SlideShare a Scribd company logo
Introduction to Information Technology


     หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง (Secondary storage Unit)

        ก่อนที่จะศึกษาว่าคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลได้อย่างไร ผู้อ่าน
จะต้องทราบก่อนว่าสื่อสำา หรับเก็บข้อมูลนั้นมีอะไรบ้าง เนื่องจาก
คอมพิ ว เตอร์ แ ปลงคำา สั่ ง และข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เก็ บ ไว้ ใ นรู ป แบบของ
เลขฐานสองคื อ ٠ และ ١ ทั้ ง สิ้ น โดยที่ ตั ว อั ก ษร ตั ว เลข และ
สั ญ ลั กษณ์ พิเ ศษต่ า ง ๆ จะถู ก แทนด้ ว ยกลุ่ ม ของตั ว เลขเลขฐาน
สอง และเนื่องจากแรมเป็นหน่วยความจำา ที่ไม่ได้เก็บข้อมูลอย่าง
ถาวร ถ้าปิดเครื่องหรือไฟดับข้อมูลก็หายไป ดังนั้นถ้าผู้ใช้มีข้อมูล
อยู่ในแรมก็จะต้องทำา การจัดเก็บข้อมูล โดยย้ายข้อมูลจากหน่วย
ความจำา ไปไว้ ใ นหน่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล สำา รอง เนื่ อ งจากสามารถเก็ บ
ข้อมูลได้อย่างถาวร ไม่มี การเปลี่ ยนแปลงนอกจากผู้ ใช้ เป็ นผู้ สั่ง
รวมทั้ ง สามารถเก็ บ ข้ อมู ล จำา นวนมากได้ และที่ สำา คั ญ หน่ ว ยเก็ บ
ข้ อ มู ล สำา รองจะมี ร าคาถู ก มากเมื่ อ เที ย บกั บ หน่ ว ยความจำา หลั ก
ทำา ให้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นปั จ จุ บั น จะมี ห น่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล สำา รองซึ่ ง
สามารถเก็บข้อมูลจำานวนมาก อย่างไรก็ดีความเร็วในการอ่านและ
บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ของหน่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล สำา รองจะตำ่า กว่ า หน่ ว ยความ
จำาหลัก ดังนั้นจึงควรทำางานให้เสร็จก่อน จึงย้ายข้อมูลนั้นไปไว้ใน
หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง
        ในปัจจุบันมีหน่วยเก็บข้อมูลให้เลือกใช้หลายชนิด ดังต่อไป
นี้
١.เทป (Tape)
        เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)
                เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้กันมานานตั้งแต่คอมพิวเตอร์
        ยุคที่หนึ่งและยุคที่สอง ปัจจุบันได้รับความนิยมน้อยลง เทป
        แม่เหล็กมีหลักการทำา งานคล้ายเทปบันทึกเสียง แต่เปลี่ยน
        จากการเล่ น (Play) และบั น ทึ ก (Record) เป็ น การอ่ า น
        (Read) และเขียน (Write) แทนในเครื่องเมนเฟรมเทปที่ใช้
        จะเป็นแบบม้วนเทป (Reel-to-reel) ซึ่งเป็นวงล้อขนาดใหญ่
        ในเครื่ อ งมิ นิ ค อมพิ ว เตอร์ จ ะใช้ ค าร์ ทริ ด จ์ เ ทป (Cartridge
        tape) ซึ่ ง มี ลั ก ษณะคล้ า ยวิ ดี โ อเทป ส่ ว นในเครื่ อ งไมโคร
        คอมพิวเตอร์จะใช้ตลับเทป (Cassette tape) ซึ่งมีลักษณะ
        เหมื อนเทปเพลง เทปทุก ชนิ ดที่ ก ล่ า วมามี ห ลั ก การทำา งาน
        คล้ า ยกั บ เทปบั น ทึ ก เสี ย ง คื อ จะอ่ า นข้ อ มู ล ตามลำา ดั บ ก่ อ น
        หลังตามที่ไ ด้บั นทึ กไว้ เรียกหลั กการนี้ ว่ า การเข้ าถึ ง ข้ อ มู ล
        ตามลำา ดั บ (Sequential access) การทำา งานลั ก ษณะนี้ จึ ง

                                                                                1
Introduction to Information Technology


       เป็ น ข้ อเสี ย ของการใช้ เ ทปแม่ เ หล็ ก บั นทึ ก ข้ อ มู ล คื อ ทำา ให้
       อ่านข้อมูลได้ช้า เนื่องจากต้องอ่านข้อมูลในม้วนเทปไปเรื่อย
       ๆ จนถึงตำา แหน่งที่ ต้อ งการ ผู้ ใช้ จึง นิยมนำา เทปแม่เ หล็ ก มา
       สำา รองข้อมูลเท่านั้น ส่วนข้อมูลที่กำา ลังใช้งานจะถูกเก็บอยู่
       บนหน่วยเก็บข้อมูลแบบ จานแม่เหล็ก (Magetic Disk) เพื่อ
       ให้ เ รี ย กใช้ ไ ด้ ง่ า ย และนำา เฉพาะข้ อ มู ล ที่ สำา คั ญ และไม่ ถู ก
       เรี ย กใช้ บ่ อ ยมา เก็ บ สำา รอง (Backup) ไว้ ใ นเทปแม่ เ หล็ ก
       เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล
                ข้อดีของเทปแม่เหล็กคือสามารถบันทึก อ่าน และลบกี่
       ครั้งก็ได้ รวมทั้งมีราคาตำ่า นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกข้อมูล
       จำา นวนมาก ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ในสื่อ ที่มี ขนาดไม่ใ หญ่ มาก
       นัก ความจุของเทปแม่เหล็กจะมีหน่วยเป็น ไบต์ต่อนิ้ว (Byte
       per inch) หรือ บีพีไอ (bpi) ซึ่งหมายถึงจำา นวนตัวอักษรที่
       เก็ บ ในเทปยาวหนึ่ ง นิ้ ว หรื อ เรี ย กได้ อี ก อย่ า งว่ า ความหนา
       แน่นของเทปแม่เหล็ก เทปแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นตำ่า จะ
       เก็ บ ข้ อ มู ล ได้ ป ระมาณ 1,600 บี พีไ อ ส่ ว นเทปแม่ เ หล็ ก ที่ มี
       ความหนาแน่ น สู ง จะเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ ป ระมาณ ٦,٢٥٠ บี พีไ อ
       นอกจากนี้ จะมี เ ทปแม่ เ หล็ ก รุ่ น ใหม่ ๆ คื อ DAT (Digital
       Audio Tape) ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเครดิตการ์ดเล็ กน้ อย แต่
       สามารถจุ ข้ อมู ลได้ ٥ -٢ จิ ก ะไบต์ และ R-DAT ซึ่ ง สามารถ
       เก็บข้อมูลได้มากกว่า ١٤ จิกะไบต์ บนเทปที่ยาว ٩٠ เมตร
                        การที่เทปแม่ เหล็ก ยังคงได้รั บความนิ ยมให้เ ป็น
       สื่อที่เก็บสำา รองข้อมูล ก็เพราะความเร็ว ความจุข้อมูล และ
       ราคานั่นเอง

٢. จำนแม่เหล็ก (Magnetic Disk)
       จานแม่ เ หล็ ก สามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ เ ป็ น จำา นวนมาก และมี
คุ ณ สมบั ติ ใ นการ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล โดยตรง (Direct access) ไม่
จำาเป็นต้องอ่านไปตามลำาดับเหมือนเทป จานแม่เหล็กจะต้องใช้คู่
กั บ ตั ว ขั บ จานแม่ เ หล็ ก หรื อ ดิ ส ก์ ไ ดร์ ฟ (Disk drive) ซึ่ ง เป็ น
อุ ป กรณ์ สำา หรั บ อ่ า นเขี ย นจานแม่ เ หล็ ก (มี ห น้ าที่ คล้ า ยกั บ เครื่ อ ง
เล่นเทป) จานแม่เหล็กเป็นสื่อที่ใช้หลักการของการ เข้าถึงข้อมูล
แบบสุ่ม (Random-access) นั่นคือ ถ้าต้องการข้อมูลลำา ดับที่ ٥٢
หัวอ่านก็จะตรงไปที่ข้อมูลนั้นและอ่านข้อมูลนั้นขึ้นมาใช้งานทันที
ทำา ให้มี ความเร็ว ในการอ่ านและบันทึ กที่ สูง กว่า เทปมาก หั ว อ่ า น
ของดิ ส ก์ ไ ดร์ ฟ เรี ย กว่ า หั ว อ่ า นและบั น ทึ ก (read/write head)

                                                                                 2
Introduction to Information Technology


เมื่ อ ผู้ ใ ช้ ใ ส่ แ ผ่ น จานแม่ เ หล็ ก เข้ า ไปในดิ ส ก์ ไดร์ ฟ แผ่ น จานแม่
เหล็กก็จะเข้าไปสวมอยู่ในแกนกลม ซึ่งเป็นที่ยึดสำาหรับหมุนแผ่น
จานแม่เหล็ก จากนั้นหัวอ่านและบันทึกก็จะอ่าน อิมพัลส์ของแม่
เหล็ ก (Magnetic impulse) บนแผ่ น จานแม่ เ หล็ ก ขึ้ น มาและ
แปลงเป็ น ข้ อ มู ล ส่ ง เข้ า คอมพิ ว เตอร์ ต่ อ ไป หั ว อ่ า นและบั น ทึ ก
สามารถเคลื่อนย้ายในแนวราบเหนือผิวหน้าของแผ่นจานแม่เหล็ก
ถ้ า ใช้ แ ผ่ น จานแม่ เ หล็ ก ที่ มี ผิ ว หน้ า ต่ า งกั น ก็ ต้ อ งใช้ หั ว อ่ า นและ
บั น ทึ ก ต่ า งชนิ ด กั น ด้ ว ย นอกจากนี้ เนื่ อ งจากดิ ส ก์ ไ ดร์ ฟ นั้ น เป็ น
เพียงอุปกรณ์เครื่องกลชนิดหนึ่งซึ่งอาจเกิดปัญหาขึ้นได้ จึงจำาเป็น
ต้องมีการเก็บสำารองข้อมูลและโปรแกรมทีใช้อย่างสมำ่าเสมอ    ่
        ก่อนที่จะใช้แผ่นจานแม่เหล็กเก็บข้อมูล จะต้องผ่านขั้นตอน
ของการ ฟอร์แมต(Format) ก่อน เพื่อเตรียมแผ่นจานแม่เหล็กให้
พร้อมสำาหรับเครื่องรุ่นที่จะใช้งาน (เช่น เครื่อง PC และ Mac จะมี
ฟอร์แมตที่ต่างกันแต่สามารถใช้แผ่นจานแม่เหล็กรุ่นเดียวกันได้)
โดยหัวอ่านและบันทึกจะเขียนรูปแบบของแม่เหล็กลงบนผิวของ
แผ่นจานแม่เหล็ก เพื่อให้การบันทึกข้อมูลลงแผ่นจานแม่เหล็กใน
ภายหลังทำา ตามรูปแบบดังกล่าว การฟอร์แมตแผ่นจานบันทึกจัด
เป็นงานพื้นฐานหนึ่งของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
        ข้ อ มู ล จะถู ก บั น ทึ ก ลงบนจานแม่ เ หล็ ก ตามรู ป แบบที่ ไ ด้
ฟอร์แมตไว้แล้ว คือแบ่งในแนววงกลมรอบแกนหมุนเป็นหลาย ๆ
วง เรียกว่า แทร็ก(Track) แต่ละแทร็กจะถูกแบ่งออกในแนวของ
ขนมเค็ ก เรี ย กว่ า เซกเตอร์ (Sector) และถ้ า มี เ ซกเตอร์ ม ากกว่ า
หนึ่ ง เซกเตอร์ ร วมกั น เรี ย กว่ า คลั ส เตอร์ (Cluster) นอกจากนี้ ใ น
ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะมีตารางสำาหรับจัดการข้อมูลในแผ่น
จานแม่ เ หล็ ก ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ เ ก็ บ ตำา แหน่ ง แทร็ ก และเซกเตอร์ ข อง
ข้อมูลที่อยู่ภายในจานแม่เหล็ก เรียกตารางนี้ว่า ตารางแฟต (FAT
หรื อ File Allocation Table) ซึ่ ง ตารางนี้ ทำา ให้ ค อมพิ ว เตอร์
สามารถค้นหาและจัดการกับข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
        ในปัจจุบันมีจานแม่เหล็กที่ได้รับความนิย มอย่างสูง อยู่ส อง
ชนิ ด คื อ ฟลอปปี้ ดิ ส ก์ (Floppy Disk) และ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ (Hard
Disk) โดยเครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร์ ที่ จำา หน่ า ยในปั จ จุ บั น จะมี
ดิสก์ไดร์ฟและฮาร์ดดิสก์ติดมาด้วยเสมอ

       ฟลอปปี้ดิสก์และดิสก์ไดร์ฟ (Floppy Disk and Disk Drive)
                  ฟลอปปี้ ดิ ส ก์ ห รื อ ที่ บ างครั้ ง นิ ย มเรี ย กว่ า ดิ ส ก์
       เกตต์ (Diskette) เป็นแผ่นพลาสติกวงกลม ในปัจจุบันนิยม

                                                                                     3
Introduction to Information Technology


ใช้ข นาด ٣.٥ นิ้ว (วัดจากเส้น รอบวงของวงกลม) ซึ่งบรรจุ
อยู่ในพลาสติกแบบแข็งรูปสี่เหลี่ยม และสามารถอ่านได้ด้วย
ดิสก์ไดร์ฟ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ส่วนมากจะ
มีดิสก์ไดร์ฟอย่างน้อยครึ่งไดร์ฟเสมอ ดิสก์ไดร์ฟมีหน้าที่สอง
อย่ า งคื อ อ่ า นและบั น ทึ ก โดยการอ่ า นมี ห ลั ก การทำา งาน
คล้ า ยกั บ การเล่ น ซี ดี เ พลง ส่ ว นการบั น ทึ ก นั้ น มี ห ลั ก การ
ทำา งานคล้ายกับการบันทึกเสียงลงในเทปบันทึกเสียง ต่ าง
กันก็ตรงที่ผู้ใช้ไม่ต้องกดปุ่มใด ๆ เมื่อต้องการบันทึกข้อมูล
เพราะโปรแกรมที่ใช้งานจะจัดการให้โดยอัตโนมัติ แผ่นดิกส์
เกตต์ จ ะมี แถบป้ อ งกั น การบั น ทึ ก (Write-protection) อยู่
ด้ ว ย ผู้ ใ ช้ ส ามารถเปิ ดแถบนี้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ก ารบั น ทึ ก
ข้อมูลอื่นทับไปหรือลบทิ้งข้อมูล
       จำา นวนข้อมูลที่ เก็ บอยู่ในแผ่น ดิส ก์ เ กตต์ จะขึ้ น อยู่ กับ
ความหนาแน่นของสารแม่เหล็กบนผิวของแผ่นโดยสามารถ
แบ่ ง ออกเป็ น สองชนิ ด คื อ ดิ ส ก์ ค วามจุ ส องเท่ า (Double
density) ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ไม่ นิ ย มใช้ แ ล้ ว ส่ ว นอี ก ชนิ ด หนึ่ ง คื อ
ดิสก์ความจุสูง (High density) ซึ่งจะเก็บข้อมูลได้มากกว่า
ดิสก์ที่มีความจุเป็นสองเท่าและเป็นดิสก์ที่นิยมใช้งานกันอยู่
ทัวไป
   ่
       นอกจากนี้ ในปั จ จุ บั น จะมี ดิ ส ก์ เ กตต์ แ บบพิ เ ศษที่ มี
ความจุ สู ง ถึ ง ١٢٠ MB ต่ อ แผ่ น ซึ่ ง ใช้ เ ทคโนโลยี ท างด้ า น
Laser เรียกว่า Laser Servo (LS) ช่วยให้สะดวกในการเก็บ
แฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่หรือมีปริมาณมากได้ในแผ่นเพียงแผ่น
เดียว รวมทั้งสามารถอ่านดิสก์เกตต์ ٧٢٠ KB และ ١.٤٤ MB
ได้ โดยมีอัตราการโอนถ่ายข้อมูลเร็วกว่าดิสก์เกตต์ปกติถึง ٥
เท่า

ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
       มีหลักการทำา งานคล้ายกับฟอลปปี้ดิสก์ แต่ฮาร์ดดิสก์
ทำา มาจากแผ่นโลหะแข็งเรียกว่า Platters ทำา ให้เก็บข้อมู ล
ได้มากและทำางานได้รวดเร็ว ฮาร์ดดิสก์ส่วนมากจะถูกยึดติด
อยู่ ภ ายในเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ แต่ ก็ มี บ างรุ่ น ที่ เ ป็ น แบบ
เคลื่ อนย้ายได้ (Removable Disk) โดยจะเป็ นแผ่ นจานแม่
เหล็กเพียงแผ่นเดียวอยู่ในกล่องพลาสติกบาง ๆ มีลักษณะ
คล้ายกับฟอลปปี้ดิสก์ ตัวอย่างเช่น Jaz หรือ Zip Disk จาก
lomega หรือ Syjet จาก Syquest ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้

                                                                             4
Introduction to Information Technology


      ตั้ ง แต่ ١ จิ ก ะไบต์ ขึ้ น ไป ในแผ่ น ขนาดประมาณ ٣.٥ นิ้ ว
      เท่ า นั้ น และตั ว ไดร์ ฟ จะมี ทั้ ง รุ่ น ที่ ต่ อ กั บ คอมพิ ว เตอร์ ท าง
      พอร์ตขนานหรือ SCSI
               ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ที่ นิ ย มใช้ กั บ เครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร์ ใ น
      ปั จ จุ บั น จะประกอบด้ ว ยจานแม่ เ หล็ ก หลาย ๆ แผ่ น และ
      สามารถบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ได้ ทั้ ง สองหน้ า ของผิ ว จานแม่ เ หล็ ก
      โ ด ย ที่ ทุ ก แ ท ร็ ก (Track) แ ล ะ เ ซ ก เ ต อ ร์ (Sector) ที่ มี
      ตำาแหน่งตรงกันของฮาร์ดดิสก์ชุดหนึ่งจะเรียกว่า ไซลินเดอร์
      (Cylinder)
               แผ่นจานแม่เหล็กของฮาร์ดดิสก์นั้นหมุนเร็วมาก โดยที่
      หั วอ่า นและบันทึกจะไม่ สัม ผั ส กั บ ผิ ว ของแผ่ น จานแม่ เ หล็ ก
      ดังนั้นจึงอาจมีความผิดพลาดหรือเสียหายเกิดขึ้นได้ถ้ามีบาง
      สิ่ งอย่างเช่ น ฝุ่ น หรื อ ควั น บุ ห รี่ กี ดขวางหั ว อ่ า นและบั น ทึ ก
      เพราะอาจทำาให้หัวอ่านและบันทึกกระแทรกกับผิวของแผ่น
      จานแม่เหล็ก
               ก า ร ที่ ฮ า ร์ ด ดิ ส ก์ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม จุ ที่ สู ง
      เนื่องจากฮาร์ ดดิ สก์ ห นึ่ ง ชุ ดประกอบด้ ว ยแผ่ น จานแม่ เ หล็ ก
      จำา นวนหลายแผ่นทำา ให้ เก็ บข้ อมู ลได้ ม ากกว่ าฟลอปปี้ ดิส ก์
      โดยฮาร์ดดิสก์ในปัจจุบันจะมีความจุเริ่มตั้งแต่ ١٠ GB ขึ้นไป
      นอกจากนี้ ฮาร์ดดิสก์จะหมุนด้วยความเร็วสูงมาก คือตั้งแต่ ٥
      ,٤٠٠ รอบต่อนาทีขึ้ นไป ทำา ให้สามารถอ่ า นข้ อ มู ลได้ อ ย่ า ง
      รวดเร็ ว ฮาร์ ดดิ ส ก์ รุ่ น ใหม่ ๆ ส่ ว นมากจะมี ความเร็ ว ในการ
      อ่านข้อมูลเฉลี่ย (Averge access time) อยู่ตำ่ากว่า ١٠ มิลลิ
      วินาที (mis)
               การเชื่อมต่อฮาร์ดดิสก์กับแผงวงจรหลักจะต้องมี ส่วน
      เชื่ อ มต่ อ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ (Hard disk interface) ซึ้ ง จะมี ว งจร
      มาตรฐานที่ทั้งแผงวงจรหลักและฮาร์ดดิสก์รู้จัก ทำาให้ข้อมูล
      สามารถส่ ง ผ่ า นระหว่ า งแผงวงจรหลั ก และฮาร์ ด ดิ ส ก์ ไ ด้
      มาตรฐานส่ ว นเชื่ อ มต่ อ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ที่ นิ ย มใช้ ใ นปั จ จุ บั น คื อ
      EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) แ ล ะ
      SCSI (Small Computer System Interface)

3. ออปติคัลดิสก์ (Optical Disk)
     มี ห ลั ก การทำา งานคล้ า ยกั บ การเล่ น ซี ดี (CD) เพลง คื อ ใช้
เทคโนโลยี ข องแสงเลเซอร์ ทำา ให้ ส ามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ จำา นวน
มหาศาลในราคาไม่แพงนัก

                                                                                        5
Introduction to Information Technology


    ในปัจจุบันจะมีออปติคอลอยู่หลายแบบซึ่ งใช้ เทคโนโลยีที่
แตกต่างกันไป คือ
    ซี ดี ร อ ม (CD-ROM ห รื อ Computer Disk Read Only
Memory)
            แผ่นซีดีรอมจะมีลักษณะคล้ายซีดีเพลงมาก สามารถ
    เก็บข้อมูลได้สูงถึง ٦٥٠ เมตร เมกะไบต์ต่อแผ่น การใช้งาน
    แผ่นซีดีรอมจะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวซีดีรอมไดร์ฟ
    (CD-ROM Drive) ซึ่ง จะมี หลายชนิ ดขึ้ นกั บความเร็ วในการ
    ทำา งาน ซี ดี ร อมไดร์ ฟ รุ่ น แรกสุ ด นั้ น มี ค วามเร็ ว ในการอ่ า น
    ข้ อมู ล ที่ ١٥٠ กิ โลไบต์ ต่อ วิ น าที เรี ย กว่ ามี ความเร็ ว ١ เท่ า
    หรื อ ١x ซี ดี ร อมไดร์ ฟ รุ่ น หลั ง ๆ จะอ้ า งอิ ง ความเร็ ว ในการ
    อ่านข้อมูลจากรุ่นแรก เช่น ความเร็ว ٢ เท่า (٢x) ความเร็ว ٤
    เท่า(4x) ไปจนถึง ٥٠ เท่า (٥٠x) เป็นต้น โดยปัจจุบันนี้ซีดี
    รอมไดร์ฟที่มีอยู่ในท้องตลาดจะมีความเร็วตั้งแต่สามสิบเท่า
    ขึ้ นไป ข้ อจำา กั ดของซี ดีร อมคื อ สามารถบั น ทึ ก ได้ เ พี ย งครั้ ง
    เดี ย วด้ ว ยเครื่ อ งมื อ เฉพาะเท่ า นั้ น จากนั้ น จะไม่ ส ามารถ
    เปลียนแปลงข้อมูลเหล่านั้นได้
          ่
            ซีดีรอมได้รับความนิยมใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูลสำาหรับอ่าน
    อย่างเดียวเป็นอย่างมาก เช่น ซอฟต์แวร์ เกมส์ พจนานุกรม
    แผนที่ โ ลก หนั ง สื อ ภาพยนตร์ เป็ น ต้ น ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น
    ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ จะมาในรูปของซีดีรอมเป็นหลัก เนื่องจาก
    สะดวกต่อการติดตั้งลงฮาร์ดดิสก์ ไม่ต้องทำาการเปลี่ยนแผ่น
    บ่อย ๆ โอกาสเสียมีน้อยและต้นทุนตำ่า
            การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ลงในแผ่ น ซี ดี ร อม ปกติ แ ล้ ว ต้ อ งใช้
    เครื่องซึ่งมีราคาแพงมาก แต่ในปัจจุบันมีแผ่นซีดีรอมที่เรียก
    ว่า ซีดีอาร์ (CD-R หรือ CD Recordable) ซึ่งสามารถบันทึก
    ข้ อมู ล ลงในแผ่ น ด้ ว ยซี ดีอ าร์ ไ ดร์ ฟ (CD-R drive) ที่ มี ร าคา
    ไม่สูงนัก และนำา แผ่นซีดีอาร์ที่มีข้อมูลบันทึกไว้ไปอ่านด้วย
    ซีดีรอมไดร์ฟปกติได้ทันที
            ซีดีอาร์ไ ดร์ฟ สามารถบั นทึก แผ่ นซี ดีอ าร์ใ ห้เ ป็น ได้ทั้ ง
    ซีดีรอมหรือซีดีเพลง (Audio CD) และเก็บบันทึ กข้ อมู ลได้
    ประมาณ ٩٠٠-٦٠٠ เมกะไบต์ในหนึ่งแผ่น (ถ้าเก็บข้อมูลนั้น
    ในแผ่นดิสก์เกตต์จะต้องใช้หลายร้อยแผ่น) ทำาให้เหมาะกับ
    การนำา มาจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ทางด้ า น มั ล ติ มี เ ดี ย (Multimedia)
    และยังมีการนำามาใช้บันทึกเป็น แผ่นต้นฉบับ (Master Disk)
    เพื่อนำาไปผลิตแผ่นซีดีจำานวนมากต่อไป

                                                                            6
Introduction to Information Technology


         ความเร็วของไดร์ฟซีดีอาร์จะระบุโดยใช้ตัวเลขสองตัว
คื อความเร็ วในการเขี ย นแผ่ น และความเร็ ว ในการอ่ า นแผ่ น
คั่ นด้ วยเครื่ องหมาย X ซึ่ งหมายถึ ง ความเร็ ว คิ ดเป็ น จำา นวน
เท่ า ของ ١٥٠ กิ โ ลไบต์ ต่ อ วิ น าที เช่ น ٢٤x ٤٠ หมายถึ ง
ไดร์ฟซีดีอาร์นั้นสามารถเขียนแผ่นด้วยความเร็ว ٢٤ เท่า (١
٥٠x ٣٦٠٠ = ٢٤ กิ โ ลไบต์ ต่ อ วิ น าที ) และอ่ า นแผ่ น ด้ ว ย
ความเร็ว ٤٠ เท่า (150x ٦٠٠٠=٤٠ กิโลไบต์ต่อวินาที)
         ในปั จ จุ บั น จะมี ไ ดร์ ฟ แบบ ซี ดี อ าร์ ดั บ เบิ ล ยู (CD-RW
Drive) ทีใช้สำาหรับบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นให้ไดร์ฟและแผ่น
             ่
CD-RW ซึ่งเป็นแผ่นซีดีพิเศษที่สามารถลบแล้วบันทึกใหม่
ได้ ค ล้ า ยกั บ การบั น ทึ ก บนแผ่ น ดิ ส ก์ เ กตต์ ทำา ให้ ไ ดร์ ฟ และ
แผ่ น CD-RW เริ่ ม ได้ รั บ ความนิ ย มมากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ อี ก ทั้ ง
ไดร์ฟ CD-RW ยังสามารถทำาการบันทึกข้อมูลลงแผ่น CD-R
ได้ (เขี ย นได้ ค รั้ ง เดี ย วไม่ ส ามารถลบได้ เ ช่ น เดี ย วกั บ การ
เขี ย นด้ ว ยไดร์ ฟ ซี ดี อ าร์ ) ทำา ให้ ส ะดวกกั บ การเลื อ กบั น ทึ ก
โดยกรณีที่ ต้องการเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ การเปลี่ย นแปลงแล้ ว ก็
สามารถบั น ทึ ก ลงแผ่ น ซี ดี อ าร์ ที่ มี ร าคาถู ก กว่ า และสำา หรั บ
ข้อมูลทียังมีการเปลียนแปลงบ่อย ๆ ก็สามารถบันทึกลงแผ่น
           ่              ่
CD-RW ได้
         ความเร็ ว ของไดร์ ฟ ซี ดี อ าร์ ดั บ เบิ ล ยู จ ะระบุ โ ดยใช้
ตั ว เลขสามตั ว คื อ ความเร็ ว ในการเขี ย นแผ่ น แบบซี ดี อ าร์
ความเร็วในการลบและเขียนซำ้าบนแผ่นซีดีอาร์ดับเบิ้ลยู และ
ความเร็ ว ในการอ่ า นแผ่ น คั่ น ด้ ว ยเครื่ อ งหมาย x เช่ น ٢
٤x10x40 หมายถึงไดร์ฟซีดีอาร์ดับเบิลยูเ ครื่ องนั้น สามารถ
เขียนแผ่นด้วยความเร็ว ٢٤ เท่า (١٥٠x ٣٦٠٠=٢٤ กิโลไบต์
ต่ อ วิ น าที ) ลบและเขี ย นซำ้า ด้ ว ยความเร็ ว ١٠ เท่ า (١
٥ ٠x10=1500 กิ โ ล ไ บ ต์ ต่ อ วิ น า ที ) แ ล ะ อ่ า น แ ผ่ น ด้ ว ย
ความเร็ว ٤٠ เท่า (150x40=6000 กิโลไบต์ต่อวินาที)

วอร์มซีดี (WORM CD หรือ Write Once Read Many CD)
       เป็นซีดีที่ผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลลงในแผ่นวอร์มซีดี
ได้ ห นึ่ ง ครั้ ง และสามารถอ่ า นข้ อ มู ล ที่ บั น ทึ ก ไว้ ขึ้ น มากี่ ค รั้ ง
ก็ได้ แต่จะไม่สามารถเปลี่ยนแก้ไขข้อมูลที่เก็บไปแล้วได้อีก
แผ่นวอร์มซีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ ٦٠٠ เมกะไบต์ ไป
จนถึงมากกว่า ٣ จิกะไบต์ ขึ้นกับชนิดของวอร์มซีดีที่ใช้งาน


                                                                               7
Introduction to Information Technology


         วอร์ ม ซี ดีจ ะมี จุ ดด้ อ ยกว่ า ซี ดีร อมในเรื่ อ งของการไม่ มี
มาตรฐานที่แน่นอน นั่นคือแผ่นวอร์มซีดีจะต้องใช้กับเครื่อง
อ่ านรุ่ นเดียวกับ ที่ ใ ช้ บั นทึ ก เท่ า นั้น ทำา ให้ มี ก ารใช้ ง านในวง
แคบ โดยมากจะนำามาใช้ในการเก็บสำารองข้อมูลเท่านั้น

