SlideShare a Scribd company logo
รู้จักกับส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ใน
การประกอบเครื่องด้วยตนเอง
       ก่อนเริมทำการประกอบเครืองคอมพิวเตอร์ดวยตนเอง เราควรทำความรูจก
              ่                ่              ้                        ้ั
กับส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์กนก่อน เพือให้เข้าใจถึงหน้าทีการทำงานของ
                                   ั       ่                 ่
อุปกรณ์แต่ละส่วน ซึงจะทำให้การประกอบเครืองเป็นไปอย่างถูกต้องหลีกเลียงความ
                   ่                    ่                          ่
เสียหายทีจะเกิดจากความไม่รได้อย่างมาก
         ่                  ู้

      ซีพยู (CPU – Central Processing Unit)
         ี
        ซีพยเู ป็นอุปกรณ์ทมหน้าทีในการประมวลผลคำสังต่างๆ ไม่วาจะเป็นการคิด
           ี              ่ี ี   ่                     ่         ่
คำนวณการตัดสินใจ ทุกอย่างจะถูกนำมาประมวลผลทีอปกรณ์ตวนีทงหมด โดยจะ
                                                      ุ่       ั ้ ้ั
มีการรับคำสังเข้ามาจากอุปกรณ์ Input เช่น เมาส์ คียบอร์ด หรือไมโครโฟน และนำไป
             ่                                    ์
แสดงผลออกทางอุปกรณ์ Output เช่น จอภาพ เครืองพิมพ์ อุปกรณ์สำรองข้อมูล
                                                    ่
เป็นต้น




                         Athlon 64 ซีพียูจากค่ายเอเอ็มดี




                         Pentium 4 ซีพียูจากค่ายอินเทล

                                                           สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
ลักษณะของซีพยในปัจจุบนส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบ Socket ทีมลกษณะ
                            ี ู   ั                                      ่ ี ั
เป็นสีเหลียมแบนๆ มีจำนวนขาเล็กๆ ทีเป็นโลหะไว้สำหรับเชือมต่อกับสัญญาณ
       ่ ่                              ่                     ่
ภายในตัวซีพยกบอุปกรณ์ภายนอกซึงจำนวนขาจะแตกต่างกันตามยีหอและรุนของ
                ีูั                 ่                                ่ ้       ่
ซีพียู โดยซีพียูที่นิยมใช้ในตอนนี้มีเพียง 2 ยี่ห้อเท่านั้น คืออินเทลและเอเอ็มดี
โดยแต่ละค่ายก็จะมีซีพียูหลากหลายรุ่นให้เลือกใช้ เช่นทาง ฝั่งค่ายอินเทลคือ
Pentium 4 และ Celeronใช้อนเทอร์เฟซแบบ Socket 478 และ 775 ส่วนเอเอ็มดี
                                ิ
นั้นเป็น Athlon XP, Athlon 64 Bit ใช้อินเทอร์เฟซแบบ Socket A ,754 และ 939
โดยแต่ละค่ายก็มจดดีจดด้อยแตกต่างกันไปซีพยของอินเทลนันมีจดเด่นในด้าน
                     ีุ ุ                        ี ู             ้ ุ
การทำงานทีมเี สถียรภาพ มีความทนทานสูงและไม่รอนง่าย แต่มขอเสียคือราคาแพง
              ่                                      ้          ี้
และทำงานช้ากว่าซีพยของเอเอ็มดีในระดับความเร็วเดียวกัน สำหรับเอเอ็มดีนน
                        ี ู                                                       ้ั
จุดเด่นคือ ซีพยมราคาถูกกว่าอินเทลในทุกรุนและมีความเร็วสูงทังงานด้านกราฟิก
                ีู ี                       ่                       ้
และงานทั่วไป ส่วนข้อเสียของเอเอ็มดี คือมีความร้อนสูง หากไม่มระบบระบาย ี
ความร้อนทีดจะทำให้ระบบไม่มเี สถียรภาพ และเกิดความเสียหายต่อตัวซีพยได้งาย
            ่ ี                                                              ีู ่

       เมนบอร์ด (Mainboard)
        เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ทมลกษณะเป็นแผ่นวงจรหลักสำหรับติดตังอุปกรณ์
                             ่ี ี ั                                 ้
คอมพิวเตอร์ตางๆ เกือบทังหมด โดยจะมีหน้าทีในการประสานงานและติดต่อรับส่ง
             ่          ้                    ่
ข้อมูลโดยผ่านระบบบัส บนเมนบอร์ดก็จะมีอปกรณ์ทสำคัญๆ รวมอยูดวย เช่น สล็อต,
                                           ุ       ่ี         ่้
ซ็อกเก็ตสำหรับเชือมต่อกับอุปกรณ์ตางๆ ชิพเซ็ตทีทำหน้าทีเ่ หมือนแม่บาน คอยจัด
                ่                   ่            ่                ้
การและประสานงานให้กบอุปกรณ์ทนำมาติดตังบนเมนบอร์ด นอกจากนีกยงรวม
                          ั           ่ี       ้                      ้็ั
เอาแผงวงจรและชิพควบคุมอุปกรณ์ตางๆ เช่น ตัวควบคุมฮาร์ดดิสก์ (Harddisk
                                         ่
Controller) พอร์ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก เช่น พอร์ตขนาน (Parallel Port)
พอร์ตอนุกรม (Serial Port) และพอร์ตยูเอสบี (USB Port) เป็นต้น




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
เมนบอร์ด

      แรม (RAM – Random Access Memory)
       แรมคือหน่วยความจำที่ทำหน้าที่อ่านและเขียนข้อมูลร่วมกับซีพียูอยู่
ตลอดเวลา ข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์สวนใหญ่จะต้องมาพักทีแรมเสมอก่อนจะถูกส่ง
                                 ่                     ่
ไปยังซีพียู ดังนั้นยิ่งแรมมีขนาดมากขึ้นเท่าไหร่ก็สามารถพักข้อมูลไว้กับแรมได้
มากขึน ทำให้ซพยไม่ตองเรียกข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์บอยๆ ซึงฮาร์ดดิสก์มความเร็ว
     ้           ี ี ู ้                           ่     ่           ี
ในการอ่านและเขียนข้อมูลน้อยกว่าแรม ส่งผลให้ระบบของเราทำงานได้เร็วขึ้น
ในปัจจุบนแรมมีหลายชนิดด้วยกัน คือ SDRAM, DDR SDRAM และ RAMBUS
        ั
       SDRAM จะมีลกษณะเป็นแผงยาวมีขาสัญญาณขนาด 168 pin 64 bit
                         ั
สำหรับติดตังกับซ็อกเก็ตแรมแบบ DIMM ส่วนใหญ่แรมทีขายกันเดียวนีจะเป็นแบบ
             ้                                       ่       ๋ ้
PC–100 และ PC–133 ในปัจจุบน SDRAM ได้รบความนิยมน้อยมาก ทีมใช้งานอยู่
                               ั              ั                  ่ ี
ส่วนใหญ่จะเป็นเครืองรุนเก่าเสียมากกว่า เนืองจากการเข้ามาแทนทีของ DDR
                       ่ ่                  ่                     ่
SDRAM ทีมคณภาพดีกว่าในราคาทีใกล้เคียงกันนันเอง
           ่ ี ุ                   ่            ่




                                                     สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
SD RAM

        DDR SDRAM มีลักษณะคล้ายกับ SDRAM แต่จะมีขนาด 184 pin
และเนืองจากทำงานทังขอบขาขึนและขาลงของสัญญาณนาฬิกาทำให้มความเร็วเพิม
      ่              ้       ้                               ี         ่
ขึนเป็น 2 เท่าถ้าเทียบกับ SDRAM โดย DDR SDRAM จะมีบสให้เลือกใช้งานอยู่
  ้                                                     ั
หลายขนาด เช่น 266, 333 และ 400 เป็นต้น ปัจจุบน DDR SDRAM เข้ามาเป็นหน่วย
                                              ั
ความจำมาตรฐานใหม่ทมาแทนที่ SDRAM ไปเรียบร้อยแล้ว และในอนาคตมีไม่นาน
                        ่ี
หน่วยความจำแบบ DDR 2 ก็กำลังเข้ามาเป็นทีนยมมากขึนเรือยๆ
                                            ่ ิ     ้ ่




                                  DDR SDRAM

       RAMBUS เป็ น แรมชนิ ด ใหม่ ท ี ่ อ ิ น เทลเคยพยายามผลั ก ดั น ให้ เ ป็ น
มาตราฐานใหม่ของหน่วยความจำในอนาคต แต่ในปัจจุบนดูแล้วสถาการณ์ของ
                                                      ั
RAMBUS นันก็ไม่มอะไรทีหวือหวามากนัก RAMBUS มีลกษณะทีแตกต่างจาก
            ้       ี    ่                              ั      ่
SDRAM และ DDR SDRAM อย่างเห็นได้ชด โดยใช้อนเทอร์เฟชแบบ RIMM ขนาด
                                        ั          ิ
299 pin นอกจากนียงมีความเร็วบัสทีสงถึง 400 MHz และสามารถส่งถ่ายข้อมูลได้ถง
                 ้ั              ู่                                             ึ
800 MB ต่อวินาทีซงมากกว่า SDRAM ถึง 8 เท่าเลยทีเดียว แต่กลับมีขอเสียคือมีคา
                 ่ึ                                              ้            ่
ความหน่วง (Latency) ใกล้เคียงกับ SDRAM ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานไม่ได้
สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
แตกต่างไปจาก DDR SDRAM หรือ SDRAM มากนักและยังมีราคาแพงกว่ากันค่อน
ข้างมาก นอกจากนีหากใส่ RAMBUS ไม่ครบแถว (RIMM) ต้องมีการใส่แถวหลอก
                ้
(RIMM PCB – Printed Circuit Board) ไว้ให้เต็มเพื่อให้ครบวงจรจึงจะสามารถ
ใช้งานได้




