SlideShare a Scribd company logo
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างภายในของโลก สามารถสรุปเป็นชั้นต่างๆ สาคัญ ดังนี้
เปลือกโลก คือ ส่วนที่อยู่ชั้นนอกสุดของโลก มีทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินและน้าที่มองเห็นอยู่ภายนอกกับส่วนที่
เป็นหินแข็งฝังลึกลงไป
แมนเทิล คือ ส่วนที่อยู่ถัดลงไปจากเปลือกโลกหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร บางส่วนของชั้นนี้มีหินเหลว
หนืดและร้อนจัดประกอบด้วยธาตุต่างๆ
แก่นชั้นนอก คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในของโลก มีความหนาประมาณ 2,250 กิโลเมตร
แก่นชั้นใน คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 1,230
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 แผ่นเปลือกโลกเปลือกโลกมีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า เพลต (Plate) ซึ่งมีอยู่ประมาณ
20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย
เพลตแอฟริกา เพลตอินโดออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก เป็นต้น เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัว
เปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลา ดังภาพ
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 การเกิดแผ่นดินไหวความร้อนจากแก่นโลกนอกจากจะทาให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ได้แล้ว ยังทาให้เปลือกโลก
ส่วนล่างขยายตัวได้มากกว่าผิวด้านบน ทั้งนี้เพราะผิวโลกมีอุณหภูมิต่ากว่าแก่นโลกมาก นอกจากนี้บริเวณผิวโลก
ยังมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยู่ตลอดเวลา สาเหตุดังกล่าวนี้ทาให้เปลือกโลกมีการขยายตัวและหดตัวไม่
สม่าเสมอ อิทธิพลนี้จะส่งผลกระทบต่อรอยแตกในชั้นหินและรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกโดยตรง คือรอยต่อ
ระหว่างแผ่นเปลือกโลกบางแห่งอาจแยกห่างออก บางแห่งเคลื่อนที่เข้าชนกัน การชนกันหรือแยกออกจากกันของ
เปลือกโลกอาจทาให้เปลือกโลกบางส่วนในบริเวณนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน เช่น เปลือกโลกเกิดการทรุด
ตัวหรือยุบตัวลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 ภูเขาไฟหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกนั้นมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก หินหนืดจะถูกแรงดันอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่
ผิวโลกโดยมีแรงปะทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น เรียกว่าการเกิดภูเขาไฟ แรงอัดที่ถูกปล่อยออกมาจะบ่งบอกถึงความ
รุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ หินหนืดที่พุ่งขึ้นมาจากการระเบิดของภูเขาไฟนี้เรียกว่า ลาวาซึ่งจะไหลลงสู่
บริเวณที่อยู่ระดับต่ากว่าและสร้างความเสียหายให้แก่มนุษย์สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากนอกจากหิน
หนืดที่พุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟแล้วยังมีสิ่งอื่นปะปนออกมาอีกมากมายมีทั้งไอน้าฝุ่นละอองเศษหินและก๊าซ
ต่างๆเช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แก็สไนโตรเจนเป็นต้นนอกจากนี้นักธรณีวิทยาสังเกตพบว่าก่อนที่ภูเขาไฟจะ
ระเบิดมักมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นก่อน ทั้งนี้เพราะเปลือกโลกบริเวณนั้นอาจมีจุดอ่อน
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 1. การคดโค้งโก่งงอการคดโค้งโก่งงอ เกิดจากแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่ชนกันด้วยแรงดันมหาศาลทาให้ชั้น
หินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกันเกิดการคดโค้งโก่งงอ แต่การเกิดรอยคดโค้งโก่งงอจะใช้เวลาเป็นพันปีและ
ต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่อง รอยคดโค้ดโก่งงอของชั้นหินเกิดติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างกินพื้นที่มากจะ
กลายเป็นเทือกเขา
 2. การยกตัวและการยุบตัวการยกตัวและการยุบตัว เกิดจากพลังงานที่สะสมอยู่ภายในเปลือกโลก จะเริ่มแตกและ
แยกออกจากกันในทิศทางที่เป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทาให้เกิดรอยเลื่อนในลักษณะต่าง ๆ เช่น การยกตัวของแผ่น
เปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า Block Mountain
 3. การผุพังอยู่กับที่การผุพังอยู่กับที่เป็นกระบวนการที่ทาให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลง
ขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่สลายตัว ปัจจัยทาให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้ปัจจัยทางกายภาพ เกิด
จากน้าที่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตกเมื่อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเวลากลางคืน
อากาศเย็นจัด น้าจะกลายเป็นน้าแข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ดันรอยแยกให้ขยายตัวมากขึ้น ทาให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่าง
แตก และเมื่อถึงตอนกลางวันน้าแข็งละลาย น้านะแทรกไปตามรอยแตกใหม่ จะเกิดเป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ
จนในที่สุดเกิดการผุพังเกิดขึ้นปัจจัยทางเคมี
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 4. การกร่อนการกร่อน เป็นการพังทลายของชั้นหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้า ลาธาร ธารน้าแข็ง คลื่น เป็นต้น
 5. การพัดพาและทับถมดิน หิน เมื่อเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้าหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ากว่า เกิดการทับถมเป็นลักษณะ
ต่างๆ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา เกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้า เกิดเป็นดินดอนปากแม่น้า เป็นต้น
คาถามท้ายบท
1.ภูเขาที่เป็นแนวยาว มียอดแหลม มักจะเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกแบบใด
ก.folding ข.faulting
ค.Volcanism ง.Aggradation
2.ภูเขาประเภทใดที่มีสาเหตุการเกิดแตกต่างจากภูเขาประเภทอื่น
ก.ภูเขาคดโค้ง ข.ภูเขาบล็อก ค.ภูเขารูปโดม ง.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ
3.Bat5holith เป็นชื่อของอะไร
ก.ภูเขา ข.หินอัคนีภายใน ค.แมกมา ง.ที่ราบสูง
4.หินเปลือกโลกที่เลื่อนตัวสูงขึ้น เรียกว่าอะไร
ก.Anticline ข.Graben ค.Horst ง.Faulting
5.ภูเขาประเภทใดจัดเป็นภูเขาหินบะซอลต์
ก.ภูเขารูปบล็อก ข.ภูเขาคดโค้ง ค.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ ง.ภูเขารูปโดม
6.ลักษณะในข้อใดพบมากในภูเขาหินปูน
ก.ถ้าหินงอกหินย้อย ข.น้าตก ค.การพังทลายบ่อยครั้ง ง.การมีแร่ธาตุจานวนมาก
คาถามท้ายบท
7. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของหินอยู่บริเวณ
ดังกล่าวเป็นอย่างไร ?
ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ง. ข้อ ข และ ค ถูก
8. เทือกเขากลางมหาสมุทรเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
ก ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน
ข. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
ค. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
ง. ถูกทุกข้อ
9.สาเหตุที่ทาให้เกิดเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย คือ ข้อใด
ก.การเกิดรอยเลื่อนแบบปกติ ข.การเกิดรอยเลื่อนแบบย้อน ค.การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก ง.การ
เคลื่อนที่แยกออกจากกันของ
คาถามท้ายบท
10. ภูเขาหินแกรนิตเกิดจากกระบวนการตามข้อใด
ก.การเย็นตัวของหินหนืดใต้เปลือกโลกก่อนที่จะออกมาสู่เปลือกโลก
ข. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ชนกัน
ค. แผ่นดินยกตัวขึ้นเนื่องจากแรงดันของหินหนืด
ง. การที่เปลือกโลกถูกบีบอัดจนโค้งงอ
11. ข้อใดเป็นภูเขาที่เกิดจากการสึกกร่อนของเปลือกโลก
ก. เทือกเขาภูพาน ข.ภูกระดึง ค. ภูเขาหิมาลัย ง. ภูเขาตะนาวศรี
12.ภูเขาเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก.เกิดจากแผ่นเปลือกโลกขยับตัวเข้าหากัน
ข.เกิดจากแผ่นดินยกตัวสูงขึ้นและเกิดจากลาวาและหินเถ้าถ่าน
ค.เกิดจากเทือกเขาชนกัน
ง.เกิดจากหินหนืดดันตัวขึ้นมา
คาถามท้ายบท
14.เขาโดด เป็นลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากตัวการใด
ก.คลื่น ข.ธารน้าแข็ง ค.แสงอาทิตย์ ง.น้า ลม
15.ภูเขาและเทือกเขาส่วนใหญ่มีลักษณะการเกิดแบบใด?
ก.การเกิดแผ่นดินไหว ข.พลังงานจากภูเขาไฟ ค.การโก่งตัวของเปลือกโลก ง.การเลื่อนตัวของหินเปลือกโลก
16.เทือกเขาแอลป์ ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีภาคใด?
ก.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ข.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร
ง.แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
17.การเกิดเทือกเขาเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก.การพัดพาของกระแสน้าแล้วทาให้เกิดการทับถม
ข.แผ่นดินถล่ม
ค.แผ่นดินไหว
ง.การบิดโค้งงอของชั้นหิน
คาถามท้ายบท
18.หลักฐานในข้อใดที่แสดงว่าภูเขานั้นๆเคยเป็นทะเลมาก่อน
ก.มีเปลือกหอยบนภูเขา
ข.มีหินชั้น
ค.มีซากดึกดาบรรพ์
ง.ทั้งข้อ ก ข และ ค
19.วิธีการที่ทาให้เกิดเทือกเขา(Mountain Range) เรียกว่าอะไร
ก.Geology ข.Grography ค.Orogeny ง.แผ่นดินถล่ม
20.ขบวนการเกิดภูเขาอาจเกิดจากสาเหตุใดบ้าง
ก.เกิดจากการบิดโค้งตัวของชั้นหิน
ข.เกิดจากรอยเลื่อนของชั้นหิน
ค.เกิดจาก Mud flow
ง.ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข

More Related Content

What's hot

รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
Wan Ngamwongwan
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
Nattapong Boonpong
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Mayuree Paitoon
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
Aj.Mallika Phongphaew
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
ส.อ.ราชนาวี มณีรัตน์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
Thanuphong Ngoapm
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 

What's hot (20)

รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 

Similar to โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
soysuwanyuennan
 
blue illustrative playful the solar system presentation (3).pdf
blue illustrative playful the solar system presentation (3).pdfblue illustrative playful the solar system presentation (3).pdf
blue illustrative playful the solar system presentation (3).pdf
viewRotsarin
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
พัน พัน
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
ttt ttt
 

Similar to โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1) (8)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
blue illustrative playful the solar system presentation (3).pdf
blue illustrative playful the solar system presentation (3).pdfblue illustrative playful the solar system presentation (3).pdf
blue illustrative playful the solar system presentation (3).pdf
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 

โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)

  • 1. โลกและการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างภายในของโลก สามารถสรุปเป็นชั้นต่างๆ สาคัญ ดังนี้ เปลือกโลก คือ ส่วนที่อยู่ชั้นนอกสุดของโลก มีทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินและน้าที่มองเห็นอยู่ภายนอกกับส่วนที่ เป็นหินแข็งฝังลึกลงไป แมนเทิล คือ ส่วนที่อยู่ถัดลงไปจากเปลือกโลกหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร บางส่วนของชั้นนี้มีหินเหลว หนืดและร้อนจัดประกอบด้วยธาตุต่างๆ แก่นชั้นนอก คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในของโลก มีความหนาประมาณ 2,250 กิโลเมตร แก่นชั้นใน คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 1,230
  • 2. โลกและการเปลี่ยนแปลง  แผ่นเปลือกโลกเปลือกโลกมีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า เพลต (Plate) ซึ่งมีอยู่ประมาณ 20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโดออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก เป็นต้น เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัว เปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลา ดังภาพ
  • 3. โลกและการเปลี่ยนแปลง  การเกิดแผ่นดินไหวความร้อนจากแก่นโลกนอกจากจะทาให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ได้แล้ว ยังทาให้เปลือกโลก ส่วนล่างขยายตัวได้มากกว่าผิวด้านบน ทั้งนี้เพราะผิวโลกมีอุณหภูมิต่ากว่าแก่นโลกมาก นอกจากนี้บริเวณผิวโลก ยังมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยู่ตลอดเวลา สาเหตุดังกล่าวนี้ทาให้เปลือกโลกมีการขยายตัวและหดตัวไม่ สม่าเสมอ อิทธิพลนี้จะส่งผลกระทบต่อรอยแตกในชั้นหินและรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกโดยตรง คือรอยต่อ ระหว่างแผ่นเปลือกโลกบางแห่งอาจแยกห่างออก บางแห่งเคลื่อนที่เข้าชนกัน การชนกันหรือแยกออกจากกันของ เปลือกโลกอาจทาให้เปลือกโลกบางส่วนในบริเวณนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน เช่น เปลือกโลกเกิดการทรุด ตัวหรือยุบตัวลง