เอ็มโอดิสก์ (MO หรือ Magneto Optical disk)
        เป็นระบบที่ใ ช้ห ลัก การของสื่ อ ที่ ใ ช้ ส ารแม่ เ หล็ ก เช่ น
ฮาร์ ด ดิ ส ก์ กั บ สื่ อที่ ใ ช้ แ สงเลเซอร์ เช่ น ออปติ คั ล ดิ ส ก์ เ ข้ า
ด้ ว ยกั น โดย เอ็ ม โอไดร์ ฟ จะใช้ แ สงเลเซอร์ ช่ ว ยในการ
บั นทึ กและอ่ านข้ อมู ล ทำา ให้ ส ามารถอ่ า นและบั น ทึ ก แผ่ น กี่
ครั้งก็ได้คล้ายกับฮาร์ดดิสก์ เคลื่อนย้ายแผ่นได้คล้ายฟลอป
ปี้ ดิส ก์ มี ความจุ สู ง มากคื อ ตั้ ง แต่ ٢٠٠ MB ขึ้ น ไป รวมทั้ ง มี
ความเร็วในการใช้งานที่สูงกว่าฟลอปปี้ดิสก์และซีดีรอม แต่
จะช้ากว่าฮาร์ดดิสก์
        ข้อดีอีกประการของเอ็มโอดิสก์คือ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน
เอ็มโอดิสก์จะปลอดภัยจากสนามแม่เหล็ก ต่างกับฟลอปปี้
ดิสก์และฮาร์ดิสก์ เพราะสนามแม่เหล็กเพียงอย่างเดียวไม่มี
ความร้อนจากแสงเลเซอร์จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูล
ได้ และการทีใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการอ่านและบันทึกข้อมูล
                  ่
นั้ น ทำา ให้ หัวอ่ านบั นทึ ก ข้ อ มู ล ไม่จำา เป็ น ต้ อ งเข้ า ใกล้ กับ ผิ ว
ของแผ่นดิสก์เหมือนกับฮาร์ดดิสก์ จึงช่วยลดความผิดพลาด
ที่เกิดจาก การล้มเหลว (Crash) ของหัวอ่าน โดยดิสก์แบบ
เอ็มโอสามารถมีอายุการใช้งานได้ยาวนานกว่า ٣٠ ปีทีเดียว
ข้อเสียที่สำา คัญของเอ็มโอดิสก์ คือราคาเครื่องขับแผ่นเอ็ม
โอจะเกิ ดการทำา งานสองขั้ น ตอน คื อ ลบข้ อ มู ล ออกแล้ ว จึ ง
เขียนข้อมูลใหม่เข้าไป


ดีวีดี(DVD หรือ Digital Versatile Disk)
       เป็นเทคโนโลยี ใหม่ล่าสุ ดที่ เริ่ มได้ รับ ความนิย มอย่ าง
มากในปัจจุบัน แผ่นดีวีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ตำ่าสุดที่ ٤.٧ จิ
กะไบต์ ซึ่ ง เพี ย งพอสำา หรั บ เก็ บ ภาพยนตร์ เ ต็ ม เรื่ อ งด้ ว ย
คุ ณภาพสูง สุ ดทั้ ง ภาพและเสี ย ง (ในขณะที่ CD-ROM หรื อ
Laser Disk ที่นิยมใช้เก็บภาพยนตร์ในปัจจุบันต้องใช้หลาย
แผ่น) ทำา ให้เป็นที่คาดหมายว่าดีวีดีจะมาแทนที่ทั้ง ซีดีรอม
เลเซอร์ดิสก์หรือแม้กระทั่งวิดีโอเทป

                                                                             8
Introduction to Information Technology


               ข้ อกำา หนดของดี วี ดีจ ะสามารถมี ความจุ ไ ด้ ตั้ ง แต่ ٤.٧
      GB ถึง ١٧ GB และมีความเร็วในการเข้าถึง (Access time)
      อยู่ ที่ ٦٠٠ กิ โ ลไบต์ ต่ อ วิ น าที ถึ ง ١.٣ เมกะไบต์ ต่ อ วิ น าที
      รวมทั้งสามารถอ่านแผ่นซีดีรอมแบบเก่าได้ด้วย และยังมีข้อ
      กำาหนดสำาหรับเครื่องรุ่นที่สามารถอ่านและเขียนแผ่นดีวีดีได้
      ในตั ว เช่ น DVD-R(DVD Recordable) ซึ่ ง สามารถบั น ทึ ก
      ข้ อ มู ล ได้ ห นึ่ ง ครั้ ง DVD-ROM ซึ่ ง สามารถบั น ทึ ก และลบ
      ข้ อมู ล ได้ เ ช่ น เดี ย วกั บ ดิ ส ก์ เ กต และ DVD-RW ซึ่ ง สามารถ
      บันทึกและลบข้อมูลได้หลายครั้ง แต่ต้องทำาทั้งแผ่นในคราว
      เดียว เป็นต้น

٤. ส่วนเชื่อมต่ออุปกรณ์ (Peripheral Interface)
      1. ยูเอสบี (USB หรือ Universal Serial Bus)
             เป็นส่วนเชื่อมต่อที่ใช้หลักการของบัสแบบอนุกรมที่ได้
      รับความนิยม และเป็นมาตรฐานที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน
      ส่วนเชื่อมต่อยูเอสบีจะเป็นบัสอเนกประสงค์สำาหรับเชื่อมต่อ
      อุ ปกรณ์ ความเร็ว ตำ่า ทั้ง หมดเข้า พอร์ตชนิ ดต่า ง ๆ ด้ า นหลัง
      เครื่อง จะเปลี่ยนมาเป็นการเข้ากับพอร์ตยูเอสบีเพียงพอร์ต
      เดียว อุปกรณ์ที่ต่อทีหลังจะใช้วิธีต่อเข้ากับพอร์ตยูเอสบีของ
      อุ ป กรณ์ ก่ อ นหน้ า แบบ เรี ย งไปเป็ น ทอด ๆ (Daisy chain)
      ซึ่ ง สามารถต่ อ ได้ สู ง สุ ด ถึ ง ١٢٧ อุ ป กรณ์ และสายเชื่ อ ม
      ระหว่างอุปกรณ์ยาวได้ถึง ٥ เมตร
             อุ ป กรณ์ ที่ เ ป็ น แบบยู เ อสบี จ ะสนั บ สนุ น การถอดหรื อ
      เปลี่ยนอุปกรณ์โดยไม่ต้องปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อน (Hot
      Swapping) รวมทั้งสนับสนุนการใช้งานแบบเสียบแล้วใช้ได้
      ทันที (Plug and Play) โดยส่วนเชื่อมต่อแบบยูเอสบีที่ใช้ใน
      ปัจจุบันจะใช้มาตรฐาน USB 1.1 ที่มีความเร็ว ٢ ระดับ คือ ١
      .٥ เมกะบิ ต ต่ อ วิ น าที และ ١٢ เมกะบิ ตต่ อ วิ น าที ในขณะที่
      มาตรฐานรุ่นล่าสุดคือ USB 2.0 จะสามารถมีความเร็วได้ถง ٤         ึ
      ٨٠ Mbps ซึ่ ง ทำา ให้ ส ามารถรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล คุ ณ ภาพและเสี ย ง
      จำานวนมาก ๆ ได้

      ٢. อินฟราเรด (IrDa Port)
            เ ป็ น ม า ต ร ฐ า น ส่ ว น เ ชื่ อ ม ต่ อ จ า ก Infrared Data
      Association(IrDa) ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ก ลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต
      อุ ปกรณ์ เพื่ อพั ฒนามาตรฐานในการส่ ง ผ่า นข้ อ มู ล ผ่ า นคลื่ น

                                                                            9
Introduction to Information Technology


แสงอินฟราเรด ในปัจจุบัน ส่วนเชื่อมต่อแบบอินฟราเรดได้
รับการติดตั้งในอุปกรณ์จำา นวนมาก เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่อง
คอมพิ ว เตอร์ โ น้ ต บุ ค พี ดี เ อ โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ เป็ น ต้ น
เนื่องจากส่วนเชื่อมต่ออินฟราเรดมีข้อดีคือ ไม่ต้องใช้สายใน
การเชื่อมต่อ ทำา ให้สะดวกกับการใช้งานในอุปกรณ์แบบพก
พา อีกทั้งส่วนเชื่อมต่ออินฟราเรดยังมีค่าใช้จ่ายที่ตำ่ามากเมื่อ
เทียบกับเทคโนโลยีไร้สายแบบอื่น ข้อจำากัดของส่วนเชื่อม
ต่อประเภทนี้คือระยะห่างระหว่างอุปกรณ์จะต้องไม่เกิน ٣-١
เมตร และต้องไม่มีสิ่งกีดขวางในระหว่างอุปกรณ์ที่ใช้งาน

٣. อุปกรณ์พีซีการ์ด (PC CARD)
       เทคโน โลยี พี ซี การ์ ดเป็ น เท คโ นโลยี ซึ่ ง เกิ ดจ าก
ม า ตร ฐา น PCMCIA (The Personal Computer Memory
Card International Association) ซึ่งเป็นมาตรฐานในการ
ออกแบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สำา หรั บ อุ ป กรณ์ ที่ มี ข นาด
เท่ากับนามบัตร โดยอุปกรณ์ดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งอุปกรณ์
หน่วยความจำา ตลอดจนอุปกรณ์รับหรือแสดงผลต่าง ๆ
       อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพีซีการ์ดจะใช้พลังงานน้อย
ทนทานต่อการใช้ งาน มีข นาดเล็ก และนำ้า หนั กเบา ทำา ให้มี
ความเหมาะสมอย่างยิ่งที่จะทำางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้
พลั ง งานจากแบตเตอรี่ และต้ อ งการพกพาไปยั ง ที่ ต่ า ง ๆ
เช่น โน้ตบุค และพีดีเอ เป็นต้น นอกจากนี้ อุปกรณ์พีซีการ์ด
ยังมีการนำาไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางกับอุปกรณ์ประเภท
ต่ า ง ๆ เช่ น กล้ อ งดิ จิ ต อล อุ ป กรณ์ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ตลอดจน
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น
       อุปกรณ์พีซีการ์ดสามารถแบ่งได้เป็น ٣ ชนิด โดยทั้ง ٣
ชนิดจะมีขนาดความกว้างและความยาวประมาณเท่ากับบัตร
เครดิ ต รวมทั้ ง ใช้ ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยคอนเน็ ค เตอร์ แ บบ ٦٨
เข็มเหมือนกัน แต่จะแตกต่างกันที่ความหนา คือ
       PC Card Type l จะมีความหนา ٣.٣ มิลลิเมตร นิยมใช้
       กับอุปกรณ์หน่วยความจำา เช่ น RAM, Flash Memory
       และ SRAM เป็นต้น
       PC Card Typd ll จะมีความหนา ٥.٠ มิลลิเมตร นิยม
       ใช้ กั บ อุ ป กรณ์ Input/Output เช่ น แฟกซ์ /โมเด็ ม
       การ์ด LAN เป็นต้น


                                                                    10
Introduction to Information Technology


              PC Card Type lll มีความหนา ١٠.٥ มิลลิเ มตร จะใช้
              กับอุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบค่อนข้างหนา เช่นอุปกรณ์
              บันทึกข้อมูลประเภทฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น

٥. ยูพีเอส (UPS)
        ยู พี เ อส หรื อ Uninterruptible Power Supply เป็ น อุ ป กรณ์
สำา หรั บ จ่ า ยกระแสไฟฟ้ า สำา รองจากแบตเตอรี่ เพื่ อ เป็ น แหล่ ง
พลังงานฉุกเฉินในกรณีเกิดปัญหากับระบบไฟฟ้าหลัก เช่น ไฟดับ
ไฟตก ไฟเกิ น เป็ น ต้ น โดยปกติ แ ล้ ว ยู พี เ อสจะสามารถจ่ า ย
พลังงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ทำางานได้ต่ออีก
หลายนาทีหลังจากไฟฟ้าดับ ทำาให้ผู้ใช้สามารถจัดเก็บข้อมูลหรือ
ทำา ขั้นตอนปิ ดระบบ (Shutdown) ให้เรียบร้อย และหากเป็ นยูพี
เอสที่มีกำา ลังไฟฟ้าสูงก็จะสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ใช้งานได้
หลายชั่วโมง นอกจากนี้ในปัจจุบัน จะมียูพีเอสซึ่งมีซอฟต์แวร์มา
ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลและปิดระบบโดยอัตโนมัติเมื่อระบบไฟฟ้า
มี ปั ญ หา ซึ่ ง จะมี ป ระโยชน์ ใ นกรณี ที่ ผู้ ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ กล้ เ ครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์ในขณะนั้น
        ยูพีเอสสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ
                 Standby Power systems จะเป็ น ระบบยู พี เ อสที่ ใ น
        เวลาปกติ จ ะให้ อุ ป กรณ์ ต่า ง ๆ ใช้ พ ลั ง งานจากระบบไฟฟ้ า
        โดยตรง แต่ จ ะคอยตรวจสอบพลั ง งานไฟฟ้ า และทำา การ
        เปลี่ยนไปใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ ทันทีที่ ตรวจพบปั ญ หา
        จุดด้อยคือการเปลี่ยนอาจใช้เวลาหลายมิลลิวิ นาที ซึ่งช่ วง
        เวลานี้เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่ได้รับพลังงานไฟฟ้า ทำา ให้
        อาจเกิดปัญหากับอุปกรณ์บางอย่างที่มีความไวสูง มีข้อดีคือ
        ราคาตำ่า และสู ญ เสี ย พลั ง งานไฟฟ้ า น้ อ ยมาก บางครั้ ง อาจ
        เรียกระบบนีว่า Line-interactive UPS
                       ้
                 On-line UPS systems เป็ น ระบบยู พี เ อสที่ ค อยจ่ า ย
        พลั ง งานไฟฟ้ า ให้ กั บ อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆตลอดเวลาไม่ ว่ า ระบบ
        ไฟฟ้ า หลั ก จะมี ปั ญ หาหรื อ ไม่ ทำา ให้ ไ ด้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ที่ มี
        คุณภาพสูงอยู่ตลอดเวลา มีข้อเสีย คือ ราคาแพง และมี การ
        สูญเสียพลังงานไฟฟ้าไปกับการแปลงไฟฟ้าตลอดเวลา รวม
        ทั้งมีอายุการใช้งานสั้นกว่าด้วย บางครั้งอาจเรียกระบบนี้ว่า
        Double Conversion UPS เนื่องจาก UPS ประเภทนี้จะต้อง
        ทำา การแปลงไฟฟ้ากระแสสลับจากแหล่งจ่ายไฟไปเป็นกระ


                                                                                  11
Introduction to Information Technology


      แ สตรง และแป ลงกลั บ มา เป็ นกระแ สสลั บ ใ ห้ อุ ป กร ณ์
      คอมพิวเตอร์ใช้อีกครั้งหนึ่ง