                                               RAMBUS

         ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk)
        ฮาร์ ด ดิ ส ก์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ม ี ห น้ า ที ่ ส ำหรั บ เก็ บ ข้ อ มู ล ที ่ ม ี ข นาดใหญ่
โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลสำหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมต่างๆ
ซึ่งไม่สามารถเก็บไว้ในแผ่นฟล็อบปี้ดิสก์ที่มีความจุน้อยได้ ภายในฮาร์ดดิสก์
จะประกอบไปด้วยแผ่นจานโลหะแข็ง (Platter) วางซ้อนกันแต่จะไม่ติดกัน โดย
จะมีแขนทีเป็นตัวเคลือนหัวอ่านเข้าไปอ่านและเขียนข้อมูลตามตำแหน่งทีตองการ
          ่              ่                                                                         ่ ้
และจะไม่มการสัมผัสกับแผ่นโดยตรงแต่จะมีชองว่างห่างกันประมาณ 10 ไมครอน
            ี                                                  ่
ทำให้การอ่านข้อมูลจากแผ่น Platter มีความเร็วสูงเนืองจากไม่มการเสียดสีทเี่ กิด
                                                                       ่              ี
จากการสัมผัส โดยจะมีความเร็วรอบอยู่ 2 แบบคือ 5400/นาที และ 7200/นาที




                                                                    ฮาร์ดดิสก์แบบ IDE




                                                                          สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
นอกจากนี้ฮาร์ดดิสก์ยังมีแผ่นวงจรที่อยู่ด้านล่างเป็นตัวควบคุมการ
หมุนของมอนิเตอร แขนที่เป็นตัวเคลื่อนหัวอ่าน และยังทำหน้าที่ติดต่อสื่อสาร
โดยส่งผ่านข้อมูลไปยังเมนบอร์ดอีกด้วย ซึงแผ่นวงจรด้านล่างนีควรระวังอย่าไปวาง
                                       ่                  ้
ไว้กับแผ่นโลหะหรืออุปกรณ์นำไฟฟ้าทุกชนิด เพราะจะทำให้เกิดการลัดวงจร
ก่อให้เกิดความเสียหายกับตัวฮาร์ดดิสก์ได้ โดยเฉพาะการวางฮาร์ดดิสก์ไว้บน
เคสแล้วเปิดการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหากเกิดปัญหาไฟรั่วขึ้นมา
จะทำให้มีไฟฟ้าเข้ามาสู่ตัวเคสและผ่านไปยังฮาร์ดดิสก์ ทำให้แผ่นวงจรของ
ฮาร์ดดิสก์อาจเสียหายได้
        เนืองจากข้อจำกัดในการพัฒนามาตรฐานการเชือมต่อแบบเดิม ซึงเป็นแบบ
           ่                                       ่               ่
IDE/E-IDE แทบไม่มการพัฒนาความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลไปได้อก โดยหยุดไว้ท่ี
                     ี                                         ี
ความเร็วสูงสุดเพียง 133 MB/s จึงทำให้บรรดาผูผลิตฮาร์ดดิสก์ได้ทำการพัฒนา
                                              ้
มาตรฐานของฮาร์ดดิสก์ใหม่ขนมา ซึงเรียกว่าเป็นฮาร์ดดิสก์แบบ Serial ATA โดยมี
                            ้ึ     ่
ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลถึง 150 MB/s และมีหน่วยความจำแคชถึง 8 MB ซึงจะ่
สามารถพัฒนาความเร็วได้ถง 300 MB/s และ 600 MB/s ในเวอร์ชนต่อๆ ไป นอกจาก
                          ึ                                 ่ั
นีฮาร์ดดิสก์แบบ Serial ยังมีขอดีอกหลายๆ ด้าน เช่น ใช้สายเคเบิลทีใช้ในการ
  ้                            ้ ี                               ้ ่
เชือมต่อแบบใหม่ทมขนาดเล็กและบางกว่าเดิม ทำให้การไหลเวียนของอากาศภาย
    ่             ่ี ี
ในเคสดีขึ้นดูเป็นระเบียบมากขึ้น และตัวของฮาร์ดดิสก์มีความแข็งแรงมากขึ้น
ไม่บอบบางหรือเสียหายง่ายเหมือนฮาร์ดดิสก์แบบ IDE




                           ฮาร์ดดิสก์แบบ Serial ATA


สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
จอภาพ (Monitor)
       จอภาพหรือจอมอนิเตอร์เป็นอุปกรณ์ทใช้ในการแสดงผลจากการทำงาน
                                          ่ี
ของคอมพิวเตอร์ ซึงภายในมีวงจรและระบบการทำงานคล้ายกับเครืองรับโทรทัศน์
                 ่                                         ่
เกือบทุกอย่างแต่จะมีแผงวงจรที่ซับซ้อนน้อยกว่ามาก โดยจะแตกต่างกันตรง
ทีโทรทัศน์มภาครับสัญญาณทีวี แต่จอมอนิเตอร์มเพียงภาครับสัญญาณดิจตอล
  ่        ี                                 ี                     ิ
จากการ์ดแสดงผลเท่านัน ปัจจุบนแนวโน้มจอมอนิเตอร์กำลังถูกจอ LCD เข้ามาเป็น
                     ้      ั
มาตรฐานใหม่แทนด้วยข้อดีหลายๆ อย่าง เช่น มีขนาดบางไม่กนเนือทีในการจัดวาง
                                                      ิ ้ ่
มากนัก ไม่มรงสีสะท้อนรบกวนสายตา และประหยัดไฟมากกว่า เป็นต้น
             ีั




                             จอภาพแบบ LCD

      การ์ดแสดงผล (Display Card)
        การ์ดแสดงผล หรือการ์ด VGA เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการนำข้อมูล
แบบดิจตอลมาเปลียนเป็นสัญญาณภาพจ ากคอมพิวเตอร์แล้วนำไปแสดงผลออก
      ิ           ่
ทางจอภาพ โดยใช้อนเทอร์เฟชแบบสล็อต AGP หรือ PCI Express ทำให้สามารถ
                    ิ
แสดงผลได้อย่างรวดเร็วและการ์ดแสดงผลในปัจจุบนมีการพัฒนาชิพสร้างกราฟิก 3
                                           ั
มิตไปอย่างรวดเร็ว ทำให้สามารถแสดงผลภาพกราฟิก 3 มิตได้อย่างสมจริงและสวย
   ิ                                              ิ
งามมากขึนกว่าในอดีต
         ้



                                                   สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
การ์ดแสดงผล

        การ์ดเสียง (SoundCard)
        การ์ดเสียงหรือซาว์ดการ์ดที่หน้าที่ในการให้กำเนิดเสียงจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยต้องทำงานควบคู่ไปกับลำโพงด้วย ในปัจจุบันมักจะมีการนำ
คอมพิ ว เตอร์ ม าใช้ ง านประเภทมั ล ติ ม ี เ ดี ย ที ่ ใ ห้ ค วามบั น เทิ ง ต่ า ง ๆ เช่ น
ใช้ดหนังฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม งานเหล่านีตางก็ตองพึงพาระบบเสียง
      ู                                                     ้ ่     ้ ่
ที่ช่วยเพิ่มอรรถรสในการทำงานเหล่านี้ทั้งสิ้น ดังนั้นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
จึงมีการติดตังระบบ เสียงให้กบคอมพิวเตอร์แทบทุกเครือง มีทงแบบ Sound On
              ้             ั                                   ่    ้ั
Board หรือแบบทีเป็นการ์ดโดยจะต้องนำมาติดตังลงบนสล็อตในเมนบอร์ด
                   ่                                ้
        ปัญหาของการ์ดเสียงบางครังจะส่งผลกระทบกับเครืองคอมพิวเตอร์อย่าง
                                 ้                                ่
คาดไม่ถึง และส่วนใหญ่จะเกิดจากตัวไดรเวอร์ของการ์ดเอง จนบางครั้งทำให้
วินโดวส์ไม่สามารถบูตเครืองหรือชัตดาวน์ได้ วิธแก้ปญหาคือต้องไปดาวน์โหลด
                     ๊ ่                           ี ั
ไดรเวอร์เวอร์ชนใหม่มาติดตัง
                ่ั        ้