  • 4. โลกและการเปลี่ยนแปลง  ภูเขาไฟหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกนั้นมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก หินหนืดจะถูกแรงดันอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่ ผิวโลกโดยมีแรงปะทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น เรียกว่าการเกิดภูเขาไฟ แรงอัดที่ถูกปล่อยออกมาจะบ่งบอกถึงความ รุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ หินหนืดที่พุ่งขึ้นมาจากการระเบิดของภูเขาไฟนี้เรียกว่า ลาวาซึ่งจะไหลลงสู่ บริเวณที่อยู่ระดับต่ากว่าและสร้างความเสียหายให้แก่มนุษย์สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากนอกจากหิน หนืดที่พุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟแล้วยังมีสิ่งอื่นปะปนออกมาอีกมากมายมีทั้งไอน้าฝุ่นละอองเศษหินและก๊าซ ต่างๆเช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แก็สไนโตรเจนเป็นต้นนอกจากนี้นักธรณีวิทยาสังเกตพบว่าก่อนที่ภูเขาไฟจะ ระเบิดมักมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นก่อน ทั้งนี้เพราะเปลือกโลกบริเวณนั้นอาจมีจุดอ่อน
  • 5. โลกและการเปลี่ยนแปลง  1. การคดโค้งโก่งงอการคดโค้งโก่งงอ เกิดจากแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่ชนกันด้วยแรงดันมหาศาลทาให้ชั้น หินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกันเกิดการคดโค้งโก่งงอ แต่การเกิดรอยคดโค้งโก่งงอจะใช้เวลาเป็นพันปีและ ต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่อง รอยคดโค้ดโก่งงอของชั้นหินเกิดติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างกินพื้นที่มากจะ กลายเป็นเทือกเขา  2. การยกตัวและการยุบตัวการยกตัวและการยุบตัว เกิดจากพลังงานที่สะสมอยู่ภายในเปลือกโลก จะเริ่มแตกและ แยกออกจากกันในทิศทางที่เป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทาให้เกิดรอยเลื่อนในลักษณะต่าง ๆ เช่น การยกตัวของแผ่น เปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า Block Mountain  3. การผุพังอยู่กับที่การผุพังอยู่กับที่เป็นกระบวนการที่ทาให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลง ขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่สลายตัว ปัจจัยทาให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้ปัจจัยทางกายภาพ เกิด จากน้าที่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตกเมื่อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเวลากลางคืน อากาศเย็นจัด น้าจะกลายเป็นน้าแข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ดันรอยแยกให้ขยายตัวมากขึ้น ทาให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่าง แตก และเมื่อถึงตอนกลางวันน้าแข็งละลาย น้านะแทรกไปตามรอยแตกใหม่ จะเกิดเป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดเกิดการผุพังเกิดขึ้นปัจจัยทางเคมี
  • 6. โลกและการเปลี่ยนแปลง  4. การกร่อนการกร่อน เป็นการพังทลายของชั้นหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้า ลาธาร ธารน้าแข็ง คลื่น เป็นต้น  5. การพัดพาและทับถมดิน หิน เมื่อเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้าหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ากว่า เกิดการทับถมเป็นลักษณะ ต่างๆ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา เกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้า เกิดเป็นดินดอนปากแม่น้า เป็นต้น