٦. แบตเตอรี่แบบเติมประจุ (Rechargeable battery)
        แบตเตอรี่ แ บบเติ ม ประจุ ได้ รั บ ความนิ ย มมาใช้ ใ นอุ ป กรณ์
แบบ พกพา เช่ น เครื่ อ ง คอม พิ ว เตอร์ โ น้ ตบุ ค เครื่ อง พี ดี เอ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น เนื่องจากแบตเตอรี่รุ่นใหม่ ๆ สามารถ
ใช้งานได้อย่างยาวนาน และสามารถเติมประจุซำ้า ๆ ได้หลายร้อย
ครั้ง ทำา ให้ประหยัดกว่าการใช้แบตเตอรี่แบบใช้แล้วทิ้งเป็นอย่าง
มาก นอกจากนี้ บางรุ่นยังสามารถรายงานระดับพลั งงานที่ เหลือ
อยู่เพื่อให้ผู้ใช้ทราบได้ว่าสามารถใช้งานอุปกรณ์ชิ้นนั้นได้อีกนาน
เท่ า ใด แบตเตอรี่ แ บบเติ ม ประจุ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มในปั จ จุ บั น
สามารถแบ่งเป็นสามประเภท คือ
                NiCD battery แ บ ต เ ต อ รี่ แ บ บ นิ ก เ กิ ล แ ค ด เ มี ย ม
        (Nickel Cadmium) เป็ น แบตเตอรี่ ที่ มี ร าคาถู ก สามารถ
        ทำา การประจุซำ้า ได้ประมาณ ١٠٠٠ -٧٠٠ ครั้ง แต่ แบตเตอรี่
        ประเภทนี้ จ ะสามารถใช้ ง านได้ ไ ม่ น านนั ก และมี ปั ญ หา
        Memory effect ทำา ให้ ต้ อ งทำา การใช้ ง านให้ ป ระจุ ห มดทุ ก
        ครั้งก่อนที่จะทำาการเติมประจุใหม่
                NiMH battery แบตเตอรี่ แ บบนิ ก เกิ ล เมตั ล ไฮไดร์ ด
        (Nichel Metal Hydride) เป็ น แบตเตอรี่ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย ม
        อย่ า งมาก เนื่ อ งจากให้ พ ลั ง งานที่ ย าวนานกว่ า แบบ NicD
        ประมาณ ٥٠ -٤٠ เปอร์ เ ซ็ น ต์ อี ก ทั้ ง ไม่ มี ปั ญ หา Memory
        effect ทำา สามารถเติมประจุเมื่อใดก็ได้ สามารถทำา การเติม
        ประจุได้ประมาณ ٥٠٠ ครั้ง ข้อเสียของแบตเตอรี่ประเภทนี้
        คือจะมีการสูญเสียพลังงานประมาณ ٥ เปอร์เซ็นต์ทุกวันไม่
        ว่าจะมีการใช้งานหรือไม่ก็ตาม
                Lithium-Ion battery แบตเตอรี่ แ บบลิ เ ธี ย มไอออน
        (Lithium-Ion) เป็นแบตเตอรี่ที่กำาลังได้รับความนิยมมากขึ้น
        เรื่อย ๆ เนื่องจากให้พลังงานที่สูงกว่า แบบ NiMH ประมาณ ٢
        เท่า ไม่มีปัญหา memory effect เติมประจุได้ประมาณ ٥٠٠
        ครั้ง และมีนำ้าหนักที่เบา ทำาให้มีความเหมาะสมในการนำามา
        ใ ช้ กั บ อุ ป กรณ์ พ กพา ต่ า ง ๆ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ข้ อเสี ย ข อง
        แบตเตอรี่ประเภทนี้คือราคาที่ค่อนข้างสูงกว่าประเภทอื่น ๆ
        พอสมควร


                                                                         12
Introduction to Information Technology


7. Modem (modulation-Demodulation)
        จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายภายนอกผ่าน
สายโทรศัพท์ดั้งเดิม (POTS) ซึ่งปกติใช้ส่งสัญญาณเสียงเท่านั้น
โมเด็มมีหน้าที่ในการแปลงสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ให้
เป็นสัญญาณอนาลอก เพื่อส่งผ่านไปตามสายโทรศัพท์ และเมื่อ
ได้ รั บ ข้ อ มู ล ก็ ทำา การแปลงสั ญ ญาณอนาลอกที่ ไ ด้ รั บ ให้ เ ป็ น
สัญญาณดิจิตอล เพื่อให้คอมพิวเตอร์นำาไปประมวลผล ในปัจจุบัน
นี้ สามารถส่งผ่านโมเด็มได้ด้วยความเร็วสูงสุดตามมาตรฐาน V.90
ของ ITU ที่ ٥٦ kbps
        โมเด็มสามารถแบ่งเป็นแบบต่าง ๆ ได้คือ
            • โมเด็มภายใน (Internal MODEM) จะเป็นโมเด็มแบบ
                เป็ น การ์ ด ใช้ เ สี ย บกั บ ช่ อ งขยายเพิ่ ม เติ ม ในเครื่ อ ง
                คอมพิ ว เตอร์ มี ข้ อ ดี คื อ ราคาถู ก และไม่ ต้ อ งเสี ย บไฟ
                แยกต่างหาก
            • โมเด็ ม แบบภายนอก (External MODEM) จะเป็ น ก
                ล่องสำาหรับเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทาง
                พอร์ตอนุกรม (serial port) หรือ ยูเอสบี (USB) มีข้อดี
                คือเคลื่อนย้ายได้ง่าย และมีไฟแสดงสถานะการทำางาน
            • โมเด็ ม แบบกระเป๋ า (Pocket MODEM) จะเป็ น โมเด็ ม
                ขนาดเล็กที่สามารถพกใส่กระเป๋าเสื้อได้และเสียบเข้า
                กับพอร์ตอนุกรม
            • โมเด็มแบบการ์ด (PCMCIA MODEM) จะเป็นโมเด็มที่
                มีขนาดเท่ากับบัตรเครดิตเท่านั้น นิยมใช้กับเครื่องโน้ต
                บุคโดยเสียบผ่านช่องเสียบแบบ PCMCIA Type ll

8. หน่วยควำมจำำหลัก (Main Memory Unit)
      เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจำาข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่
ระหว่ า งการประมวลผลของคอมพิ ว เตอร์ บางครั้ ง อาจเรี ย กว่ า
หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage)
      หน่วยความจำา หลักที่นิยมใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่ง
อออกได้เป็น ٢ ประเภท
      ١. หน่วยความจำา หลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only
Memory)
            เรี ย กสั้ น ๆ ว่ า รอม (ROM) เป็ น หน่ ว ยความจำา ที่ มี
      คุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้า
      หล่อเลี้ยง (Non-Volatile) นั่นคือแม้จะปิดเครื่องไปแล้วเมื่อ

                                                                             13
Introduction to Information Technology


      เปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม นิยมใช้เป็น
      หน่วยความจำา สำา หรับเก็บชุดคำา สั่งในการเริ่มต้นระบบ หรือ
      ชุดคำา สั่งที่สำา คัญ ๆ ของคอมพิวเตอร์ คำา สั่งเริ่มต้นระบบจะ
      ถู ก เก็ บ ไว้ ใ นชิ ป ชื่ อ ROM BIOS (Basic Input / Output
      System) ข้อเสียของรอมคือจะไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติม
      ชุดคำา สั่งได้ในภายหลัง รวมทั้งมี ความเร็ วในการทำา งานช้ า
      กว่าหน่วยความจำาแบบแรม
             นอกจากนี้ ในปัจจุบันยังมีรอมที่เป็นชิปพิเศษแบบต่าง
      ๆ อีก คือ
      PROM (Programmable Read-Only Memory)
             เป็ น หน่ ว ยความจำา แบบ ROM ที่ ส ามารถบั น ทึ ก ด้ ว ย
      เครื่องบันทึกพิเศษได้หนึ่งครั้ง จากนั้นจะลบหรือแก้ไข้ไม่ได้

      EPROM(Erasable PROM)
            เป็นหน่วยความจำา ROM ที่ใช้แสงอัลตราไวโอเลตใน
      การเขียนข้อมูล สามารถนำาออกจากคอมพิวเตอร์ไปลบโดย
      ใช้เครื่องมือพิเศษและบันทึกข้อมูลใหม่ได้

      EEPROM (Electrically Erasable PROM)
              จะเป็นเทคโนโลยีซึ่งรวมเอาข้อดีของรอมและแรมเข้า
      ด้ ว ยกั น กล่ า วคื อ จะเป็ น ชิ ป ที่ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ในการหล่ อ เลี้ ย ง
      (non-volatile) สามารถเขียน แก้ไข หรือลบข้อมูลที่เก็บไว้
      ได้ ด้ ว ยโปรแกรมพิ เ ศษ โดยไม่ ต้ อ งถอดออกจากเครื่ อ ง
      คอมพิวเตอร์เลย ทำาให้เปรียบเสมือนหน่วยเก็บข้อมูลสำารอง
      ที่ มี ความเร็ว สู ง อย่ า งไรก็ ตาม หน่ ว ยความจำา ชนิ ดนี้ จ ะมี ข้ อ
      ด้อยอยู่ ٢ ประการเมื่อเทียบกับหน่วยเก็บข้ อมู ลสำา รอง นั่น
      คือราคาที่สูงและมีความจุข้อมูลตำ่ากว่ามาก ทำาให้การใช้งาน
      ยังจำา กัดอยู่กับงานที่ต้องการความเร็วสูง และเก็บข้อมูลไม่
      มากนัก ตังอย่างของหน่วยความจำาแบบ EEPROM ที่รู้จักกัน
      ดี คื อ หน่ ว ยความจำา แบบแฟลช (Flash memory) ซึ่ ง นิ ย ม
      นำามาใช้เก็บ BIOS ในเครื่องรุ่นใหม่ ๆ

   เสริมศัพท์
   ความเร็วในการเข้าถึง (Access time)
   คื อ เวลาที่ โ ปรแกรมหรื อ อุ ป กรณ์ ใ ช้ ใ นการหาข้ อ มู ล ให้
คอมพิ ว เตอร์ นำา ไปประมวล นิ ย มใช้ เ ป็ น ค่ า สำา หรั บ บอกความเร็ ว

                                                                           14
Introduction to Information Technology


ของอุ ป กรณ์ เ ก็ บ ข้ อ มู ล เช่ น หน่ ว ยความจำา หลั ก และหน่ ว ยเก็ บ
ความจำา สำา รอง โดยหน่วยความจำา หลักจะมีความเร็วอยู่ในหน่วย
ของ nanoseconds(ns หรือ หนึ่งส่วนพันล้านวินาที)
         ความเร็วในการเข้าถึง ของหน่วยความจำา เป็ น ปั จ จั ยสำา คั ญ
อย่างหนึ่งที่ มีผลกระทบกั บประสิ ท ธิ ภาพของซี พียู โดยจะต้ อ งมี
ความเร็ว พอที่จะสามารถส่ งข้ อมู ลให้ ซีพียู ไ ด้ ใ นทั น ที ไม่ เ ช่ น นั้ น
ซีพียูจะต้องมีการกำา หนดว่าใหยุดรอระยะหนึ่งทุกครั้งที่อ่านเขียน
ข้ อ มู ล จากหน่ ว ยความจำา เรี ย กว่ า เวทสเตท (Wait state) ซึ่ ง มี
หน่วยเป็น วงรอบสัญญาณนาฬิกา (Clock cycle)
         ส่วนความเร็วในการเข้าถึงของหน่วยเก็บความจำา สำา รอง จะ
เรี ย ก ความเร็ ว ในการเข้ า ถึ ง เฉลี่ ย (Average access time) ซึ่ ง
ประกอบด้ ว ยเวลาที่ ไ ดร์ ฟ ใช้ ใ นการหาแทร็ ก ที่ ถู ก ต้ อ ง กั บ เวลา
เฉลี่ยในการเลื่อนหัวอ่าน (average seek time) ไปยังตำาแหน่งที่
ต้องการ นิยมใช้เป็นหน่วยวัดความเร็วในอุปกรณ์แบบเข้าถึงข้อมูล
โดยตรง (Direct access) เช่น ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น

   ٢. หน่ ว ยความจำา หลั ก แบบแก้ ไ ขได้ (Random Access
Memory)
          นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า แรม (RAM) หมายถึงหน่วยความจำา
   ความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์
   ถ้าไม่มีหน่วยความจำาความเร็วสูงนี้ โปรเซสเซอร์ก็จะทำางาน
   ไม่ได้เลย เนื่องจากความจำา แรมเป็ นเสมื อนกระดาษทด ที่
   เก็บข้อมูลทุกอย่างที่โปรเซสเซอร์ใช้ในขณะกำาลังทำางานอยู่
   เพราะอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลอื่น เช่น ดิสก์ไดร์ฟ จะมีความเร็ว
   ในการอ่ า นและบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ช้ า มาก ขณะที่ ซี พียู ทำา งานจึ ง
   ต้องทำางานกับหน่วยความจำาแรมที่มีความเร็วสูงเสมอ
          โดยปกติแล้ว ถ้าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำามาก ก็จะ
   สามารถทำางานได้เร็วขึ้น เพราะมีเนื้อที่สำาหรับเก็บคำาสั่งของ
   โปรแกรมต่ าง ๆ ได้ ทั้ ง หมด ไม่ ต้อ งเรี ย กคำา สั่ ง ที่ใ ช้ ม าจาก
   หน่ ว ยเก็ บ ข้ อมู ลสำา รอง ซึ่ ง จะทำา ให้ ก ารทำา งานช้ า ลงอย่ า ง
   ม า ก แ ผ ง ว ง จ ร ห ลั ก (Main board) ที่ อ ยู่ ใ น เ ค รื่ อ ง
   คอมพิวเตอร์ โดยปกติจะถูกออกแบบมาให้สามารถเพิ่ม ชิป
   หน่วยความจำา(memory chip) ได้โดยง่าย เนื่องจากถ้าผู้ใช้
   ต้องทำา งานกับโปรแกรมที่มีการคำา นวณซับซ้อนหรือทำา งาน
   กับภาพกราฟิก ก็อาจจำา เป็น ต้อ งทำา การเพิ่ มหน่วยความจำา
   ให้มากขึ้น

                                                                          15
Introduction to Information Technology


      คอมพิ ว เตอร์ ข นาดใหญ่ ส่ ว นมากจำา เป็ น ต้ อ งมี ห น่ ว ย
ความจำา จำา นวนมาก เนื่องจากคอมพิวเตอร์นี้จะมีผู้ใช้หลาย
คนทำางานพร้อม ๆ กัน โดยใช้หลักการของ มัลติโปรเซสซิง
(Multiprocessing) ทำาให้ต้องมีการแบ่งเนื้อที่ในหน่วยความ
จำา เพื่อเก็บโปรแกรมของผุ้ใช้แต่ละคนสามารถประมวลผล
ไปในเวลาเดียวกันมากขึ้น
หน่วยความจำา RAM ที่นยมใช้ในปัจจุบัน คือ
                        ิ

         DRAM (Dynamic RAM)
         เป็ น หน่ ว ยความจำา ที่ มี ก ารใช้ ง านกั น มากที่ สุ ด ใน
ปัจจุบัน จะมีวงจรคล้ายตัวเก็บประจุเพื่อจัดเก็บแต่ละบิตของ
ข้ อ มู ล ทำา ให้ ต้ อ งมี ก ารยำ้า สั ญ ญาณไฟฟ้ า เข้ า ไปก่ อ นที่ จ ะ
สู ญ หาย เรี ย กว่ า การรี เ ฟรช (Refresh) หน่ ว ยความจำา
DRAM จะมี ข้อดีที่ ราคาตำ่า แต่ ข้ อ เสี ย คื อ มี ความเร็ วในการ
เข้ า ถึ ง (Access time) ประมาณ ١٥٠ – ٥٠ nanoseconds
ซึ่ งไม่ สูง นักเนื่ องจากต้ องมีก ารรี เฟรชข้ อมู ล อยู่ ตลอดเวลา
ทำา ให้มี การนำา เทคนิ ค ต่ า ง ๆ มาช่ ว ยลดเวลาในการเข้า ถึ ง
ข้ อมู ล และเกิ ด DRAM ชนิ ดย่ อ ย ๆ เช่ น FPM (Fast Page
Mode) RAM, EDO (Extended Data Output) RAM,
SDRAM (Synchronous DRAM), DDR (Double Data
Rate) SDRAM และ RDRAM (Rambus DRAM) เป็นต้น
         นอกจากนี้ ยังมี DRAM แบบพิเศษซึ่งมีการปรับปรุงให้
ทำา งานเร็ ว ขึ้ น เพื่ อใช้ เ ป็ น หน่ ว ยความจำา สำา หรั บ ระบบแสดง
ผลกราฟิ ก ซึ่ ง ต้ อ งการหน่ ว ยความจำา ที่ ส ามารถถ่ า ยโอน
ข้ อ มู ล ด้ ว ยความเร็ ว สู ง เช่ น VRAM(Video RAM), WRAM
(Window RAM), SGRAM (Synchronous Graphics RAM)
และ MDRAM (Multibank RAM) เป็นต้น




                                                                     16

More Related Content

What's hot

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
chayatorn sarathana
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
kruumawan
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Note Narudaj
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
varin krailop
 
Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0Theeravaj Tum
 
Cpu
CpuCpu
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)Supaksorn Tatongjai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Nithiwan Rungrangsri
 
อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
supansa phuprasong
 
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์Srisomwong Sukkantharak
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์peeyamas parjaitum
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ Tong Thitiphong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
Sireethorn43
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5sawitri555
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
Angkan Mahawan
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
Phatthira Thongdonmuean
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 

What's hot (18)

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 
computer
computercomputer
computer
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

Viewers also liked

General Overview of Gil University
General Overview of Gil UniversityGeneral Overview of Gil University
General Overview of Gil Universitytommo42
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
KrutoTop.com
KrutoTop.comKrutoTop.com
KrutoTop.com
Alena_Stog
 
OIA administration
OIA administrationOIA administration
OIA administration
techmeonline
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
Alena_Stog
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
Marshmallow design challenge
Marshmallow design challengeMarshmallow design challenge
Marshmallow design challenge
vincenzo santalucia
 
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
vincenzo santalucia
 
Roba
RobaRoba
Roba
carlalian
 
Preposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativoPreposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativo
Guadalupe Martínez Torres
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
Alena_Stog
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตPokypoky Leonardo
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
Gameplay Concept Tool
Gameplay Concept ToolGameplay Concept Tool
Gameplay Concept Tool
vincenzo santalucia
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 

Viewers also liked (17)

General Overview of Gil University
General Overview of Gil UniversityGeneral Overview of Gil University
General Overview of Gil University
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
KrutoTop.com
KrutoTop.comKrutoTop.com
KrutoTop.com
 
OIA administration
OIA administrationOIA administration
OIA administration
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Marshmallow design challenge
Marshmallow design challengeMarshmallow design challenge
Marshmallow design challenge
 
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
 
Roba
RobaRoba
Roba
 
Preposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativoPreposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativo
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
Gameplay Concept Tool
Gameplay Concept ToolGameplay Concept Tool
Gameplay Concept Tool
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 

Similar to บทที่ 5.หน่วยความจำ

Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Punyawee Keng
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมcake
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองcake
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์flukiiez
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
Tay Chaloeykrai
 
Flash drive
Flash driveFlash drive
Flash drive
Tang Pruedsapol
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองSupaksorn Tatongjai
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
NECTEC
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์krujee
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1teerarat55
 

Similar to บทที่ 5.หน่วยความจำ (20)

Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
 
Flash drive
Flash driveFlash drive
Flash drive
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
E book
E bookE book
E book
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 5.หน่วยความจำ

  • 1. Introduction to Information Technology หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง (Secondary storage Unit) ก่อนที่จะศึกษาว่าคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลได้อย่างไร ผู้อ่าน จะต้องทราบก่อนว่าสื่อสำา หรับเก็บข้อมูลนั้นมีอะไรบ้าง เนื่องจาก คอมพิ ว เตอร์ แ ปลงคำา สั่ ง และข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เก็ บ ไว้ ใ นรู ป แบบของ เลขฐานสองคื อ ٠ และ ١ ทั้ ง สิ้ น โดยที่ ตั ว อั ก ษร ตั ว เลข และ สั ญ ลั กษณ์ พิเ ศษต่ า ง ๆ จะถู ก แทนด้ ว ยกลุ่ ม ของตั ว เลขเลขฐาน สอง และเนื่องจากแรมเป็นหน่วยความจำา ที่ไม่ได้เก็บข้อมูลอย่าง ถาวร ถ้าปิดเครื่องหรือไฟดับข้อมูลก็หายไป ดังนั้นถ้าผู้ใช้มีข้อมูล อยู่ในแรมก็จะต้องทำา การจัดเก็บข้อมูล โดยย้ายข้อมูลจากหน่วย ความจำา ไปไว้ ใ นหน่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล สำา รอง เนื่ อ งจากสามารถเก็ บ ข้อมูลได้อย่างถาวร ไม่มี การเปลี่ ยนแปลงนอกจากผู้ ใช้ เป็ นผู้ สั่ง รวมทั้ ง สามารถเก็ บ ข้ อมู ล จำา นวนมากได้ และที่ สำา คั ญ หน่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล สำา รองจะมี ร าคาถู ก มากเมื่ อ เที ย บกั บ หน่ ว ยความจำา หลั ก ทำา ให้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นปั จ จุ บั น จะมี ห น่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล สำา รองซึ่ ง สามารถเก็บข้อมูลจำานวนมาก อย่างไรก็ดีความเร็วในการอ่านและ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ของหน่ ว ยเก็ บ ข้ อ มู ล สำา รองจะตำ่า กว่ า หน่ ว ยความ จำาหลัก ดังนั้นจึงควรทำางานให้เสร็จก่อน จึงย้ายข้อมูลนั้นไปไว้ใน หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง ในปัจจุบันมีหน่วยเก็บข้อมูลให้เลือกใช้หลายชนิด ดังต่อไป นี้ ١.เทป (Tape) เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้กันมานานตั้งแต่คอมพิวเตอร์ ยุคที่หนึ่งและยุคที่สอง ปัจจุบันได้รับความนิยมน้อยลง เทป แม่เหล็กมีหลักการทำา งานคล้ายเทปบันทึกเสียง แต่เปลี่ยน จากการเล่ น (Play) และบั น ทึ ก (Record) เป็ น การอ่ า น (Read) และเขียน (Write) แทนในเครื่องเมนเฟรมเทปที่ใช้ จะเป็นแบบม้วนเทป (Reel-to-reel) ซึ่งเป็นวงล้อขนาดใหญ่ ในเครื่ อ งมิ นิ ค อมพิ ว เตอร์ จ ะใช้ ค าร์ ทริ ด จ์ เ ทป (Cartridge tape) ซึ่ ง มี ลั ก ษณะคล้ า ยวิ ดี โ อเทป ส่ ว นในเครื่ อ งไมโคร คอมพิวเตอร์จะใช้ตลับเทป (Cassette tape) ซึ่งมีลักษณะ เหมื อนเทปเพลง เทปทุก ชนิ ดที่ ก ล่ า วมามี ห ลั ก การทำา งาน คล้ า ยกั บ เทปบั น ทึ ก เสี ย ง คื อ จะอ่ า นข้ อ มู ล ตามลำา ดั บ ก่ อ น หลังตามที่ไ ด้บั นทึ กไว้ เรียกหลั กการนี้ ว่ า การเข้ าถึ ง ข้ อ มู ล ตามลำา ดั บ (Sequential access) การทำา งานลั ก ษณะนี้ จึ ง 1
  • 2. Introduction to Information Technology เป็ น ข้ อเสี ย ของการใช้ เ ทปแม่ เ หล็ ก บั นทึ ก ข้ อ มู ล คื อ ทำา ให้ อ่านข้อมูลได้ช้า เนื่องจากต้องอ่านข้อมูลในม้วนเทปไปเรื่อย ๆ จนถึงตำา แหน่งที่ ต้อ งการ ผู้ ใช้ จึง นิยมนำา เทปแม่เ หล็ ก มา สำา รองข้อมูลเท่านั้น ส่วนข้อมูลที่กำา ลังใช้งานจะถูกเก็บอยู่ บนหน่วยเก็บข้อมูลแบบ จานแม่เหล็ก (Magetic Disk) เพื่อ ให้ เ รี ย กใช้ ไ ด้ ง่ า ย และนำา เฉพาะข้ อ มู ล ที่ สำา คั ญ และไม่ ถู ก เรี ย กใช้ บ่ อ ยมา เก็ บ สำา รอง (Backup) ไว้ ใ นเทปแม่ เ หล็ ก เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล ข้อดีของเทปแม่เหล็กคือสามารถบันทึก อ่าน และลบกี่ ครั้งก็ได้ รวมทั้งมีราคาตำ่า นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกข้อมูล จำา นวนมาก ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ในสื่อ ที่มี ขนาดไม่ใ หญ่ มาก นัก ความจุของเทปแม่เหล็กจะมีหน่วยเป็น ไบต์ต่อนิ้ว (Byte per inch) หรือ บีพีไอ (bpi) ซึ่งหมายถึงจำา นวนตัวอักษรที่ เก็ บ ในเทปยาวหนึ่ ง นิ้ ว หรื อ เรี ย กได้ อี ก อย่ า งว่ า ความหนา แน่นของเทปแม่เหล็ก เทปแม่เหล็กที่มีความหนาแน่นตำ่า จะ เก็ บ ข้ อ มู ล ได้ ป ระมาณ 1,600 บี พีไ อ ส่ ว นเทปแม่ เ หล็ ก ที่ มี ความหนาแน่ น สู ง จะเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ ป ระมาณ ٦,٢٥٠ บี พีไ อ นอกจากนี้ จะมี เ ทปแม่ เ หล็ ก รุ่ น ใหม่ ๆ คื อ DAT (Digital Audio Tape) ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเครดิตการ์ดเล็ กน้ อย แต่ สามารถจุ ข้ อมู ลได้ ٥ -٢ จิ ก ะไบต์ และ R-DAT ซึ่ ง สามารถ เก็บข้อมูลได้มากกว่า ١٤ จิกะไบต์ บนเทปที่ยาว ٩٠ เมตร การที่เทปแม่ เหล็ก ยังคงได้รั บความนิ ยมให้เ ป็น สื่อที่เก็บสำา รองข้อมูล ก็เพราะความเร็ว ความจุข้อมูล และ ราคานั่นเอง ٢. จำนแม่เหล็ก (Magnetic Disk) จานแม่ เ หล็ ก สามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ เ ป็ น จำา นวนมาก และมี คุ ณ สมบั ติ ใ นการ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล โดยตรง (Direct access) ไม่ จำาเป็นต้องอ่านไปตามลำาดับเหมือนเทป จานแม่เหล็กจะต้องใช้คู่ กั บ ตั ว ขั บ จานแม่ เ หล็ ก หรื อ ดิ ส ก์ ไ ดร์ ฟ (Disk drive) ซึ่ ง เป็ น อุ ป กรณ์ สำา หรั บ อ่ า นเขี ย นจานแม่ เ หล็ ก (มี ห น้ าที่ คล้ า ยกั บ เครื่ อ ง เล่นเทป) จานแม่เหล็กเป็นสื่อที่ใช้หลักการของการ เข้าถึงข้อมูล แบบสุ่ม (Random-access) นั่นคือ ถ้าต้องการข้อมูลลำา ดับที่ ٥٢ หัวอ่านก็จะตรงไปที่ข้อมูลนั้นและอ่านข้อมูลนั้นขึ้นมาใช้งานทันที ทำา ให้มี ความเร็ว ในการอ่ านและบันทึ กที่ สูง กว่า เทปมาก หั ว อ่ า น ของดิ ส ก์ ไ ดร์ ฟ เรี ย กว่ า หั ว อ่ า นและบั น ทึ ก (read/write head) 2
  • 3. Introduction to Information Technology เมื่ อ ผู้ ใ ช้ ใ ส่ แ ผ่ น จานแม่ เ หล็ ก เข้ า ไปในดิ ส ก์ ไดร์ ฟ แผ่ น จานแม่ เหล็กก็จะเข้าไปสวมอยู่ในแกนกลม ซึ่งเป็นที่ยึดสำาหรับหมุนแผ่น จานแม่เหล็ก จากนั้นหัวอ่านและบันทึกก็จะอ่าน อิมพัลส์ของแม่ เหล็ ก (Magnetic impulse) บนแผ่ น จานแม่ เ หล็ ก ขึ้ น มาและ แปลงเป็ น ข้ อ มู ล ส่ ง เข้ า คอมพิ ว เตอร์ ต่ อ ไป หั ว อ่ า นและบั น ทึ ก สามารถเคลื่อนย้ายในแนวราบเหนือผิวหน้าของแผ่นจานแม่เหล็ก ถ้ า ใช้ แ ผ่ น จานแม่ เ หล็ ก ที่ มี ผิ ว หน้ า ต่ า งกั น ก็ ต้ อ งใช้ หั ว อ่ า นและ บั น ทึ ก ต่ า งชนิ ด กั น ด้ ว ย นอกจากนี้ เนื่ อ งจากดิ ส ก์ ไ ดร์ ฟ นั้ น เป็ น เพียงอุปกรณ์เครื่องกลชนิดหนึ่งซึ่งอาจเกิดปัญหาขึ้นได้ จึงจำาเป็น ต้องมีการเก็บสำารองข้อมูลและโปรแกรมทีใช้อย่างสมำ่าเสมอ ่ ก่อนที่จะใช้แผ่นจานแม่เหล็กเก็บข้อมูล จะต้องผ่านขั้นตอน ของการ ฟอร์แมต(Format) ก่อน เพื่อเตรียมแผ่นจานแม่เหล็กให้ พร้อมสำาหรับเครื่องรุ่นที่จะใช้งาน (เช่น เครื่อง PC และ Mac จะมี ฟอร์แมตที่ต่างกันแต่สามารถใช้แผ่นจานแม่เหล็กรุ่นเดียวกันได้) โดยหัวอ่านและบันทึกจะเขียนรูปแบบของแม่เหล็กลงบนผิวของ แผ่นจานแม่เหล็ก เพื่อให้การบันทึกข้อมูลลงแผ่นจานแม่เหล็กใน ภายหลังทำา ตามรูปแบบดังกล่าว การฟอร์แมตแผ่นจานบันทึกจัด เป็นงานพื้นฐานหนึ่งของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ข้ อ มู ล จะถู ก บั น ทึ ก ลงบนจานแม่ เ หล็ ก ตามรู ป แบบที่ ไ ด้ ฟอร์แมตไว้แล้ว คือแบ่งในแนววงกลมรอบแกนหมุนเป็นหลาย ๆ วง เรียกว่า แทร็ก(Track) แต่ละแทร็กจะถูกแบ่งออกในแนวของ ขนมเค็ ก เรี ย กว่ า เซกเตอร์ (Sector) และถ้ า มี เ ซกเตอร์ ม ากกว่ า หนึ่ ง เซกเตอร์ ร วมกั น เรี ย กว่ า คลั ส เตอร์ (Cluster) นอกจากนี้ ใ น ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะมีตารางสำาหรับจัดการข้อมูลในแผ่น จานแม่ เ หล็ ก ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ เ ก็ บ ตำา แหน่ ง แทร็ ก และเซกเตอร์ ข อง ข้อมูลที่อยู่ภายในจานแม่เหล็ก เรียกตารางนี้ว่า ตารางแฟต (FAT หรื อ File Allocation Table) ซึ่ ง ตารางนี้ ทำา ให้ ค อมพิ ว เตอร์ สามารถค้นหาและจัดการกับข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันมีจานแม่เหล็กที่ได้รับความนิย มอย่างสูง อยู่ส อง ชนิ ด คื อ ฟลอปปี้ ดิ ส ก์ (Floppy Disk) และ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ (Hard Disk) โดยเครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร์ ที่ จำา หน่ า ยในปั จ จุ บั น จะมี ดิสก์ไดร์ฟและฮาร์ดดิสก์ติดมาด้วยเสมอ ฟลอปปี้ดิสก์และดิสก์ไดร์ฟ (Floppy Disk and Disk Drive) ฟลอปปี้ ดิ ส ก์ ห รื อ ที่ บ างครั้ ง นิ ย มเรี ย กว่ า ดิ ส ก์ เกตต์ (Diskette) เป็นแผ่นพลาสติกวงกลม ในปัจจุบันนิยม 3
  • 4. Introduction to Information Technology ใช้ข นาด ٣.٥ นิ้ว (วัดจากเส้น รอบวงของวงกลม) ซึ่งบรรจุ อยู่ในพลาสติกแบบแข็งรูปสี่เหลี่ยม และสามารถอ่านได้ด้วย ดิสก์ไดร์ฟ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ส่วนมากจะ มีดิสก์ไดร์ฟอย่างน้อยครึ่งไดร์ฟเสมอ ดิสก์ไดร์ฟมีหน้าที่สอง อย่ า งคื อ อ่ า นและบั น ทึ ก โดยการอ่ า นมี ห ลั ก การทำา งาน คล้ า ยกั บ การเล่ น ซี ดี เ พลง ส่ ว นการบั น ทึ ก นั้ น มี ห ลั ก การ ทำา งานคล้ายกับการบันทึกเสียงลงในเทปบันทึกเสียง ต่ าง กันก็ตรงที่ผู้ใช้ไม่ต้องกดปุ่มใด ๆ เมื่อต้องการบันทึกข้อมูล เพราะโปรแกรมที่ใช้งานจะจัดการให้โดยอัตโนมัติ แผ่นดิกส์ เกตต์ จ ะมี แถบป้ อ งกั น การบั น ทึ ก (Write-protection) อยู่ ด้ ว ย ผู้ ใ ช้ ส ามารถเปิ ดแถบนี้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ก ารบั น ทึ ก ข้อมูลอื่นทับไปหรือลบทิ้งข้อมูล จำา นวนข้อมูลที่ เก็ บอยู่ในแผ่น ดิส ก์ เ กตต์ จะขึ้ น อยู่ กับ ความหนาแน่นของสารแม่เหล็กบนผิวของแผ่นโดยสามารถ แบ่ ง ออกเป็ น สองชนิ ด คื อ ดิ ส ก์ ค วามจุ ส องเท่ า (Double density) ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ไม่ นิ ย มใช้ แ ล้ ว ส่ ว นอี ก ชนิ ด หนึ่ ง คื อ ดิสก์ความจุสูง (High density) ซึ่งจะเก็บข้อมูลได้มากกว่า ดิสก์ที่มีความจุเป็นสองเท่าและเป็นดิสก์ที่นิยมใช้งานกันอยู่ ทัวไป ่ นอกจากนี้ ในปั จ จุ บั น จะมี ดิ ส ก์ เ กตต์ แ บบพิ เ ศษที่ มี ความจุ สู ง ถึ ง ١٢٠ MB ต่ อ แผ่ น ซึ่ ง ใช้ เ ทคโนโลยี ท างด้ า น Laser เรียกว่า Laser Servo (LS) ช่วยให้สะดวกในการเก็บ แฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่หรือมีปริมาณมากได้ในแผ่นเพียงแผ่น เดียว รวมทั้งสามารถอ่านดิสก์เกตต์ ٧٢٠ KB และ ١.٤٤ MB ได้ โดยมีอัตราการโอนถ่ายข้อมูลเร็วกว่าดิสก์เกตต์ปกติถึง ٥ เท่า ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) มีหลักการทำา งานคล้ายกับฟอลปปี้ดิสก์ แต่ฮาร์ดดิสก์ ทำา มาจากแผ่นโลหะแข็งเรียกว่า Platters ทำา ให้เก็บข้อมู ล ได้มากและทำางานได้รวดเร็ว ฮาร์ดดิสก์ส่วนมากจะถูกยึดติด อยู่ ภ ายในเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ แต่ ก็ มี บ างรุ่ น ที่ เ ป็ น แบบ เคลื่ อนย้ายได้ (Removable Disk) โดยจะเป็ นแผ่ นจานแม่ เหล็กเพียงแผ่นเดียวอยู่ในกล่องพลาสติกบาง ๆ มีลักษณะ คล้ายกับฟอลปปี้ดิสก์ ตัวอย่างเช่น Jaz หรือ Zip Disk จาก lomega หรือ Syjet จาก Syquest ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้ 4
  • 5. Introduction to Information Technology ตั้ ง แต่ ١ จิ ก ะไบต์ ขึ้ น ไป ในแผ่ น ขนาดประมาณ ٣.٥ นิ้ ว เท่ า นั้ น และตั ว ไดร์ ฟ จะมี ทั้ ง รุ่ น ที่ ต่ อ กั บ คอมพิ ว เตอร์ ท าง พอร์ตขนานหรือ SCSI ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ที่ นิ ย มใช้ กั บ เครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร์ ใ น ปั จ จุ บั น จะประกอบด้ ว ยจานแม่ เ หล็ ก หลาย ๆ แผ่ น และ สามารถบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ได้ ทั้ ง สองหน้ า ของผิ ว จานแม่ เ หล็ ก โ ด ย ที่ ทุ ก แ ท ร็ ก (Track) แ ล ะ เ ซ ก เ ต อ ร์ (Sector) ที่ มี ตำาแหน่งตรงกันของฮาร์ดดิสก์ชุดหนึ่งจะเรียกว่า ไซลินเดอร์ (Cylinder) แผ่นจานแม่เหล็กของฮาร์ดดิสก์นั้นหมุนเร็วมาก โดยที่ หั วอ่า นและบันทึกจะไม่ สัม ผั ส กั บ ผิ ว ของแผ่ น จานแม่ เ หล็ ก ดังนั้นจึงอาจมีความผิดพลาดหรือเสียหายเกิดขึ้นได้ถ้ามีบาง สิ่ งอย่างเช่ น ฝุ่ น หรื อ ควั น บุ ห รี่ กี ดขวางหั ว อ่ า นและบั น ทึ ก เพราะอาจทำาให้หัวอ่านและบันทึกกระแทรกกับผิวของแผ่น จานแม่เหล็ก ก า ร ที่ ฮ า ร์ ด ดิ ส ก์ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม จุ ที่ สู ง เนื่องจากฮาร์ ดดิ สก์ ห นึ่ ง ชุ ดประกอบด้ ว ยแผ่ น จานแม่ เ หล็ ก จำา นวนหลายแผ่นทำา ให้ เก็ บข้ อมู ลได้ ม ากกว่ าฟลอปปี้ ดิส ก์ โดยฮาร์ดดิสก์ในปัจจุบันจะมีความจุเริ่มตั้งแต่ ١٠ GB ขึ้นไป นอกจากนี้ ฮาร์ดดิสก์จะหมุนด้วยความเร็วสูงมาก คือตั้งแต่ ٥ ,٤٠٠ รอบต่อนาทีขึ้ นไป ทำา ให้สามารถอ่ า นข้ อ มู ลได้ อ ย่ า ง รวดเร็ ว ฮาร์ ดดิ ส ก์ รุ่ น ใหม่ ๆ ส่ ว นมากจะมี ความเร็ ว ในการ อ่านข้อมูลเฉลี่ย (Averge access time) อยู่ตำ่ากว่า ١٠ มิลลิ วินาที (mis) การเชื่อมต่อฮาร์ดดิสก์กับแผงวงจรหลักจะต้องมี ส่วน เชื่ อ มต่ อ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ (Hard disk interface) ซึ้ ง จะมี ว งจร มาตรฐานที่ทั้งแผงวงจรหลักและฮาร์ดดิสก์รู้จัก ทำาให้ข้อมูล สามารถส่ ง ผ่ า นระหว่ า งแผงวงจรหลั ก และฮาร์ ด ดิ ส ก์ ไ ด้ มาตรฐานส่ ว นเชื่ อ มต่ อ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ที่ นิ ย มใช้ ใ นปั จ จุ บั น คื อ EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) แ ล ะ SCSI (Small Computer System Interface) 3. ออปติคัลดิสก์ (Optical Disk) มี ห ลั ก การทำา งานคล้ า ยกั บ การเล่ น ซี ดี (CD) เพลง คื อ ใช้ เทคโนโลยี ข องแสงเลเซอร์ ทำา ให้ ส ามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ได้ จำา นวน มหาศาลในราคาไม่แพงนัก 5
  • 6. Introduction to Information Technology ในปัจจุบันจะมีออปติคอลอยู่หลายแบบซึ่ งใช้ เทคโนโลยีที่ แตกต่างกันไป คือ ซี ดี ร อ ม (CD-ROM ห รื อ Computer Disk Read Only Memory) แผ่นซีดีรอมจะมีลักษณะคล้ายซีดีเพลงมาก สามารถ เก็บข้อมูลได้สูงถึง ٦٥٠ เมตร เมกะไบต์ต่อแผ่น การใช้งาน แผ่นซีดีรอมจะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวซีดีรอมไดร์ฟ (CD-ROM Drive) ซึ่ง จะมี หลายชนิ ดขึ้ นกั บความเร็ วในการ ทำา งาน ซี ดี ร อมไดร์ ฟ รุ่ น แรกสุ ด นั้ น มี ค วามเร็ ว ในการอ่ า น ข้ อมู ล ที่ ١٥٠ กิ โลไบต์ ต่อ วิ น าที เรี ย กว่ ามี ความเร็ ว ١ เท่ า หรื อ ١x ซี ดี ร อมไดร์ ฟ รุ่ น หลั ง ๆ จะอ้ า งอิ ง ความเร็ ว ในการ อ่านข้อมูลจากรุ่นแรก เช่น ความเร็ว ٢ เท่า (٢x) ความเร็ว ٤ เท่า(4x) ไปจนถึง ٥٠ เท่า (٥٠x) เป็นต้น โดยปัจจุบันนี้ซีดี รอมไดร์ฟที่มีอยู่ในท้องตลาดจะมีความเร็วตั้งแต่สามสิบเท่า ขึ้ นไป ข้ อจำา กั ดของซี ดีร อมคื อ สามารถบั น ทึ ก ได้ เ พี ย งครั้ ง เดี ย วด้ ว ยเครื่ อ งมื อ เฉพาะเท่ า นั้ น จากนั้ น จะไม่ ส ามารถ เปลียนแปลงข้อมูลเหล่านั้นได้ ่ ซีดีรอมได้รับความนิยมใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูลสำาหรับอ่าน อย่างเดียวเป็นอย่างมาก เช่น ซอฟต์แวร์ เกมส์ พจนานุกรม แผนที่ โ ลก หนั ง สื อ ภาพยนตร์ เป็ น ต้ น ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ จะมาในรูปของซีดีรอมเป็นหลัก เนื่องจาก สะดวกต่อการติดตั้งลงฮาร์ดดิสก์ ไม่ต้องทำาการเปลี่ยนแผ่น บ่อย ๆ โอกาสเสียมีน้อยและต้นทุนตำ่า การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ลงในแผ่ น ซี ดี ร อม ปกติ แ ล้ ว ต้ อ งใช้ เครื่องซึ่งมีราคาแพงมาก แต่ในปัจจุบันมีแผ่นซีดีรอมที่เรียก ว่า ซีดีอาร์ (CD-R หรือ CD Recordable) ซึ่งสามารถบันทึก ข้ อมู ล ลงในแผ่ น ด้ ว ยซี ดีอ าร์ ไ ดร์ ฟ (CD-R drive) ที่ มี ร าคา ไม่สูงนัก และนำา แผ่นซีดีอาร์ที่มีข้อมูลบันทึกไว้ไปอ่านด้วย ซีดีรอมไดร์ฟปกติได้ทันที ซีดีอาร์ไ ดร์ฟ สามารถบั นทึก แผ่ นซี ดีอ าร์ใ ห้เ ป็น ได้ทั้ ง ซีดีรอมหรือซีดีเพลง (Audio CD) และเก็บบันทึ กข้ อมู ลได้ ประมาณ ٩٠٠-٦٠٠ เมกะไบต์ในหนึ่งแผ่น (ถ้าเก็บข้อมูลนั้น ในแผ่นดิสก์เกตต์จะต้องใช้หลายร้อยแผ่น) ทำาให้เหมาะกับ การนำา มาจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ทางด้ า น มั ล ติ มี เ ดี ย (Multimedia) และยังมีการนำามาใช้บันทึกเป็น แผ่นต้นฉบับ (Master Disk) เพื่อนำาไปผลิตแผ่นซีดีจำานวนมากต่อไป 6
  • 7. Introduction to Information Technology ความเร็วของไดร์ฟซีดีอาร์จะระบุโดยใช้ตัวเลขสองตัว คื อความเร็ วในการเขี ย นแผ่ น และความเร็ ว ในการอ่ า นแผ่ น คั่ นด้ วยเครื่ องหมาย X ซึ่ งหมายถึ ง ความเร็ ว คิ ดเป็ น จำา นวน เท่ า ของ ١٥٠ กิ โ ลไบต์ ต่ อ วิ น าที เช่ น ٢٤x ٤٠ หมายถึ ง ไดร์ฟซีดีอาร์นั้นสามารถเขียนแผ่นด้วยความเร็ว ٢٤ เท่า (١ ٥٠x ٣٦٠٠ = ٢٤ กิ โ ลไบต์ ต่ อ วิ น าที ) และอ่ า นแผ่ น ด้ ว ย ความเร็ว ٤٠ เท่า (150x ٦٠٠٠=٤٠ กิโลไบต์ต่อวินาที) ในปั จ จุ บั น จะมี ไ ดร์ ฟ แบบ ซี ดี อ าร์ ดั บ เบิ ล ยู (CD-RW Drive) ทีใช้สำาหรับบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นให้ไดร์ฟและแผ่น ่ CD-RW ซึ่งเป็นแผ่นซีดีพิเศษที่สามารถลบแล้วบันทึกใหม่ ได้ ค ล้ า ยกั บ การบั น ทึ ก บนแผ่ น ดิ ส ก์ เ กตต์ ทำา ให้ ไ ดร์ ฟ และ แผ่ น CD-RW เริ่ ม ได้ รั บ ความนิ ย มมากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ อี ก ทั้ ง ไดร์ฟ CD-RW ยังสามารถทำาการบันทึกข้อมูลลงแผ่น CD-R ได้ (เขี ย นได้ ค รั้ ง เดี ย วไม่ ส ามารถลบได้ เ ช่ น เดี ย วกั บ การ เขี ย นด้ ว ยไดร์ ฟ ซี ดี อ าร์ ) ทำา ให้ ส ะดวกกั บ การเลื อ กบั น ทึ ก โดยกรณีที่ ต้องการเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ การเปลี่ย นแปลงแล้ ว ก็ สามารถบั น ทึ ก ลงแผ่ น ซี ดี อ าร์ ที่ มี ร าคาถู ก กว่ า และสำา หรั บ ข้อมูลทียังมีการเปลียนแปลงบ่อย ๆ ก็สามารถบันทึกลงแผ่น ่ ่ CD-RW ได้ ความเร็ ว ของไดร์ ฟ ซี ดี อ าร์ ดั บ เบิ ล ยู จ ะระบุ โ ดยใช้ ตั ว เลขสามตั ว คื อ ความเร็ ว ในการเขี ย นแผ่ น แบบซี ดี อ าร์ ความเร็วในการลบและเขียนซำ้าบนแผ่นซีดีอาร์ดับเบิ้ลยู และ ความเร็ ว ในการอ่ า นแผ่ น คั่ น ด้ ว ยเครื่ อ งหมาย x เช่ น ٢ ٤x10x40 หมายถึงไดร์ฟซีดีอาร์ดับเบิลยูเ ครื่ องนั้น สามารถ เขียนแผ่นด้วยความเร็ว ٢٤ เท่า (١٥٠x ٣٦٠٠=٢٤ กิโลไบต์ ต่ อ วิ น าที ) ลบและเขี ย นซำ้า ด้ ว ยความเร็ ว ١٠ เท่ า (١ ٥ ٠x10=1500 กิ โ ล ไ บ ต์ ต่ อ วิ น า ที ) แ ล ะ อ่ า น แ ผ่ น ด้ ว ย ความเร็ว ٤٠ เท่า (150x40=6000 กิโลไบต์ต่อวินาที) วอร์มซีดี (WORM CD หรือ Write Once Read Many CD) เป็นซีดีที่ผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลลงในแผ่นวอร์มซีดี ได้ ห นึ่ ง ครั้ ง และสามารถอ่ า นข้ อ มู ล ที่ บั น ทึ ก ไว้ ขึ้ น มากี่ ค รั้ ง ก็ได้ แต่จะไม่สามารถเปลี่ยนแก้ไขข้อมูลที่เก็บไปแล้วได้อีก แผ่นวอร์มซีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ ٦٠٠ เมกะไบต์ ไป จนถึงมากกว่า ٣ จิกะไบต์ ขึ้นกับชนิดของวอร์มซีดีที่ใช้งาน 7
  • 8. Introduction to Information Technology วอร์ ม ซี ดีจ ะมี จุ ดด้ อ ยกว่ า ซี ดีร อมในเรื่ อ งของการไม่ มี มาตรฐานที่แน่นอน นั่นคือแผ่นวอร์มซีดีจะต้องใช้กับเครื่อง อ่ านรุ่ นเดียวกับ ที่ ใ ช้ บั นทึ ก เท่ า นั้น ทำา ให้ มี ก ารใช้ ง านในวง แคบ โดยมากจะนำามาใช้ในการเก็บสำารองข้อมูลเท่านั้น เอ็มโอดิสก์ (MO หรือ Magneto Optical disk) เป็นระบบที่ใ ช้ห ลัก การของสื่ อ ที่ ใ ช้ ส ารแม่ เ หล็ ก เช่ น ฮาร์ ด ดิ ส ก์ กั บ สื่ อที่ ใ ช้ แ สงเลเซอร์ เช่ น ออปติ คั ล ดิ ส ก์ เ ข้ า ด้ ว ยกั น โดย เอ็ ม โอไดร์ ฟ จะใช้ แ สงเลเซอร์ ช่ ว ยในการ บั นทึ กและอ่ านข้ อมู ล ทำา ให้ ส ามารถอ่ า นและบั น ทึ ก แผ่ น กี่ ครั้งก็ได้คล้ายกับฮาร์ดดิสก์ เคลื่อนย้ายแผ่นได้คล้ายฟลอป ปี้ ดิส ก์ มี ความจุ สู ง มากคื อ ตั้ ง แต่ ٢٠٠ MB ขึ้ น ไป รวมทั้ ง มี ความเร็วในการใช้งานที่สูงกว่าฟลอปปี้ดิสก์และซีดีรอม แต่ จะช้ากว่าฮาร์ดดิสก์ ข้อดีอีกประการของเอ็มโอดิสก์คือ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน เอ็มโอดิสก์จะปลอดภัยจากสนามแม่เหล็ก ต่างกับฟลอปปี้ ดิสก์และฮาร์ดิสก์ เพราะสนามแม่เหล็กเพียงอย่างเดียวไม่มี ความร้อนจากแสงเลเซอร์จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูล ได้ และการทีใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการอ่านและบันทึกข้อมูล ่ นั้ น ทำา ให้ หัวอ่ านบั นทึ ก ข้ อ มู ล ไม่จำา เป็ น ต้ อ งเข้ า ใกล้ กับ ผิ ว ของแผ่นดิสก์เหมือนกับฮาร์ดดิสก์ จึงช่วยลดความผิดพลาด ที่เกิดจาก การล้มเหลว (Crash) ของหัวอ่าน โดยดิสก์แบบ เอ็มโอสามารถมีอายุการใช้งานได้ยาวนานกว่า ٣٠ ปีทีเดียว ข้อเสียที่สำา คัญของเอ็มโอดิสก์ คือราคาเครื่องขับแผ่นเอ็ม โอจะเกิ ดการทำา งานสองขั้ น ตอน คื อ ลบข้ อ มู ล ออกแล้ ว จึ ง เขียนข้อมูลใหม่เข้าไป ดีวีดี(DVD หรือ Digital Versatile Disk) เป็นเทคโนโลยี ใหม่ล่าสุ ดที่ เริ่ มได้ รับ ความนิย มอย่ าง มากในปัจจุบัน แผ่นดีวีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ตำ่าสุดที่ ٤.٧ จิ กะไบต์ ซึ่ ง เพี ย งพอสำา หรั บ เก็ บ ภาพยนตร์ เ ต็ ม เรื่ อ งด้ ว ย คุ ณภาพสูง สุ ดทั้ ง ภาพและเสี ย ง (ในขณะที่ CD-ROM หรื อ Laser Disk ที่นิยมใช้เก็บภาพยนตร์ในปัจจุบันต้องใช้หลาย แผ่น) ทำา ให้เป็นที่คาดหมายว่าดีวีดีจะมาแทนที่ทั้ง ซีดีรอม เลเซอร์ดิสก์หรือแม้กระทั่งวิดีโอเทป 8
  • 9. Introduction to Information Technology ข้ อกำา หนดของดี วี ดีจ ะสามารถมี ความจุ ไ ด้ ตั้ ง แต่ ٤.٧ GB ถึง ١٧ GB และมีความเร็วในการเข้าถึง (Access time) อยู่ ที่ ٦٠٠ กิ โ ลไบต์ ต่ อ วิ น าที ถึ ง ١.٣ เมกะไบต์ ต่ อ วิ น าที รวมทั้งสามารถอ่านแผ่นซีดีรอมแบบเก่าได้ด้วย และยังมีข้อ กำาหนดสำาหรับเครื่องรุ่นที่สามารถอ่านและเขียนแผ่นดีวีดีได้ ในตั ว เช่ น DVD-R(DVD Recordable) ซึ่ ง สามารถบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ได้ ห นึ่ ง ครั้ ง DVD-ROM ซึ่ ง สามารถบั น ทึ ก และลบ ข้ อมู ล ได้ เ ช่ น เดี ย วกั บ ดิ ส ก์ เ กต และ DVD-RW ซึ่ ง สามารถ บันทึกและลบข้อมูลได้หลายครั้ง แต่ต้องทำาทั้งแผ่นในคราว เดียว เป็นต้น ٤. ส่วนเชื่อมต่ออุปกรณ์ (Peripheral Interface) 1. ยูเอสบี (USB หรือ Universal Serial Bus) เป็นส่วนเชื่อมต่อที่ใช้หลักการของบัสแบบอนุกรมที่ได้ รับความนิยม และเป็นมาตรฐานที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน ส่วนเชื่อมต่อยูเอสบีจะเป็นบัสอเนกประสงค์สำาหรับเชื่อมต่อ อุ ปกรณ์ ความเร็ว ตำ่า ทั้ง หมดเข้า พอร์ตชนิ ดต่า ง ๆ ด้ า นหลัง เครื่อง จะเปลี่ยนมาเป็นการเข้ากับพอร์ตยูเอสบีเพียงพอร์ต เดียว อุปกรณ์ที่ต่อทีหลังจะใช้วิธีต่อเข้ากับพอร์ตยูเอสบีของ อุ ป กรณ์ ก่ อ นหน้ า แบบ เรี ย งไปเป็ น ทอด ๆ (Daisy chain) ซึ่ ง สามารถต่ อ ได้ สู ง สุ ด ถึ ง ١٢٧ อุ ป กรณ์ และสายเชื่ อ ม ระหว่างอุปกรณ์ยาวได้ถึง ٥ เมตร อุ ป กรณ์ ที่ เ ป็ น แบบยู เ อสบี จ ะสนั บ สนุ น การถอดหรื อ เปลี่ยนอุปกรณ์โดยไม่ต้องปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อน (Hot Swapping) รวมทั้งสนับสนุนการใช้งานแบบเสียบแล้วใช้ได้ ทันที (Plug and Play) โดยส่วนเชื่อมต่อแบบยูเอสบีที่ใช้ใน ปัจจุบันจะใช้มาตรฐาน USB 1.1 ที่มีความเร็ว ٢ ระดับ คือ ١ .٥ เมกะบิ ต ต่ อ วิ น าที และ ١٢ เมกะบิ ตต่ อ วิ น าที ในขณะที่ มาตรฐานรุ่นล่าสุดคือ USB 2.0 จะสามารถมีความเร็วได้ถง ٤ ึ ٨٠ Mbps ซึ่ ง ทำา ให้ ส ามารถรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล คุ ณ ภาพและเสี ย ง จำานวนมาก ๆ ได้ ٢. อินฟราเรด (IrDa Port) เ ป็ น ม า ต ร ฐ า น ส่ ว น เ ชื่ อ ม ต่ อ จ า ก Infrared Data Association(IrDa) ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ก ลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต อุ ปกรณ์ เพื่ อพั ฒนามาตรฐานในการส่ ง ผ่า นข้ อ มู ล ผ่ า นคลื่ น 9
  • 10. Introduction to Information Technology แสงอินฟราเรด ในปัจจุบัน ส่วนเชื่อมต่อแบบอินฟราเรดได้ รับการติดตั้งในอุปกรณ์จำา นวนมาก เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่อง คอมพิ ว เตอร์ โ น้ ต บุ ค พี ดี เ อ โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ เป็ น ต้ น เนื่องจากส่วนเชื่อมต่ออินฟราเรดมีข้อดีคือ ไม่ต้องใช้สายใน การเชื่อมต่อ ทำา ให้สะดวกกับการใช้งานในอุปกรณ์แบบพก พา อีกทั้งส่วนเชื่อมต่ออินฟราเรดยังมีค่าใช้จ่ายที่ตำ่ามากเมื่อ เทียบกับเทคโนโลยีไร้สายแบบอื่น ข้อจำากัดของส่วนเชื่อม ต่อประเภทนี้คือระยะห่างระหว่างอุปกรณ์จะต้องไม่เกิน ٣-١ เมตร และต้องไม่มีสิ่งกีดขวางในระหว่างอุปกรณ์ที่ใช้งาน ٣. อุปกรณ์พีซีการ์ด (PC CARD) เทคโน โลยี พี ซี การ์ ดเป็ น เท คโ นโลยี ซึ่ ง เกิ ดจ าก ม า ตร ฐา น PCMCIA (The Personal Computer Memory Card International Association) ซึ่งเป็นมาตรฐานในการ ออกแบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ สำา หรั บ อุ ป กรณ์ ที่ มี ข นาด เท่ากับนามบัตร โดยอุปกรณ์ดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งอุปกรณ์ หน่วยความจำา ตลอดจนอุปกรณ์รับหรือแสดงผลต่าง ๆ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพีซีการ์ดจะใช้พลังงานน้อย ทนทานต่อการใช้ งาน มีข นาดเล็ก และนำ้า หนั กเบา ทำา ให้มี ความเหมาะสมอย่างยิ่งที่จะทำางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ พลั ง งานจากแบตเตอรี่ และต้ อ งการพกพาไปยั ง ที่ ต่ า ง ๆ เช่น โน้ตบุค และพีดีเอ เป็นต้น นอกจากนี้ อุปกรณ์พีซีการ์ด ยังมีการนำาไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางกับอุปกรณ์ประเภท ต่ า ง ๆ เช่ น กล้ อ งดิ จิ ต อล อุ ป กรณ์ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ตลอดจน โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น อุปกรณ์พีซีการ์ดสามารถแบ่งได้เป็น ٣ ชนิด โดยทั้ง ٣ ชนิดจะมีขนาดความกว้างและความยาวประมาณเท่ากับบัตร เครดิ ต รวมทั้ ง ใช้ ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยคอนเน็ ค เตอร์ แ บบ ٦٨ เข็มเหมือนกัน แต่จะแตกต่างกันที่ความหนา คือ PC Card Type l จะมีความหนา ٣.٣ มิลลิเมตร นิยมใช้ กับอุปกรณ์หน่วยความจำา เช่ น RAM, Flash Memory และ SRAM เป็นต้น PC Card Typd ll จะมีความหนา ٥.٠ มิลลิเมตร นิยม ใช้ กั บ อุ ป กรณ์ Input/Output เช่ น แฟกซ์ /โมเด็ ม การ์ด LAN เป็นต้น 10
  • 11. Introduction to Information Technology PC Card Type lll มีความหนา ١٠.٥ มิลลิเ มตร จะใช้ กับอุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบค่อนข้างหนา เช่นอุปกรณ์ บันทึกข้อมูลประเภทฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น ٥. ยูพีเอส (UPS) ยู พี เ อส หรื อ Uninterruptible Power Supply เป็ น อุ ป กรณ์ สำา หรั บ จ่ า ยกระแสไฟฟ้ า สำา รองจากแบตเตอรี่ เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานฉุกเฉินในกรณีเกิดปัญหากับระบบไฟฟ้าหลัก เช่น ไฟดับ ไฟตก ไฟเกิ น เป็ น ต้ น โดยปกติ แ ล้ ว ยู พี เ อสจะสามารถจ่ า ย พลังงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ทำางานได้ต่ออีก หลายนาทีหลังจากไฟฟ้าดับ ทำาให้ผู้ใช้สามารถจัดเก็บข้อมูลหรือ ทำา ขั้นตอนปิ ดระบบ (Shutdown) ให้เรียบร้อย และหากเป็ นยูพี เอสที่มีกำา ลังไฟฟ้าสูงก็จะสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ใช้งานได้ หลายชั่วโมง นอกจากนี้ในปัจจุบัน จะมียูพีเอสซึ่งมีซอฟต์แวร์มา ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลและปิดระบบโดยอัตโนมัติเมื่อระบบไฟฟ้า มี ปั ญ หา ซึ่ ง จะมี ป ระโยชน์ ใ นกรณี ที่ ผู้ ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ กล้ เ ครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ในขณะนั้น ยูพีเอสสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ Standby Power systems จะเป็ น ระบบยู พี เ อสที่ ใ น เวลาปกติ จ ะให้ อุ ป กรณ์ ต่า ง ๆ ใช้ พ ลั ง งานจากระบบไฟฟ้ า โดยตรง แต่ จ ะคอยตรวจสอบพลั ง งานไฟฟ้ า และทำา การ เปลี่ยนไปใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ ทันทีที่ ตรวจพบปั ญ หา จุดด้อยคือการเปลี่ยนอาจใช้เวลาหลายมิลลิวิ นาที ซึ่งช่ วง เวลานี้เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่ได้รับพลังงานไฟฟ้า ทำา ให้ อาจเกิดปัญหากับอุปกรณ์บางอย่างที่มีความไวสูง มีข้อดีคือ ราคาตำ่า และสู ญ เสี ย พลั ง งานไฟฟ้ า น้ อ ยมาก บางครั้ ง อาจ เรียกระบบนีว่า Line-interactive UPS ้ On-line UPS systems เป็ น ระบบยู พี เ อสที่ ค อยจ่ า ย พลั ง งานไฟฟ้ า ให้ กั บ อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆตลอดเวลาไม่ ว่ า ระบบ ไฟฟ้ า หลั ก จะมี ปั ญ หาหรื อ ไม่ ทำา ให้ ไ ด้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ที่ มี คุณภาพสูงอยู่ตลอดเวลา มีข้อเสีย คือ ราคาแพง และมี การ สูญเสียพลังงานไฟฟ้าไปกับการแปลงไฟฟ้าตลอดเวลา รวม ทั้งมีอายุการใช้งานสั้นกว่าด้วย บางครั้งอาจเรียกระบบนี้ว่า Double Conversion UPS เนื่องจาก UPS ประเภทนี้จะต้อง ทำา การแปลงไฟฟ้ากระแสสลับจากแหล่งจ่ายไฟไปเป็นกระ 11
  • 12. Introduction to Information Technology แ สตรง และแป ลงกลั บ มา เป็ นกระแ สสลั บ ใ ห้ อุ ป กร ณ์ คอมพิวเตอร์ใช้อีกครั้งหนึ่ง ٦. แบตเตอรี่แบบเติมประจุ (Rechargeable battery) แบตเตอรี่ แ บบเติ ม ประจุ ได้ รั บ ความนิ ย มมาใช้ ใ นอุ ป กรณ์ แบบ พกพา เช่ น เครื่ อ ง คอม พิ ว เตอร์ โ น้ ตบุ ค เครื่ อง พี ดี เอ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น เนื่องจากแบตเตอรี่รุ่นใหม่ ๆ สามารถ ใช้งานได้อย่างยาวนาน และสามารถเติมประจุซำ้า ๆ ได้หลายร้อย ครั้ง ทำา ให้ประหยัดกว่าการใช้แบตเตอรี่แบบใช้แล้วทิ้งเป็นอย่าง มาก นอกจากนี้ บางรุ่นยังสามารถรายงานระดับพลั งงานที่ เหลือ อยู่เพื่อให้ผู้ใช้ทราบได้ว่าสามารถใช้งานอุปกรณ์ชิ้นนั้นได้อีกนาน เท่ า ใด แบตเตอรี่ แ บบเติ ม ประจุ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มในปั จ จุ บั น สามารถแบ่งเป็นสามประเภท คือ NiCD battery แ บ ต เ ต อ รี่ แ บ บ นิ ก เ กิ ล แ ค ด เ มี ย ม (Nickel Cadmium) เป็ น แบตเตอรี่ ที่ มี ร าคาถู ก สามารถ ทำา การประจุซำ้า ได้ประมาณ ١٠٠٠ -٧٠٠ ครั้ง แต่ แบตเตอรี่ ประเภทนี้ จ ะสามารถใช้ ง านได้ ไ ม่ น านนั ก และมี ปั ญ หา Memory effect ทำา ให้ ต้ อ งทำา การใช้ ง านให้ ป ระจุ ห มดทุ ก ครั้งก่อนที่จะทำาการเติมประจุใหม่ NiMH battery แบตเตอรี่ แ บบนิ ก เกิ ล เมตั ล ไฮไดร์ ด (Nichel Metal Hydride) เป็ น แบตเตอรี่ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย ม อย่ า งมาก เนื่ อ งจากให้ พ ลั ง งานที่ ย าวนานกว่ า แบบ NicD ประมาณ ٥٠ -٤٠ เปอร์ เ ซ็ น ต์ อี ก ทั้ ง ไม่ มี ปั ญ หา Memory effect ทำา สามารถเติมประจุเมื่อใดก็ได้ สามารถทำา การเติม ประจุได้ประมาณ ٥٠٠ ครั้ง ข้อเสียของแบตเตอรี่ประเภทนี้ คือจะมีการสูญเสียพลังงานประมาณ ٥ เปอร์เซ็นต์ทุกวันไม่ ว่าจะมีการใช้งานหรือไม่ก็ตาม Lithium-Ion battery แบตเตอรี่ แ บบลิ เ ธี ย มไอออน (Lithium-Ion) เป็นแบตเตอรี่ที่กำาลังได้รับความนิยมมากขึ้น เรื่อย ๆ เนื่องจากให้พลังงานที่สูงกว่า แบบ NiMH ประมาณ ٢ เท่า ไม่มีปัญหา memory effect เติมประจุได้ประมาณ ٥٠٠ ครั้ง และมีนำ้าหนักที่เบา ทำาให้มีความเหมาะสมในการนำามา ใ ช้ กั บ อุ ป กรณ์ พ กพา ต่ า ง ๆ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ข้ อเสี ย ข อง แบตเตอรี่ประเภทนี้คือราคาที่ค่อนข้างสูงกว่าประเภทอื่น ๆ พอสมควร 12
  • 13. Introduction to Information Technology 7. Modem (modulation-Demodulation) จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายภายนอกผ่าน สายโทรศัพท์ดั้งเดิม (POTS) ซึ่งปกติใช้ส่งสัญญาณเสียงเท่านั้น โมเด็มมีหน้าที่ในการแปลงสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ให้ เป็นสัญญาณอนาลอก เพื่อส่งผ่านไปตามสายโทรศัพท์ และเมื่อ ได้ รั บ ข้ อ มู ล ก็ ทำา การแปลงสั ญ ญาณอนาลอกที่ ไ ด้ รั บ ให้ เ ป็ น สัญญาณดิจิตอล เพื่อให้คอมพิวเตอร์นำาไปประมวลผล ในปัจจุบัน นี้ สามารถส่งผ่านโมเด็มได้ด้วยความเร็วสูงสุดตามมาตรฐาน V.90 ของ ITU ที่ ٥٦ kbps โมเด็มสามารถแบ่งเป็นแบบต่าง ๆ ได้คือ • โมเด็มภายใน (Internal MODEM) จะเป็นโมเด็มแบบ เป็ น การ์ ด ใช้ เ สี ย บกั บ ช่ อ งขยายเพิ่ ม เติ ม ในเครื่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ มี ข้ อ ดี คื อ ราคาถู ก และไม่ ต้ อ งเสี ย บไฟ แยกต่างหาก • โมเด็ ม แบบภายนอก (External MODEM) จะเป็ น ก ล่องสำาหรับเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทาง พอร์ตอนุกรม (serial port) หรือ ยูเอสบี (USB) มีข้อดี คือเคลื่อนย้ายได้ง่าย และมีไฟแสดงสถานะการทำางาน • โมเด็ ม แบบกระเป๋ า (Pocket MODEM) จะเป็ น โมเด็ ม ขนาดเล็กที่สามารถพกใส่กระเป๋าเสื้อได้และเสียบเข้า กับพอร์ตอนุกรม • โมเด็มแบบการ์ด (PCMCIA MODEM) จะเป็นโมเด็มที่ มีขนาดเท่ากับบัตรเครดิตเท่านั้น นิยมใช้กับเครื่องโน้ต บุคโดยเสียบผ่านช่องเสียบแบบ PCMCIA Type ll 8. หน่วยควำมจำำหลัก (Main Memory Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจำาข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ที่อยู่ ระหว่ า งการประมวลผลของคอมพิ ว เตอร์ บางครั้ ง อาจเรี ย กว่ า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary storage) หน่วยความจำา หลักที่นิยมใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่ง อออกได้เป็น ٢ ประเภท ١. หน่วยความจำา หลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory) เรี ย กสั้ น ๆ ว่ า รอม (ROM) เป็ น หน่ ว ยความจำา ที่ มี คุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้า หล่อเลี้ยง (Non-Volatile) นั่นคือแม้จะปิดเครื่องไปแล้วเมื่อ 13
  • 14. Introduction to Information Technology เปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม นิยมใช้เป็น หน่วยความจำา สำา หรับเก็บชุดคำา สั่งในการเริ่มต้นระบบ หรือ ชุดคำา สั่งที่สำา คัญ ๆ ของคอมพิวเตอร์ คำา สั่งเริ่มต้นระบบจะ ถู ก เก็ บ ไว้ ใ นชิ ป ชื่ อ ROM BIOS (Basic Input / Output System) ข้อเสียของรอมคือจะไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติม ชุดคำา สั่งได้ในภายหลัง รวมทั้งมี ความเร็ วในการทำา งานช้ า กว่าหน่วยความจำาแบบแรม นอกจากนี้ ในปัจจุบันยังมีรอมที่เป็นชิปพิเศษแบบต่าง ๆ อีก คือ PROM (Programmable Read-Only Memory) เป็ น หน่ ว ยความจำา แบบ ROM ที่ ส ามารถบั น ทึ ก ด้ ว ย เครื่องบันทึกพิเศษได้หนึ่งครั้ง จากนั้นจะลบหรือแก้ไข้ไม่ได้ EPROM(Erasable PROM) เป็นหน่วยความจำา ROM ที่ใช้แสงอัลตราไวโอเลตใน การเขียนข้อมูล สามารถนำาออกจากคอมพิวเตอร์ไปลบโดย ใช้เครื่องมือพิเศษและบันทึกข้อมูลใหม่ได้ EEPROM (Electrically Erasable PROM) จะเป็นเทคโนโลยีซึ่งรวมเอาข้อดีของรอมและแรมเข้า ด้ ว ยกั น กล่ า วคื อ จะเป็ น ชิ ป ที่ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ในการหล่ อ เลี้ ย ง (non-volatile) สามารถเขียน แก้ไข หรือลบข้อมูลที่เก็บไว้ ได้ ด้ ว ยโปรแกรมพิ เ ศษ โดยไม่ ต้ อ งถอดออกจากเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์เลย ทำาให้เปรียบเสมือนหน่วยเก็บข้อมูลสำารอง ที่ มี ความเร็ว สู ง อย่ า งไรก็ ตาม หน่ ว ยความจำา ชนิ ดนี้ จ ะมี ข้ อ ด้อยอยู่ ٢ ประการเมื่อเทียบกับหน่วยเก็บข้ อมู ลสำา รอง นั่น คือราคาที่สูงและมีความจุข้อมูลตำ่ากว่ามาก ทำาให้การใช้งาน ยังจำา กัดอยู่กับงานที่ต้องการความเร็วสูง และเก็บข้อมูลไม่ มากนัก ตังอย่างของหน่วยความจำาแบบ EEPROM ที่รู้จักกัน ดี คื อ หน่ ว ยความจำา แบบแฟลช (Flash memory) ซึ่ ง นิ ย ม นำามาใช้เก็บ BIOS ในเครื่องรุ่นใหม่ ๆ เสริมศัพท์ ความเร็วในการเข้าถึง (Access time) คื อ เวลาที่ โ ปรแกรมหรื อ อุ ป กรณ์ ใ ช้ ใ นการหาข้ อ มู ล ให้ คอมพิ ว เตอร์ นำา ไปประมวล นิ ย มใช้ เ ป็ น ค่ า สำา หรั บ บอกความเร็ ว 14
  • 15. Introduction to Information Technology ของอุ ป กรณ์ เ ก็ บ ข้ อ มู ล เช่ น หน่ ว ยความจำา หลั ก และหน่ ว ยเก็ บ ความจำา สำา รอง โดยหน่วยความจำา หลักจะมีความเร็วอยู่ในหน่วย ของ nanoseconds(ns หรือ หนึ่งส่วนพันล้านวินาที) ความเร็วในการเข้าถึง ของหน่วยความจำา เป็ น ปั จ จั ยสำา คั ญ อย่างหนึ่งที่ มีผลกระทบกั บประสิ ท ธิ ภาพของซี พียู โดยจะต้ อ งมี ความเร็ว พอที่จะสามารถส่ งข้ อมู ลให้ ซีพียู ไ ด้ ใ นทั น ที ไม่ เ ช่ น นั้ น ซีพียูจะต้องมีการกำา หนดว่าใหยุดรอระยะหนึ่งทุกครั้งที่อ่านเขียน ข้ อ มู ล จากหน่ ว ยความจำา เรี ย กว่ า เวทสเตท (Wait state) ซึ่ ง มี หน่วยเป็น วงรอบสัญญาณนาฬิกา (Clock cycle) ส่วนความเร็วในการเข้าถึงของหน่วยเก็บความจำา สำา รอง จะ เรี ย ก ความเร็ ว ในการเข้ า ถึ ง เฉลี่ ย (Average access time) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเวลาที่ ไ ดร์ ฟ ใช้ ใ นการหาแทร็ ก ที่ ถู ก ต้ อ ง กั บ เวลา เฉลี่ยในการเลื่อนหัวอ่าน (average seek time) ไปยังตำาแหน่งที่ ต้องการ นิยมใช้เป็นหน่วยวัดความเร็วในอุปกรณ์แบบเข้าถึงข้อมูล โดยตรง (Direct access) เช่น ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น ٢. หน่ ว ยความจำา หลั ก แบบแก้ ไ ขได้ (Random Access Memory) นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า แรม (RAM) หมายถึงหน่วยความจำา ความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีหน่วยความจำาความเร็วสูงนี้ โปรเซสเซอร์ก็จะทำางาน ไม่ได้เลย เนื่องจากความจำา แรมเป็ นเสมื อนกระดาษทด ที่ เก็บข้อมูลทุกอย่างที่โปรเซสเซอร์ใช้ในขณะกำาลังทำางานอยู่ เพราะอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลอื่น เช่น ดิสก์ไดร์ฟ จะมีความเร็ว ในการอ่ า นและบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ช้ า มาก ขณะที่ ซี พียู ทำา งานจึ ง ต้องทำางานกับหน่วยความจำาแรมที่มีความเร็วสูงเสมอ โดยปกติแล้ว ถ้าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำามาก ก็จะ สามารถทำางานได้เร็วขึ้น เพราะมีเนื้อที่สำาหรับเก็บคำาสั่งของ โปรแกรมต่ าง ๆ ได้ ทั้ ง หมด ไม่ ต้อ งเรี ย กคำา สั่ ง ที่ใ ช้ ม าจาก หน่ ว ยเก็ บ ข้ อมู ลสำา รอง ซึ่ ง จะทำา ให้ ก ารทำา งานช้ า ลงอย่ า ง ม า ก แ ผ ง ว ง จ ร ห ลั ก (Main board) ที่ อ ยู่ ใ น เ ค รื่ อ ง คอมพิวเตอร์ โดยปกติจะถูกออกแบบมาให้สามารถเพิ่ม ชิป หน่วยความจำา(memory chip) ได้โดยง่าย เนื่องจากถ้าผู้ใช้ ต้องทำา งานกับโปรแกรมที่มีการคำา นวณซับซ้อนหรือทำา งาน กับภาพกราฟิก ก็อาจจำา เป็น ต้อ งทำา การเพิ่ มหน่วยความจำา ให้มากขึ้น 15
  • 16. Introduction to Information Technology คอมพิ ว เตอร์ ข นาดใหญ่ ส่ ว นมากจำา เป็ น ต้ อ งมี ห น่ ว ย ความจำา จำา นวนมาก เนื่องจากคอมพิวเตอร์นี้จะมีผู้ใช้หลาย คนทำางานพร้อม ๆ กัน โดยใช้หลักการของ มัลติโปรเซสซิง (Multiprocessing) ทำาให้ต้องมีการแบ่งเนื้อที่ในหน่วยความ จำา เพื่อเก็บโปรแกรมของผุ้ใช้แต่ละคนสามารถประมวลผล ไปในเวลาเดียวกันมากขึ้น หน่วยความจำา RAM ที่นยมใช้ในปัจจุบัน คือ ิ DRAM (Dynamic RAM) เป็ น หน่ ว ยความจำา ที่ มี ก ารใช้ ง านกั น มากที่ สุ ด ใน ปัจจุบัน จะมีวงจรคล้ายตัวเก็บประจุเพื่อจัดเก็บแต่ละบิตของ ข้ อ มู ล ทำา ให้ ต้ อ งมี ก ารยำ้า สั ญ ญาณไฟฟ้ า เข้ า ไปก่ อ นที่ จ ะ สู ญ หาย เรี ย กว่ า การรี เ ฟรช (Refresh) หน่ ว ยความจำา DRAM จะมี ข้อดีที่ ราคาตำ่า แต่ ข้ อ เสี ย คื อ มี ความเร็ วในการ เข้ า ถึ ง (Access time) ประมาณ ١٥٠ – ٥٠ nanoseconds ซึ่ งไม่ สูง นักเนื่ องจากต้ องมีก ารรี เฟรชข้ อมู ล อยู่ ตลอดเวลา ทำา ให้มี การนำา เทคนิ ค ต่ า ง ๆ มาช่ ว ยลดเวลาในการเข้า ถึ ง ข้ อมู ล และเกิ ด DRAM ชนิ ดย่ อ ย ๆ เช่ น FPM (Fast Page Mode) RAM, EDO (Extended Data Output) RAM, SDRAM (Synchronous DRAM), DDR (Double Data Rate) SDRAM และ RDRAM (Rambus DRAM) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมี DRAM แบบพิเศษซึ่งมีการปรับปรุงให้ ทำา งานเร็ ว ขึ้ น เพื่ อใช้ เ ป็ น หน่ ว ยความจำา สำา หรั บ ระบบแสดง ผลกราฟิ ก ซึ่ ง ต้ อ งการหน่ ว ยความจำา ที่ ส ามารถถ่ า ยโอน ข้ อ มู ล ด้ ว ยความเร็ ว สู ง เช่ น VRAM(Video RAM), WRAM (Window RAM), SGRAM (Synchronous Graphics RAM) และ MDRAM (Multibank RAM) เป็นต้น 16