                                                    การ์ดเสียง




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
ฟล็อบปีไ้ ดรฟ์ (Floopy Drive)
         ฟล็อบปีไดรฟ์เป็นอุปกรณ์ทมหน้าทีในการอ่านและบันทึกข้อมูลจากแผ่น
                 ้                  ่ี ี   ่
ฟล็อบปี้ดิสก์ที่มีขนาด 3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 MB โดยจะมีหัวอ่านคอยเลื่อน
เข้าไปอ่านข้อมูลจากแผ่นที่เคลือบสารแม่เหล็กของฟล็อบปี้ดิสก์ทั้งสองด้าน
ซึงหัวอ่านนีจะมีการสัมผัสกับแผ่นแม่เหล็กโดยตรง จึงทำให้การอ่านข้อมูลไม่สามารถ
  ่         ้
อ่านได้รวดเร็วเหมือนฮาร์ดดิสก์โดยมีความเร็วประมาณ 300 รอบต่อนาทีเท่านัน   ้



                                      ฟล็อบปี้ไดรฟ์




       ซีดรอมไดรฟ์ (CD-ROM Drive)
          ี
           ซีดีรอมไดรฟ์เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีเพียง
อย่างเดียว ส่วนใหญ่จะใช้งานในด้านการติดตังระบบปฏิบตการหรือโปรแกรมต่างๆ
                                              ้            ั ิ
รวมไปถึงงานทีเ่ กียวกับความบันเทิง เช่นดูหนัง ฟังเพลง และงานด้านมัลติมเี ดียด้วย
                      ่
โดยมีหน่วยความเร็วในการอ่านข้อมูลเป็น X เช่น 48X หรือ 50X เป็นต้น ในปัจจุบน    ั
แทบจะเรียกได้วาคอมพิวเตอร์ทกเครืองจะต้องมีไดรฟ์ซดรอมอย่างน้อย หนึงไดรฟ์
                   ่             ุ ่                   ี ี                   ่
เสมอ ซึงได้กลายเป็นมาตรฐานสำหรับเครืองคอมพิวเตอร์ในตอนนีแล้ว
         ่                                ่                         ้
           ซีดีรอมไดรฟ์จะการอ่านข้อมูลด้วยความเร็วในการหมุนแผ่นที่ไม่คงที่
โดยที่จะอ่านข้อมูลที่อยู่วงนอกของแผ่นซีดีด้วยความเร็วสูงสุด และจะค่อยๆลด
ความเร็วลงมาเมือมาอ่านข้อมูลทีอยูวงในสุด ส่วนใหญ่ซดรอมไดรฟ์จะอ่านข้อมูล
                        ่         ่ ่                    ี ี
ที่อยู่ตรงกลางแผ่นซะส่วนมาก ทำให้ใช้ความเร็วเพียงแค่ไม่เกินครึ่งหนึ่งของ
ความเร็วสูงสุดทีมเท่านัน ดังนันซีดรอมไดรฟ์สวนใหญ่จงไม่คอยทำงานทีความเร็ว
                     ่ ี ้      ้ ี             ่       ึ ่                ่
สูงสุดของไดรฟ์เท่าไหร่นก อย่างเช่นซีดรอมไดรฟ์ความเร็ว 50X จึงไม่ใช่ความเร็วใน
                            ั           ี
การอ่านข้อมูลอย่างต่อเนื่อง แต่จะเป็นความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดี
ทีอยูวงนอกสุด หลังจากนันจะค่อยลดความเร็วลงมาเมือมาอ่านข้อมูลทีอยูวงในด้วย
  ่ ่                         ้                     ่                  ่ ่
ความเร็ว ทีไม่เกินครึงหนึงของไดรฟ์กจะประมาณ 20-25X เท่านัน
               ่          ่ ่         ็                          ้
                                                            สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
เมาส์และคีย์บอร์ด
         เมาส์และคียบอร์ดเป็นอุปกรณ์สำหรับทำหน้าทีในการป้อนข้อมูลจากผูใช้
                     ์                               ่                   ้
เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่หากเมาส์และคีย์บอร์ดเสียจะไม่นิยมซ่อม
เพราะเดียวนีเ้ มาส์และคียบอร์ดมีราคาไม่แพง ถ้ามัวแต่มานังซ่อมจะไม่คมกับเวลา
          ๋               ์                             ่          ุ้
ทีเสียไป
  ่

       เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย
         เคสที่ขายในบ้านเรามักมีเพาเวอร์ซัพพลายติดมาด้วยเสมอจนเป็นของ
คู่กัน โดยเคสจะมีลักษณะเป็นกล่องเหล็กสี่เหลี่ยมผืนฟ้าใช้สำหรับเป็นที่เก็บ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นเมนบอร์ด ซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์
การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง รวมถึงสายแพเชือมต่อต่างๆ ส่วนเพาเวอร์ซพพลายนันจะมี
                                           ่                      ั         ้
หน้าทีในการแปลงไฟและจ่ายกระแสไฟให้กบอุปกรณ์ทอยูในเคส
       ่                                       ั        ่ี ่
         ผู้ใช้หลายคนส่วนใหญ่มักไม่ค่อยให้ความสำคัญกับเพาเวอร์ซัพพลาย
เท่าไหร่ แต่หารูไม่วาปัญหาทีเ่ กิดกับฮาร์ดดิสก์ และอุปกรณ์ตางๆ บางครังมักมีสาเหตุ
                ้ ่                                          ่      ้
มาจากเพาเวอร์ซัพพลาย หากเพาเวอร์ซัพพลายเสียส่วนใหญ่จะสามารถซ่อม
ได้โดยการเปลียนฟิวส์ หม้อแปลง หรือเปลียนอะไหล่
                 ่                           ่




                              เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย


สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง
        การประกอบเครืองคอมพิวเตอร์ดวยตนเอง ปัจจุบนไม่ใช่เรืองยากอีกต่อไป
                         ่            ้            ั       ่
ซึงเราสามารถหัดประกอบด้วยตนเองได้ โดยมีขนตอน ดังนี้
  ่                                         ้ั
        1. ขันแรกให้เตรียมอุปกรณ์ทจำเป็นสำหรับการประกอบเครืองคอมพิวเตอร์
             ้                    ่ี                         ่
เช่น ไขควงสีแฉก กล่องสำหรับใส่นอต คูมอเมนบอร์ด คีมปากจิงจก
               ่                 ็ ่ ื                 ้




         2. เริมจากการติดตังซีพยกอน โดยง้างขาล็อคของซ็อกเก็ตขึนมาจากนัน
               ่            ้ ี ู ่                                ้    ้
นำซีพยมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ตโดยให้วางตำแหน่งขาที่ 1 ของซีพยและซ็อกเก็ตให้ตรง
      ีู                                                 ีู
กัน โดยสังเกตว่าทีขาที่ 1 ของซีพยจะทำเครืองหมายเป็นจุดเล็กไว้ทมมด้านบนของ
                   ่            ีู       ่                    ่ี ุ
ซีพยู
   ี




                                                   สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
3. เมือวางซีพยตรงล็อคกับซ็อกเก็ตแล้ว จากนันให้กดขาล็อกลงไปเหมือน
              ่      ี ู                          ้
เดิม แล้วนำซิลโคนมาทาตรงบริเวณคอร์ (แกน) ของซีพยู และไม่ควรทาซิลโคนให้
                ิ                                   ี              ิ
หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใช้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกมาปาดออกเสียบ้าง




         4. ติดตั้งฮีทซิงค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกให้เรียบร้อย
ในขันตอนนีมจดทีตองระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดตังฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบ
     ้       ้ ีุ ่ ้                        ้
สนิทกับคอร์ของซีพยู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพยอาจบินได้ ส่วนขา
                     ี                                   ีู    ่
สปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริง
ให้เข้าล็อก ซึงอาจทำให้พลาดไปขูดเอาลายปรินบนเมนบอร์ดขาดทำให้เมนบอร์ด
              ่                           ้
อาจเสียหายได้




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
5. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขัว CPU FAN โดยดูจากคูมอเมนบอร์ด
                                     ้                  ่ ื




       6. นำแรมมาเสียบเข้ากับซ็อกเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อกเก็ต จากนัน
                                                                         ้
จึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้าน
อาจไม่จำเป็นต้องดีดขึนมาก็ได้ให้ดวาเข้าล็อกกันก็พอ)
                    ้            ู่




       7. ขันแท่นรองน็อตเข้ากับเคส




                                                    สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
8. นำเมนบอร์ดทีได้ตดตังซีพยและแรมวางลงไปบนเคส จากนันขันน็อตยึด
                      ่ ิ ้ ีู                          ้
เมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว




      9. เสียบการ์ดแสดงผลลงไปในสล็อต AGP เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
10. เสียบการ์ดเสียงลงไปในสล็อต PCI เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส




      11. เสียบสายเพาเวอร์ซพพลายเข้ากับขัวต่อบนเมนบอร์ด โดยควรเสียบให้
                           ั            ้
ปลักของสายเพาเวอร์ซพพลายตรงล็อกกับขัวต่อบนเมนบอร์ด
   ๊               ั                ้




                                                   สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
12. สอดไดรฟ์ซีดีรอมเข้ากับช่องว่างหน้าเคส แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส
ให้แน่น




        13. เสียบสาย IDE เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอมโดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1
หรือด้านทีตดกับขัวสายไฟ จากนันจึงเสียบสายไฟและสายสัญญาณเสียงเข้าไปด้วย
          ่ิ     ้          ้