  • 7. คาถามท้ายบท 1.ภูเขาที่เป็นแนวยาว มียอดแหลม มักจะเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกแบบใด ก.folding ข.faulting ค.Volcanism ง.Aggradation 2.ภูเขาประเภทใดที่มีสาเหตุการเกิดแตกต่างจากภูเขาประเภทอื่น ก.ภูเขาคดโค้ง ข.ภูเขาบล็อก ค.ภูเขารูปโดม ง.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ 3.Bat5holith เป็นชื่อของอะไร ก.ภูเขา ข.หินอัคนีภายใน ค.แมกมา ง.ที่ราบสูง 4.หินเปลือกโลกที่เลื่อนตัวสูงขึ้น เรียกว่าอะไร ก.Anticline ข.Graben ค.Horst ง.Faulting 5.ภูเขาประเภทใดจัดเป็นภูเขาหินบะซอลต์ ก.ภูเขารูปบล็อก ข.ภูเขาคดโค้ง ค.ภูเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ ง.ภูเขารูปโดม 6.ลักษณะในข้อใดพบมากในภูเขาหินปูน ก.ถ้าหินงอกหินย้อย ข.น้าตก ค.การพังทลายบ่อยครั้ง ง.การมีแร่ธาตุจานวนมาก
  • 8. คาถามท้ายบท 7. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของหินอยู่บริเวณ ดังกล่าวเป็นอย่างไร ? ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก ง. ข้อ ข และ ค ถูก 8. เทือกเขากลางมหาสมุทรเกิดขึ้นได้อย่างไร ? ก ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน ข. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน ค. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน ง. ถูกทุกข้อ 9.สาเหตุที่ทาให้เกิดเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย คือ ข้อใด ก.การเกิดรอยเลื่อนแบบปกติ ข.การเกิดรอยเลื่อนแบบย้อน ค.การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก ง.การ เคลื่อนที่แยกออกจากกันของ
  • 9. คาถามท้ายบท 10. ภูเขาหินแกรนิตเกิดจากกระบวนการตามข้อใด ก.การเย็นตัวของหินหนืดใต้เปลือกโลกก่อนที่จะออกมาสู่เปลือกโลก ข. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ชนกัน ค. แผ่นดินยกตัวขึ้นเนื่องจากแรงดันของหินหนืด ง. การที่เปลือกโลกถูกบีบอัดจนโค้งงอ 11. ข้อใดเป็นภูเขาที่เกิดจากการสึกกร่อนของเปลือกโลก ก. เทือกเขาภูพาน ข.ภูกระดึง ค. ภูเขาหิมาลัย ง. ภูเขาตะนาวศรี 12.ภูเขาเกิดขึ้นได้อย่างไร ก.เกิดจากแผ่นเปลือกโลกขยับตัวเข้าหากัน ข.เกิดจากแผ่นดินยกตัวสูงขึ้นและเกิดจากลาวาและหินเถ้าถ่าน ค.เกิดจากเทือกเขาชนกัน ง.เกิดจากหินหนืดดันตัวขึ้นมา
  • 10. คาถามท้ายบท 14.เขาโดด เป็นลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากตัวการใด ก.คลื่น ข.ธารน้าแข็ง ค.แสงอาทิตย์ ง.น้า ลม 15.ภูเขาและเทือกเขาส่วนใหญ่มีลักษณะการเกิดแบบใด? ก.การเกิดแผ่นดินไหว ข.พลังงานจากภูเขาไฟ ค.การโก่งตัวของเปลือกโลก ง.การเลื่อนตัวของหินเปลือกโลก 16.เทือกเขาแอลป์ ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีภาคใด? ก.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร ข.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป ค.แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร ง.แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป 17.การเกิดเทือกเขาเกิดขึ้นได้อย่างไร ก.การพัดพาของกระแสน้าแล้วทาให้เกิดการทับถม ข.แผ่นดินถล่ม ค.แผ่นดินไหว ง.การบิดโค้งงอของชั้นหิน
  • 11. คาถามท้ายบท 18.หลักฐานในข้อใดที่แสดงว่าภูเขานั้นๆเคยเป็นทะเลมาก่อน ก.มีเปลือกหอยบนภูเขา ข.มีหินชั้น ค.มีซากดึกดาบรรพ์ ง.ทั้งข้อ ก ข และ ค 19.วิธีการที่ทาให้เกิดเทือกเขา(Mountain Range) เรียกว่าอะไร ก.Geology ข.Grography ค.Orogeny ง.แผ่นดินถล่ม 20.ขบวนการเกิดภูเขาอาจเกิดจากสาเหตุใดบ้าง ก.เกิดจากการบิดโค้งตัวของชั้นหิน ข.เกิดจากรอยเลื่อนของชั้นหิน ค.เกิดจาก Mud flow ง.ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข