุดท้ายของตัวเลขแล้ว ก็สามารถแยกความแยกต่างของตัวเลขแต่ละตัวได้ค่อนข้างมาก นอกจากนี้จะใช้วิธีต่าง ๆ มาประกอบเพื่อเพิ่มความ ถูกต้อง ได้แก่ การพิจารณาตาแหน่งของจุดโดยให้ความสาคัญกับทิศทางมากกว่าระยะทาง โดยกาหนดทิศทางเพียง 8 ทิศ ถ้ามีทิศต่างไป จากทิศที่กาหนด จะหาว่ามีทิศใกล้เคียงกับทิศใดที่มกที่สุดและกาหนดให้เป็นทิศนั้น พิจารณาจากจานวนจุดที่ใกล้เคียงกัน และพิจารณาจาก ลักษณะเด่ของตัวเลข ก็จะเพิ่มความถูกต้องได้ในระดับหนึ่ง สาหรับปัญหาในการอ่านตัวเลขซึ่งอาจพบได้ เช่น การเขียนตัวเลขสองตัวติดกัน หรือการเขียนตัวเลขตัวเดียวแต่เส้นไม่ต่อเนื่องอาจทาให้เกิด ความสับสนได้ และปัญหาที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การเขียนผิดรูปซึ่งทาให้ยากแก่การจาแนกว่าตัวเลขตัวใด ซึ่งยังจะต้องศึกษาและพัฒนา ต่อไป ตัวอย่างโครงงาน 5 ชื่อโครงงาน โครงการโปรแกรมการคานวณแบบขนานเพื่อการจาลองการเกิดคลื่นสินามิ ประเภทโปรแกรมเพื่องานพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย อาทิตย์ อินทวี , นางสาว เปรมจิต อภิเมธ๊ธธาารง, นาย กิตติพัฒน์ วิโรจน์ศิริ ชื่ออาจารย์ที่ ปรึกษา อ.ดร.วีระ เหมืองสิน สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ Tsunami is one of the most serious disasters. To prevent from the loss, an effective warning system must be established. Nowadays, there is no warning system that is both accurate and fast enough to generate the warning in time, thus false alarms are common. Soon people will ignore the warning, andwemayfaceanothertragedy. There is a program named TUNAMI which can accurately calculate the water level and the speed of tidal wave given initial parameter, but this program is very slow due to a lot of calculation. The parallel tsunami simulation program will be the parallel version of TUNAMI, applying both functional and domain decompositions. This program will be much faster than the original program and will be able to be used in real-time warning system. Cr : http://toffykz.blogspot.com/2012/08/8.html