     14. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Secondary IDE บนเมนบอร์ด
โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขัวต่อด้วย
                             ้




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
15. สอดฮาร์ดดิสก์เข้ากับช่องติดตัง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคสให้แน่น
                                        ้




       16. เสียบสาย IDE เข้ากับฮาร์ดดิสก์โดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือด้าน
ทีตดกับขัวสายไฟ จากนันจึงเสียบสายไฟเข้าไปด้วย
  ่ ิ    ้            ้




                                                      สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
17. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขัวต่อ Primary IDE บนเมนบอร์ด โดยแถบ
                                       ้
สีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขัวต่อด้วย
                        ้




          18. สอดไดรฟ์ฟล็อบปีดสก์เข้าไปในช่องติดตัง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส
                            ้ ิ                   ้
ให้แน่น




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
19. เสียบสายไฟเข้ากับขัวต่อสายไฟของฟล็อบปีดสก์ ให้สงเกตสายไฟของ
                             ้                  ้ ิ      ั
ฟล็อบปีดสก์จะมีหวขนาดเล็กกว่าสายไฟของซีดรอมและฮาร์ดดิสก์)
      ้ ิ       ั                        ี




           20. เสียบสายแพขนาด 34 เส้น (เส้นเล็กกว่าสายแพของฮาร์ดดิสก์
และซีดรอม) ให้ดานทีมการไขว้สายเข้ากับขัวต่อไดรฟ์ฟล็อบปีดสก์ โดยแถบสีแดง
         ี         ้ ่ ี               ้               ้ ิ
ของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์
ฟล็อบปีดสก์จะติดตลอด วิธแก้ไขคือให้หนสายแพกลับด้านเพราะไดรฟ์ฟล็อบปีดสก์
           ้ิ            ี          ั                              ้ิ
บางยีหออาจต้องใส่สลับด้านกัน
     ่ ้




                                                  สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
21. เสียบสายแพอีกด้านเข้ากับขัวต่อฟล็อบปีดสก์บนเมนบอร์ด โดยให้สาย
                                      ้       ้ ิ
สีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือ pin1 ของขัวต่อด้วย
                                 ้




          22. เสียบสายสัญญาณต่างๆ จากเคส เช่น สวิตช์เปิดปิดเครื่อง ไฟบอก
สถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลำโพง ลงบนเมนบอร์ด
ควรดูคมอเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขัวให้ถกหากผิดขัว คอมพิวเตอร์
        ู่ ื                                ้ ู            ้
จะไม่ตดหรือมีไฟค้างตลอดเวลา วิธแก้ไขคือให้เราลองสลับขัวและเปิดเครืองขึน
      ิ                         ี                      ้            ่ ้
มาใหม่




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
23. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองสำรวจดูว่ามีน็อตหรืออุปกรณ์อื่นๆ
ตกค้างอยูบนเมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทำให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความ
          ่
เสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณ์ตางๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากนีควรตรวจสอบ
                                  ่                            ้
การติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบ
แน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพยู พร้อมทังล็อก
                                                             ี       ้
ติดกันอย่างแน่นหนา




      24. เมือเรียบร้อยดีแล้วปิดฝาเคสและขันน็อตให้เรียบร้อย ก็เป็นอันเสร็จสิน
             ่                                                              ้
ขันตอนการประกอบเครืองอย่างถูกต้องและสมบูรณ์แบบแล้ว
 ้                    ่




                                                      สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
ประกอบเครื่องเสร็จแล้ว แต่กลับไม่สามารถบู๊ตเครื่อง
ขึ้นมาได้เพราะมองเห็นฮาร์ดดิสก์ จะแก้ไขอย่างไร
        หลังจากทีประกอบเครืองเสร็จแล้ว ต้องมีการกำหนดค่าไบออสให้รจกกับ
                    ่      ่                                       ู้ ั
ฮาร์ดดิสก์ทตดตังในเครืองคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบนเมนบอร์ดรุนใหม่ไม่จำเป็น
            ่ี ิ ้      ่                       ั          ่
ต้องเข้าไปกำหนดค่าในไบออสแล้ว เพราะไบออสจะรูจกฮาร์ดดิสก์เองโดยอัตโนมัติ
                                               ้ั
แต่หากเป็นเมนบอร์ดรุนเก่าให้เข้าไปกำหนดค่าไบออสทีหวข้อ IDE HDD Auto
                      ่                                ่ ั
Detection เพือให้ไบออสตรวจสอบค่าทีเ่ หมาะสมให้โดยอัตโนมัติ แต่หากต้องการ
                ่
กำหนดเองก็สามารถเข้าไปกำหนดค่าได้ที่หัวข้อ Standard CMOS Setup
โดยให้เราใส่คา Head, Cylinder, Sector ของฮาร์ดดิสก์นนลงไปให้ถกต้อง
                  ่                                 ้ั        ู




       อีกสาเหตุหนึงทีทำให้คอมพิวเตอร์มองไม่เห็นฮาร์ดดิสก์เนืองจากการเซ็ต
                      ่ ่                                      ่
จัมเปอร์ไม่ถกต้อง ซึงเราสามารถดูการเซ็ตจัมเปอร์ทถกต้องได้บนตัวฮาร์ดดิสก์ ทีสวน
            ู      ่                             ่ี ู                     ่่
ใหญ่ทางผูผลิตฮาร์ดดิสก์จะติดสติกเกอร์บอกตำแหน่งการเซ็ตจัมเปอร์ทถกต้องมาให้
          ้                    ๊                                 ่ี ู
ด้วย นอกจากนีให้ตรวจสอบการเชือมต่อของสายสัญญาณต่างๆ เช่น สาย IDE และ
               ้                 ่
สายไฟว่ามีการหลุดหลวมหรือไม่ หากพบว่ามีกให้ทำการเชือมต่อให้แน่น และควร
                                             ็           ่
ตรวจสอบด้วยว่าเสียบสายสัญญาณถูกต้องตรงขัวหรือไม่ดวย
                                               ้       ้




สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
ขาล็อกของฮีตซิงค์แข็งมาก ไม่สามารถล็อกเข้ากับ
ซ็อกเก็ตของซีพียูได้ จะแก้ปัญหาอย่างไร
         ขาล็อกของฮีตซิงค์ทมขนาดใหญ่สวนมากจะมีความแข็งแรงมาก ทำให้มอ
                             ่ี ี    ่                             ื
ใหม่ทเพิงหัดประกอบเครืองอาจไม่สามารถติดตังได้ วิธการแก้ปญหานีกคอการ
      ่ี ่                 ่              ้      ี      ั    ้ ็ ื
ใช้ด้ามพลาสติกที่มีความแข็งแรงหรือปลายไขควงขนาดเล็ก งัดเกี่ยวขาล็อก
ฮีตซิงค์ให้เข้ากับซ็อกเก็ตของซีพยูี




        อย่างไรก็ตามการใช้ไขควรงัดเกียวขาล็อกของฮีตซิงค์จำเป็นต้องทำด้วย
                                    ่
ความระมัดระวัง เพราะหากพลาดพลั้งอาจทำให้ปลายของไขควรไปขูดเข้ากับ
ลายปรินซ์บนเมนบอร์ดฉีกขาด ทำให้เกิดความเสียหายต่อตัวเมนบอร์ดได้ ทางทีดี    ่
แนะนำให้ใช้ดามพลาสติกทีมความแข็งแรงมากๆ หน่อยจะดีกว่าการใช้ไขควงครับ
               ้         ่ ี
เพราะหากไม่ชำนาญส่วนใหญ่หลายคนจะพลาดในส่วนนีแทบทังสินครับ
                                                     ้      ้ ้
        หากเมนบอร์ดเกิดความเสียหายจากการทีถกไขควรขูดเอาลายปรินซ์ฉก
                                              ่ ู                        ี
ขาด เราสามารถนำเมนบอร์ดไปเชือมต่อลายปรินซ์ใหม่ได้ ซึงอาจต้องเสียค่าใช้จาย
                               ่                       ่               ่
บ้าง แต่เมือเทียบกับเมนบอร์ดราคาแพงแล้วเชือว่ายังคุมค่าอยูครับ
           ่                              ่        ้      ่




                                                     สำนักพิมพ์ eXP MEDIA

More Related Content

What's hot

การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์noorinryrinry
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้nuttavut_kongtako
 
Com
ComCom
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นyenny3484
 
Computer
ComputerComputer
Computer
lalil_lalil
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์jumphu9
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Kuroba Kaito
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์gotemohardy
 
หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)
หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)
หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์okbeer
 

What's hot (12)

การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้
 
Com
ComCom
Com
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Com
ComCom
Com
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)
หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)
หน่วยความจำหลัก Present 4-8 (Group2)
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 

Similar to ประกอบคอมพิวเตอร์

5508183 (patavee)csc100
5508183 (patavee)csc1005508183 (patavee)csc100
5508183 (patavee)csc100maximic1
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Com
ComCom
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
DimitriICTProjects
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์okbeer
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์okbeer
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
kruchanon2555
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์NaluemonPcy
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์NaluemonPcy
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์Ammarirat
 

Similar to ประกอบคอมพิวเตอร์ (19)

5508183 (patavee)csc100
5508183 (patavee)csc1005508183 (patavee)csc100
5508183 (patavee)csc100
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
computer
computercomputer
computer
 
computer
computercomputer
computer
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ยีตส์
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 

More from sa_jaimun

การใส่แบรนเนอร์
การใส่แบรนเนอร์การใส่แบรนเนอร์
การใส่แบรนเนอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงานใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงานsa_jaimun
 
ใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จ
ใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จ
ใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จsa_jaimun
 
ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่อง
ใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่องใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่อง
ใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่องsa_jaimun
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
การสร้างแบรนเนอร์อย่างง่าย
การสร้างแบรนเนอร์อย่างง่ายการสร้างแบรนเนอร์อย่างง่าย
การสร้างแบรนเนอร์อย่างง่ายsa_jaimun
 
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจsa_jaimun
 
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูนการตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูนsa_jaimun
 
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูนการตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูนsa_jaimun
 
2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรส
2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรส2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรส
2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรสsa_jaimun
 
1.การสมัครเข้าใช้งาน
1.การสมัครเข้าใช้งาน1.การสมัครเข้าใช้งาน
1.การสมัครเข้าใช้งานsa_jaimun
 

More from sa_jaimun (20)

การใส่แบรนเนอร์
การใส่แบรนเนอร์การใส่แบรนเนอร์
การใส่แบรนเนอร์
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงานใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
ใบความรู้ 4.2ขั้นตอนการลงมือพัฒนาโครงงาน
 
ใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จ
ใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จ
ใบความรู้ 4.1การวางแผนดำเนินการทำโครงงานให้สำเร็จ
 
ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.2ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3.1เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่อง
ใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่องใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่อง
ใบความรู้ 2.2ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่อาจนำไปสู่แนวคิดในการเลือกเรื่อง
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การสร้างแบรนเนอร์อย่างง่าย
การสร้างแบรนเนอร์อย่างง่ายการสร้างแบรนเนอร์อย่างง่าย
การสร้างแบรนเนอร์อย่างง่าย
 
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
1.รู้จักโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ
 
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูนการตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
 
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูนการตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
การตกแต่งใบหน้าตัวการ์ตูน
 
2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรส
2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรส2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรส
2.การตั้งค่าเวิร์ดเพรส
 
1.การสมัครเข้าใช้งาน
1.การสมัครเข้าใช้งาน1.การสมัครเข้าใช้งาน
1.การสมัครเข้าใช้งาน
 

ประกอบคอมพิวเตอร์

  • 1. รู้จักกับส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ใน การประกอบเครื่องด้วยตนเอง ก่อนเริมทำการประกอบเครืองคอมพิวเตอร์ดวยตนเอง เราควรทำความรูจก ่ ่ ้ ้ั กับส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์กนก่อน เพือให้เข้าใจถึงหน้าทีการทำงานของ ั ่ ่ อุปกรณ์แต่ละส่วน ซึงจะทำให้การประกอบเครืองเป็นไปอย่างถูกต้องหลีกเลียงความ ่ ่ ่ เสียหายทีจะเกิดจากความไม่รได้อย่างมาก ่ ู้ ซีพยู (CPU – Central Processing Unit) ี ซีพยเู ป็นอุปกรณ์ทมหน้าทีในการประมวลผลคำสังต่างๆ ไม่วาจะเป็นการคิด ี ่ี ี ่ ่ ่ คำนวณการตัดสินใจ ทุกอย่างจะถูกนำมาประมวลผลทีอปกรณ์ตวนีทงหมด โดยจะ ุ่ ั ้ ้ั มีการรับคำสังเข้ามาจากอุปกรณ์ Input เช่น เมาส์ คียบอร์ด หรือไมโครโฟน และนำไป ่ ์ แสดงผลออกทางอุปกรณ์ Output เช่น จอภาพ เครืองพิมพ์ อุปกรณ์สำรองข้อมูล ่ เป็นต้น Athlon 64 ซีพียูจากค่ายเอเอ็มดี Pentium 4 ซีพียูจากค่ายอินเทล สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 2. ลักษณะของซีพยในปัจจุบนส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบ Socket ทีมลกษณะ ี ู ั ่ ี ั เป็นสีเหลียมแบนๆ มีจำนวนขาเล็กๆ ทีเป็นโลหะไว้สำหรับเชือมต่อกับสัญญาณ ่ ่ ่ ่ ภายในตัวซีพยกบอุปกรณ์ภายนอกซึงจำนวนขาจะแตกต่างกันตามยีหอและรุนของ ีูั ่ ่ ้ ่ ซีพียู โดยซีพียูที่นิยมใช้ในตอนนี้มีเพียง 2 ยี่ห้อเท่านั้น คืออินเทลและเอเอ็มดี โดยแต่ละค่ายก็จะมีซีพียูหลากหลายรุ่นให้เลือกใช้ เช่นทาง ฝั่งค่ายอินเทลคือ Pentium 4 และ Celeronใช้อนเทอร์เฟซแบบ Socket 478 และ 775 ส่วนเอเอ็มดี ิ นั้นเป็น Athlon XP, Athlon 64 Bit ใช้อินเทอร์เฟซแบบ Socket A ,754 และ 939 โดยแต่ละค่ายก็มจดดีจดด้อยแตกต่างกันไปซีพยของอินเทลนันมีจดเด่นในด้าน ีุ ุ ี ู ้ ุ การทำงานทีมเี สถียรภาพ มีความทนทานสูงและไม่รอนง่าย แต่มขอเสียคือราคาแพง ่ ้ ี้ และทำงานช้ากว่าซีพยของเอเอ็มดีในระดับความเร็วเดียวกัน สำหรับเอเอ็มดีนน ี ู ้ั จุดเด่นคือ ซีพยมราคาถูกกว่าอินเทลในทุกรุนและมีความเร็วสูงทังงานด้านกราฟิก ีู ี ่ ้ และงานทั่วไป ส่วนข้อเสียของเอเอ็มดี คือมีความร้อนสูง หากไม่มระบบระบาย ี ความร้อนทีดจะทำให้ระบบไม่มเี สถียรภาพ และเกิดความเสียหายต่อตัวซีพยได้งาย ่ ี ีู ่ เมนบอร์ด (Mainboard) เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ทมลกษณะเป็นแผ่นวงจรหลักสำหรับติดตังอุปกรณ์ ่ี ี ั ้ คอมพิวเตอร์ตางๆ เกือบทังหมด โดยจะมีหน้าทีในการประสานงานและติดต่อรับส่ง ่ ้ ่ ข้อมูลโดยผ่านระบบบัส บนเมนบอร์ดก็จะมีอปกรณ์ทสำคัญๆ รวมอยูดวย เช่น สล็อต, ุ ่ี ่้ ซ็อกเก็ตสำหรับเชือมต่อกับอุปกรณ์ตางๆ ชิพเซ็ตทีทำหน้าทีเ่ หมือนแม่บาน คอยจัด ่ ่ ่ ้ การและประสานงานให้กบอุปกรณ์ทนำมาติดตังบนเมนบอร์ด นอกจากนีกยงรวม ั ่ี ้ ้็ั เอาแผงวงจรและชิพควบคุมอุปกรณ์ตางๆ เช่น ตัวควบคุมฮาร์ดดิสก์ (Harddisk ่ Controller) พอร์ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก เช่น พอร์ตขนาน (Parallel Port) พอร์ตอนุกรม (Serial Port) และพอร์ตยูเอสบี (USB Port) เป็นต้น สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 3. เมนบอร์ด แรม (RAM – Random Access Memory) แรมคือหน่วยความจำที่ทำหน้าที่อ่านและเขียนข้อมูลร่วมกับซีพียูอยู่ ตลอดเวลา ข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์สวนใหญ่จะต้องมาพักทีแรมเสมอก่อนจะถูกส่ง ่ ่ ไปยังซีพียู ดังนั้นยิ่งแรมมีขนาดมากขึ้นเท่าไหร่ก็สามารถพักข้อมูลไว้กับแรมได้ มากขึน ทำให้ซพยไม่ตองเรียกข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์บอยๆ ซึงฮาร์ดดิสก์มความเร็ว ้ ี ี ู ้ ่ ่ ี ในการอ่านและเขียนข้อมูลน้อยกว่าแรม ส่งผลให้ระบบของเราทำงานได้เร็วขึ้น ในปัจจุบนแรมมีหลายชนิดด้วยกัน คือ SDRAM, DDR SDRAM และ RAMBUS ั SDRAM จะมีลกษณะเป็นแผงยาวมีขาสัญญาณขนาด 168 pin 64 bit ั สำหรับติดตังกับซ็อกเก็ตแรมแบบ DIMM ส่วนใหญ่แรมทีขายกันเดียวนีจะเป็นแบบ ้ ่ ๋ ้ PC–100 และ PC–133 ในปัจจุบน SDRAM ได้รบความนิยมน้อยมาก ทีมใช้งานอยู่ ั ั ่ ี ส่วนใหญ่จะเป็นเครืองรุนเก่าเสียมากกว่า เนืองจากการเข้ามาแทนทีของ DDR ่ ่ ่ ่ SDRAM ทีมคณภาพดีกว่าในราคาทีใกล้เคียงกันนันเอง ่ ี ุ ่ ่ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 4. SD RAM DDR SDRAM มีลักษณะคล้ายกับ SDRAM แต่จะมีขนาด 184 pin และเนืองจากทำงานทังขอบขาขึนและขาลงของสัญญาณนาฬิกาทำให้มความเร็วเพิม ่ ้ ้ ี ่ ขึนเป็น 2 เท่าถ้าเทียบกับ SDRAM โดย DDR SDRAM จะมีบสให้เลือกใช้งานอยู่ ้ ั หลายขนาด เช่น 266, 333 และ 400 เป็นต้น ปัจจุบน DDR SDRAM เข้ามาเป็นหน่วย ั ความจำมาตรฐานใหม่ทมาแทนที่ SDRAM ไปเรียบร้อยแล้ว และในอนาคตมีไม่นาน ่ี หน่วยความจำแบบ DDR 2 ก็กำลังเข้ามาเป็นทีนยมมากขึนเรือยๆ ่ ิ ้ ่ DDR SDRAM RAMBUS เป็ น แรมชนิ ด ใหม่ ท ี ่ อ ิ น เทลเคยพยายามผลั ก ดั น ให้ เ ป็ น มาตราฐานใหม่ของหน่วยความจำในอนาคต แต่ในปัจจุบนดูแล้วสถาการณ์ของ ั RAMBUS นันก็ไม่มอะไรทีหวือหวามากนัก RAMBUS มีลกษณะทีแตกต่างจาก ้ ี ่ ั ่ SDRAM และ DDR SDRAM อย่างเห็นได้ชด โดยใช้อนเทอร์เฟชแบบ RIMM ขนาด ั ิ 299 pin นอกจากนียงมีความเร็วบัสทีสงถึง 400 MHz และสามารถส่งถ่ายข้อมูลได้ถง ้ั ู่ ึ 800 MB ต่อวินาทีซงมากกว่า SDRAM ถึง 8 เท่าเลยทีเดียว แต่กลับมีขอเสียคือมีคา ่ึ ้ ่ ความหน่วง (Latency) ใกล้เคียงกับ SDRAM ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานไม่ได้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 5. แตกต่างไปจาก DDR SDRAM หรือ SDRAM มากนักและยังมีราคาแพงกว่ากันค่อน ข้างมาก นอกจากนีหากใส่ RAMBUS ไม่ครบแถว (RIMM) ต้องมีการใส่แถวหลอก ้ (RIMM PCB – Printed Circuit Board) ไว้ให้เต็มเพื่อให้ครบวงจรจึงจะสามารถ ใช้งานได้ RAMBUS ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ฮาร์ ด ดิ ส ก์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ม ี ห น้ า ที ่ ส ำหรั บ เก็ บ ข้ อ มู ล ที ่ ม ี ข นาดใหญ่ โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลสำหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมต่างๆ ซึ่งไม่สามารถเก็บไว้ในแผ่นฟล็อบปี้ดิสก์ที่มีความจุน้อยได้ ภายในฮาร์ดดิสก์ จะประกอบไปด้วยแผ่นจานโลหะแข็ง (Platter) วางซ้อนกันแต่จะไม่ติดกัน โดย จะมีแขนทีเป็นตัวเคลือนหัวอ่านเข้าไปอ่านและเขียนข้อมูลตามตำแหน่งทีตองการ ่ ่ ่ ้ และจะไม่มการสัมผัสกับแผ่นโดยตรงแต่จะมีชองว่างห่างกันประมาณ 10 ไมครอน ี ่ ทำให้การอ่านข้อมูลจากแผ่น Platter มีความเร็วสูงเนืองจากไม่มการเสียดสีทเี่ กิด ่ ี จากการสัมผัส โดยจะมีความเร็วรอบอยู่ 2 แบบคือ 5400/นาที และ 7200/นาที ฮาร์ดดิสก์แบบ IDE สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 6. นอกจากนี้ฮาร์ดดิสก์ยังมีแผ่นวงจรที่อยู่ด้านล่างเป็นตัวควบคุมการ หมุนของมอนิเตอร แขนที่เป็นตัวเคลื่อนหัวอ่าน และยังทำหน้าที่ติดต่อสื่อสาร โดยส่งผ่านข้อมูลไปยังเมนบอร์ดอีกด้วย ซึงแผ่นวงจรด้านล่างนีควรระวังอย่าไปวาง ่ ้ ไว้กับแผ่นโลหะหรืออุปกรณ์นำไฟฟ้าทุกชนิด เพราะจะทำให้เกิดการลัดวงจร ก่อให้เกิดความเสียหายกับตัวฮาร์ดดิสก์ได้ โดยเฉพาะการวางฮาร์ดดิสก์ไว้บน เคสแล้วเปิดการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหากเกิดปัญหาไฟรั่วขึ้นมา จะทำให้มีไฟฟ้าเข้ามาสู่ตัวเคสและผ่านไปยังฮาร์ดดิสก์ ทำให้แผ่นวงจรของ ฮาร์ดดิสก์อาจเสียหายได้ เนืองจากข้อจำกัดในการพัฒนามาตรฐานการเชือมต่อแบบเดิม ซึงเป็นแบบ ่ ่ ่ IDE/E-IDE แทบไม่มการพัฒนาความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลไปได้อก โดยหยุดไว้ท่ี ี ี ความเร็วสูงสุดเพียง 133 MB/s จึงทำให้บรรดาผูผลิตฮาร์ดดิสก์ได้ทำการพัฒนา ้ มาตรฐานของฮาร์ดดิสก์ใหม่ขนมา ซึงเรียกว่าเป็นฮาร์ดดิสก์แบบ Serial ATA โดยมี ้ึ ่ ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลถึง 150 MB/s และมีหน่วยความจำแคชถึง 8 MB ซึงจะ่ สามารถพัฒนาความเร็วได้ถง 300 MB/s และ 600 MB/s ในเวอร์ชนต่อๆ ไป นอกจาก ึ ่ั นีฮาร์ดดิสก์แบบ Serial ยังมีขอดีอกหลายๆ ด้าน เช่น ใช้สายเคเบิลทีใช้ในการ ้ ้ ี ้ ่ เชือมต่อแบบใหม่ทมขนาดเล็กและบางกว่าเดิม ทำให้การไหลเวียนของอากาศภาย ่ ่ี ี ในเคสดีขึ้นดูเป็นระเบียบมากขึ้น และตัวของฮาร์ดดิสก์มีความแข็งแรงมากขึ้น ไม่บอบบางหรือเสียหายง่ายเหมือนฮาร์ดดิสก์แบบ IDE ฮาร์ดดิสก์แบบ Serial ATA สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 7. จอภาพ (Monitor) จอภาพหรือจอมอนิเตอร์เป็นอุปกรณ์ทใช้ในการแสดงผลจากการทำงาน ่ี ของคอมพิวเตอร์ ซึงภายในมีวงจรและระบบการทำงานคล้ายกับเครืองรับโทรทัศน์ ่ ่ เกือบทุกอย่างแต่จะมีแผงวงจรที่ซับซ้อนน้อยกว่ามาก โดยจะแตกต่างกันตรง ทีโทรทัศน์มภาครับสัญญาณทีวี แต่จอมอนิเตอร์มเพียงภาครับสัญญาณดิจตอล ่ ี ี ิ จากการ์ดแสดงผลเท่านัน ปัจจุบนแนวโน้มจอมอนิเตอร์กำลังถูกจอ LCD เข้ามาเป็น ้ ั มาตรฐานใหม่แทนด้วยข้อดีหลายๆ อย่าง เช่น มีขนาดบางไม่กนเนือทีในการจัดวาง ิ ้ ่ มากนัก ไม่มรงสีสะท้อนรบกวนสายตา และประหยัดไฟมากกว่า เป็นต้น ีั จอภาพแบบ LCD การ์ดแสดงผล (Display Card) การ์ดแสดงผล หรือการ์ด VGA เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการนำข้อมูล แบบดิจตอลมาเปลียนเป็นสัญญาณภาพจ ากคอมพิวเตอร์แล้วนำไปแสดงผลออก ิ ่ ทางจอภาพ โดยใช้อนเทอร์เฟชแบบสล็อต AGP หรือ PCI Express ทำให้สามารถ ิ แสดงผลได้อย่างรวดเร็วและการ์ดแสดงผลในปัจจุบนมีการพัฒนาชิพสร้างกราฟิก 3 ั มิตไปอย่างรวดเร็ว ทำให้สามารถแสดงผลภาพกราฟิก 3 มิตได้อย่างสมจริงและสวย ิ ิ งามมากขึนกว่าในอดีต ้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 8. การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง (SoundCard) การ์ดเสียงหรือซาว์ดการ์ดที่หน้าที่ในการให้กำเนิดเสียงจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยต้องทำงานควบคู่ไปกับลำโพงด้วย ในปัจจุบันมักจะมีการนำ คอมพิ ว เตอร์ ม าใช้ ง านประเภทมั ล ติ ม ี เ ดี ย ที ่ ใ ห้ ค วามบั น เทิ ง ต่ า ง ๆ เช่ น ใช้ดหนังฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม งานเหล่านีตางก็ตองพึงพาระบบเสียง ู ้ ่ ้ ่ ที่ช่วยเพิ่มอรรถรสในการทำงานเหล่านี้ทั้งสิ้น ดังนั้นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงมีการติดตังระบบ เสียงให้กบคอมพิวเตอร์แทบทุกเครือง มีทงแบบ Sound On ้ ั ่ ้ั Board หรือแบบทีเป็นการ์ดโดยจะต้องนำมาติดตังลงบนสล็อตในเมนบอร์ด ่ ้ ปัญหาของการ์ดเสียงบางครังจะส่งผลกระทบกับเครืองคอมพิวเตอร์อย่าง ้ ่ คาดไม่ถึง และส่วนใหญ่จะเกิดจากตัวไดรเวอร์ของการ์ดเอง จนบางครั้งทำให้ วินโดวส์ไม่สามารถบูตเครืองหรือชัตดาวน์ได้ วิธแก้ปญหาคือต้องไปดาวน์โหลด ๊ ่ ี ั ไดรเวอร์เวอร์ชนใหม่มาติดตัง ่ั ้ การ์ดเสียง สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 9. ฟล็อบปีไ้ ดรฟ์ (Floopy Drive) ฟล็อบปีไดรฟ์เป็นอุปกรณ์ทมหน้าทีในการอ่านและบันทึกข้อมูลจากแผ่น ้ ่ี ี ่ ฟล็อบปี้ดิสก์ที่มีขนาด 3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 MB โดยจะมีหัวอ่านคอยเลื่อน เข้าไปอ่านข้อมูลจากแผ่นที่เคลือบสารแม่เหล็กของฟล็อบปี้ดิสก์ทั้งสองด้าน ซึงหัวอ่านนีจะมีการสัมผัสกับแผ่นแม่เหล็กโดยตรง จึงทำให้การอ่านข้อมูลไม่สามารถ ่ ้ อ่านได้รวดเร็วเหมือนฮาร์ดดิสก์โดยมีความเร็วประมาณ 300 รอบต่อนาทีเท่านัน ้ ฟล็อบปี้ไดรฟ์ ซีดรอมไดรฟ์ (CD-ROM Drive) ี ซีดีรอมไดรฟ์เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีเพียง อย่างเดียว ส่วนใหญ่จะใช้งานในด้านการติดตังระบบปฏิบตการหรือโปรแกรมต่างๆ ้ ั ิ รวมไปถึงงานทีเ่ กียวกับความบันเทิง เช่นดูหนัง ฟังเพลง และงานด้านมัลติมเี ดียด้วย ่ โดยมีหน่วยความเร็วในการอ่านข้อมูลเป็น X เช่น 48X หรือ 50X เป็นต้น ในปัจจุบน ั แทบจะเรียกได้วาคอมพิวเตอร์ทกเครืองจะต้องมีไดรฟ์ซดรอมอย่างน้อย หนึงไดรฟ์ ่ ุ ่ ี ี ่ เสมอ ซึงได้กลายเป็นมาตรฐานสำหรับเครืองคอมพิวเตอร์ในตอนนีแล้ว ่ ่ ้ ซีดีรอมไดรฟ์จะการอ่านข้อมูลด้วยความเร็วในการหมุนแผ่นที่ไม่คงที่ โดยที่จะอ่านข้อมูลที่อยู่วงนอกของแผ่นซีดีด้วยความเร็วสูงสุด และจะค่อยๆลด ความเร็วลงมาเมือมาอ่านข้อมูลทีอยูวงในสุด ส่วนใหญ่ซดรอมไดรฟ์จะอ่านข้อมูล ่ ่ ่ ี ี ที่อยู่ตรงกลางแผ่นซะส่วนมาก ทำให้ใช้ความเร็วเพียงแค่ไม่เกินครึ่งหนึ่งของ ความเร็วสูงสุดทีมเท่านัน ดังนันซีดรอมไดรฟ์สวนใหญ่จงไม่คอยทำงานทีความเร็ว ่ ี ้ ้ ี ่ ึ ่ ่ สูงสุดของไดรฟ์เท่าไหร่นก อย่างเช่นซีดรอมไดรฟ์ความเร็ว 50X จึงไม่ใช่ความเร็วใน ั ี การอ่านข้อมูลอย่างต่อเนื่อง แต่จะเป็นความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดี ทีอยูวงนอกสุด หลังจากนันจะค่อยลดความเร็วลงมาเมือมาอ่านข้อมูลทีอยูวงในด้วย ่ ่ ้ ่ ่ ่ ความเร็ว ทีไม่เกินครึงหนึงของไดรฟ์กจะประมาณ 20-25X เท่านัน ่ ่ ่ ็ ้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 10. เมาส์และคีย์บอร์ด เมาส์และคียบอร์ดเป็นอุปกรณ์สำหรับทำหน้าทีในการป้อนข้อมูลจากผูใช้ ์ ่ ้ เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่หากเมาส์และคีย์บอร์ดเสียจะไม่นิยมซ่อม เพราะเดียวนีเ้ มาส์และคียบอร์ดมีราคาไม่แพง ถ้ามัวแต่มานังซ่อมจะไม่คมกับเวลา ๋ ์ ่ ุ้ ทีเสียไป ่ เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย เคสที่ขายในบ้านเรามักมีเพาเวอร์ซัพพลายติดมาด้วยเสมอจนเป็นของ คู่กัน โดยเคสจะมีลักษณะเป็นกล่องเหล็กสี่เหลี่ยมผืนฟ้าใช้สำหรับเป็นที่เก็บ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นเมนบอร์ด ซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง รวมถึงสายแพเชือมต่อต่างๆ ส่วนเพาเวอร์ซพพลายนันจะมี ่ ั ้ หน้าทีในการแปลงไฟและจ่ายกระแสไฟให้กบอุปกรณ์ทอยูในเคส ่ ั ่ี ่ ผู้ใช้หลายคนส่วนใหญ่มักไม่ค่อยให้ความสำคัญกับเพาเวอร์ซัพพลาย เท่าไหร่ แต่หารูไม่วาปัญหาทีเ่ กิดกับฮาร์ดดิสก์ และอุปกรณ์ตางๆ บางครังมักมีสาเหตุ ้ ่ ่ ้ มาจากเพาเวอร์ซัพพลาย หากเพาเวอร์ซัพพลายเสียส่วนใหญ่จะสามารถซ่อม ได้โดยการเปลียนฟิวส์ หม้อแปลง หรือเปลียนอะไหล่ ่ ่ เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 11. ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง การประกอบเครืองคอมพิวเตอร์ดวยตนเอง ปัจจุบนไม่ใช่เรืองยากอีกต่อไป ่ ้ ั ่ ซึงเราสามารถหัดประกอบด้วยตนเองได้ โดยมีขนตอน ดังนี้ ่ ้ั 1. ขันแรกให้เตรียมอุปกรณ์ทจำเป็นสำหรับการประกอบเครืองคอมพิวเตอร์ ้ ่ี ่ เช่น ไขควงสีแฉก กล่องสำหรับใส่นอต คูมอเมนบอร์ด คีมปากจิงจก ่ ็ ่ ื ้ 2. เริมจากการติดตังซีพยกอน โดยง้างขาล็อคของซ็อกเก็ตขึนมาจากนัน ่ ้ ี ู ่ ้ ้ นำซีพยมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ตโดยให้วางตำแหน่งขาที่ 1 ของซีพยและซ็อกเก็ตให้ตรง ีู ีู กัน โดยสังเกตว่าทีขาที่ 1 ของซีพยจะทำเครืองหมายเป็นจุดเล็กไว้ทมมด้านบนของ ่ ีู ่ ่ี ุ ซีพยู ี สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 12. 3. เมือวางซีพยตรงล็อคกับซ็อกเก็ตแล้ว จากนันให้กดขาล็อกลงไปเหมือน ่ ี ู ้ เดิม แล้วนำซิลโคนมาทาตรงบริเวณคอร์ (แกน) ของซีพยู และไม่ควรทาซิลโคนให้ ิ ี ิ หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใช้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกมาปาดออกเสียบ้าง 4. ติดตั้งฮีทซิงค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกให้เรียบร้อย ในขันตอนนีมจดทีตองระวังอยู่ 2 จุดคือ การติดตังฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบ ้ ้ ีุ ่ ้ ้ สนิทกับคอร์ของซีพยู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของซีพยอาจบินได้ ส่วนขา ี ีู ่ สปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริง ให้เข้าล็อก ซึงอาจทำให้พลาดไปขูดเอาลายปรินบนเมนบอร์ดขาดทำให้เมนบอร์ด ่ ้ อาจเสียหายได้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 13. 5. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขัว CPU FAN โดยดูจากคูมอเมนบอร์ด ้ ่ ื 6. นำแรมมาเสียบเข้ากับซ็อกเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อกเก็ต จากนัน ้ จึงกดลงไปจนด้านล็อกทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้าน อาจไม่จำเป็นต้องดีดขึนมาก็ได้ให้ดวาเข้าล็อกกันก็พอ) ้ ู่ 7. ขันแท่นรองน็อตเข้ากับเคส สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 14. 8. นำเมนบอร์ดทีได้ตดตังซีพยและแรมวางลงไปบนเคส จากนันขันน็อตยึด ่ ิ ้ ีู ้ เมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสให้ครบทุกตัว 9. เสียบการ์ดแสดงผลลงไปในสล็อต AGP เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 15. 10. เสียบการ์ดเสียงลงไปในสล็อต PCI เสร็จแล้วขันน็อตยึดติดกับเคส 11. เสียบสายเพาเวอร์ซพพลายเข้ากับขัวต่อบนเมนบอร์ด โดยควรเสียบให้ ั ้ ปลักของสายเพาเวอร์ซพพลายตรงล็อกกับขัวต่อบนเมนบอร์ด ๊ ั ้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 16. 12. สอดไดรฟ์ซีดีรอมเข้ากับช่องว่างหน้าเคส แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส ให้แน่น 13. เสียบสาย IDE เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอมโดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือด้านทีตดกับขัวสายไฟ จากนันจึงเสียบสายไฟและสายสัญญาณเสียงเข้าไปด้วย ่ิ ้ ้ 14. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขั้วต่อ Secondary IDE บนเมนบอร์ด โดยแถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขัวต่อด้วย ้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 17. 15. สอดฮาร์ดดิสก์เข้ากับช่องติดตัง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคสให้แน่น ้ 16. เสียบสาย IDE เข้ากับฮาร์ดดิสก์โดยให้แถบสีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือด้าน ทีตดกับขัวสายไฟ จากนันจึงเสียบสายไฟเข้าไปด้วย ่ ิ ้ ้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 18. 17. เสียบสาย IDE อีกด้านเข้ากับขัวต่อ Primary IDE บนเมนบอร์ด โดยแถบ ้ สีแดงตรงกับขาที่ 1 ของขัวต่อด้วย ้ 18. สอดไดรฟ์ฟล็อบปีดสก์เข้าไปในช่องติดตัง แล้วขันน็อตยึดกับตัวเคส ้ ิ ้ ให้แน่น สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 19. 19. เสียบสายไฟเข้ากับขัวต่อสายไฟของฟล็อบปีดสก์ ให้สงเกตสายไฟของ ้ ้ ิ ั ฟล็อบปีดสก์จะมีหวขนาดเล็กกว่าสายไฟของซีดรอมและฮาร์ดดิสก์) ้ ิ ั ี 20. เสียบสายแพขนาด 34 เส้น (เส้นเล็กกว่าสายแพของฮาร์ดดิสก์ และซีดรอม) ให้ดานทีมการไขว้สายเข้ากับขัวต่อไดรฟ์ฟล็อบปีดสก์ โดยแถบสีแดง ี ้ ่ ี ้ ้ ิ ของสายแพต้องตรงกับขาที่ 1 ของขั้วต่อด้วย หากใส่ผิดด้านไฟของไดรฟ์ ฟล็อบปีดสก์จะติดตลอด วิธแก้ไขคือให้หนสายแพกลับด้านเพราะไดรฟ์ฟล็อบปีดสก์ ้ิ ี ั ้ิ บางยีหออาจต้องใส่สลับด้านกัน ่ ้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 20. 21. เสียบสายแพอีกด้านเข้ากับขัวต่อฟล็อบปีดสก์บนเมนบอร์ด โดยให้สาย ้ ้ ิ สีแดงตรงกับขาที่ 1 หรือ pin1 ของขัวต่อด้วย ้ 22. เสียบสายสัญญาณต่างๆ จากเคส เช่น สวิตช์เปิดปิดเครื่อง ไฟบอก สถานะเปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะฮาร์ดดิสก ปุ่ม Reset ลำโพง ลงบนเมนบอร์ด ควรดูคมอเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขัวให้ถกหากผิดขัว คอมพิวเตอร์ ู่ ื ้ ู ้ จะไม่ตดหรือมีไฟค้างตลอดเวลา วิธแก้ไขคือให้เราลองสลับขัวและเปิดเครืองขึน ิ ี ้ ่ ้ มาใหม่ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 21. 23. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองสำรวจดูว่ามีน็อตหรืออุปกรณ์อื่นๆ ตกค้างอยูบนเมนบอร์ดหรือไม่ เพราะอาจทำให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความ ่ เสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณ์ตางๆ บนเมนบอร์ดได้ นอกจากนีควรตรวจสอบ ่ ้ การติดตั้งทั้งหมดว่าเรียบร้อยดีแล้ว เช่น การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบ แน่นหนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพยู พร้อมทังล็อก ี ้ ติดกันอย่างแน่นหนา 24. เมือเรียบร้อยดีแล้วปิดฝาเคสและขันน็อตให้เรียบร้อย ก็เป็นอันเสร็จสิน ่ ้ ขันตอนการประกอบเครืองอย่างถูกต้องและสมบูรณ์แบบแล้ว ้ ่ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 22. ประกอบเครื่องเสร็จแล้ว แต่กลับไม่สามารถบู๊ตเครื่อง ขึ้นมาได้เพราะมองเห็นฮาร์ดดิสก์ จะแก้ไขอย่างไร หลังจากทีประกอบเครืองเสร็จแล้ว ต้องมีการกำหนดค่าไบออสให้รจกกับ ่ ่ ู้ ั ฮาร์ดดิสก์ทตดตังในเครืองคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบนเมนบอร์ดรุนใหม่ไม่จำเป็น ่ี ิ ้ ่ ั ่ ต้องเข้าไปกำหนดค่าในไบออสแล้ว เพราะไบออสจะรูจกฮาร์ดดิสก์เองโดยอัตโนมัติ ้ั แต่หากเป็นเมนบอร์ดรุนเก่าให้เข้าไปกำหนดค่าไบออสทีหวข้อ IDE HDD Auto ่ ่ ั Detection เพือให้ไบออสตรวจสอบค่าทีเ่ หมาะสมให้โดยอัตโนมัติ แต่หากต้องการ ่ กำหนดเองก็สามารถเข้าไปกำหนดค่าได้ที่หัวข้อ Standard CMOS Setup โดยให้เราใส่คา Head, Cylinder, Sector ของฮาร์ดดิสก์นนลงไปให้ถกต้อง ่ ้ั ู อีกสาเหตุหนึงทีทำให้คอมพิวเตอร์มองไม่เห็นฮาร์ดดิสก์เนืองจากการเซ็ต ่ ่ ่ จัมเปอร์ไม่ถกต้อง ซึงเราสามารถดูการเซ็ตจัมเปอร์ทถกต้องได้บนตัวฮาร์ดดิสก์ ทีสวน ู ่ ่ี ู ่่ ใหญ่ทางผูผลิตฮาร์ดดิสก์จะติดสติกเกอร์บอกตำแหน่งการเซ็ตจัมเปอร์ทถกต้องมาให้ ้ ๊ ่ี ู ด้วย นอกจากนีให้ตรวจสอบการเชือมต่อของสายสัญญาณต่างๆ เช่น สาย IDE และ ้ ่ สายไฟว่ามีการหลุดหลวมหรือไม่ หากพบว่ามีกให้ทำการเชือมต่อให้แน่น และควร ็ ่ ตรวจสอบด้วยว่าเสียบสายสัญญาณถูกต้องตรงขัวหรือไม่ดวย ้ ้ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA
  • 23. ขาล็อกของฮีตซิงค์แข็งมาก ไม่สามารถล็อกเข้ากับ ซ็อกเก็ตของซีพียูได้ จะแก้ปัญหาอย่างไร ขาล็อกของฮีตซิงค์ทมขนาดใหญ่สวนมากจะมีความแข็งแรงมาก ทำให้มอ ่ี ี ่ ื ใหม่ทเพิงหัดประกอบเครืองอาจไม่สามารถติดตังได้ วิธการแก้ปญหานีกคอการ ่ี ่ ่ ้ ี ั ้ ็ ื ใช้ด้ามพลาสติกที่มีความแข็งแรงหรือปลายไขควงขนาดเล็ก งัดเกี่ยวขาล็อก ฮีตซิงค์ให้เข้ากับซ็อกเก็ตของซีพยูี อย่างไรก็ตามการใช้ไขควรงัดเกียวขาล็อกของฮีตซิงค์จำเป็นต้องทำด้วย ่ ความระมัดระวัง เพราะหากพลาดพลั้งอาจทำให้ปลายของไขควรไปขูดเข้ากับ ลายปรินซ์บนเมนบอร์ดฉีกขาด ทำให้เกิดความเสียหายต่อตัวเมนบอร์ดได้ ทางทีดี ่ แนะนำให้ใช้ดามพลาสติกทีมความแข็งแรงมากๆ หน่อยจะดีกว่าการใช้ไขควงครับ ้ ่ ี เพราะหากไม่ชำนาญส่วนใหญ่หลายคนจะพลาดในส่วนนีแทบทังสินครับ ้ ้ ้ หากเมนบอร์ดเกิดความเสียหายจากการทีถกไขควรขูดเอาลายปรินซ์ฉก ่ ู ี ขาด เราสามารถนำเมนบอร์ดไปเชือมต่อลายปรินซ์ใหม่ได้ ซึงอาจต้องเสียค่าใช้จาย ่ ่ ่ บ้าง แต่เมือเทียบกับเมนบอร์ดราคาแพงแล้วเชือว่ายังคุมค่าอยูครับ ่ ่ ้ ่ สำนักพิมพ์ eXP MEDIA