SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
สมาชิกในกลุ่ม
1. นาย อนวรรา ทิวาพัฒน์ ม. 4/2 เลขที่ 3
2. นางสาว พิทยาภรณ์ โรจน์ทนงค์ ม.4/2 เลขที่ 12
3. นางสาว ศิโรรัตน์ สังวังเลาว์ ม.4/2 เลขที่ 31
คานา
รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ศึกษาความรู้ในเรื่อง การใช้อินเทอร์เน็ต
อย่างปลอดภัย และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับ
การเรียน
ผู้จัดทาหวังว่า รางงานฉบับนี้เป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือ
นักเรียนโรงเรียนรัษฎา ที่กาลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมี
ข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขออภัย ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
การใช้งานอินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
หลักการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
ในปัจจุบันมีผู้ใช้บริการ บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้เพิ่มมากขึ้น
เรื่อยๆทั่วโลก เพราะเป็นช่องทางที่สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่าง
รวดเร็ว รวมถึงธุรกิจและพาณิชย์ในด้านต่างๆ ช่วยในเรื่องการลดระยะเวลาและ
ต้นทุนในการติดต่อสื่อสาร แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้โดยทั่วไป ยังไม่เห็นความสาคัญ ของ
การใช้งานอินเทอร์เน็ตที่ปลอดภัยเท่าที่ควร เนื่องจากยังขาดความรู้ในการใช้งานและ
วิธีป้ องกัน หรืออาจคิดว่าคงไม่มีปัญหาอะไรมาก ในการใช้งาน แต่เมื่อเกิดปัญหา
ขึ้นกับตัวเองแล้ว ก็ทาให้ตนเองเดือดร้อน เราสามารถป้ องกันปัญหาเหล่านี้ได้ ดังนี้
1 ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว
2 ไม่ส่งหลักฐานส่วนตัวของตนเองและคนในครอบครัวให้ผู้อื่น เช่น สาเนาบัตร
ประชาชน เอกสารต่างๆ รวมถึงรหัสบัตรต่างๆ เช่น เอทีเอ็ม บัตรเครดิต ฯลฯ
3 ไม่ควรโอนเงินให้ใครอย่างเด็ดขาด นอกจากจะเป็นญาติสนิทที่เชื่อใจได้จริงๆ
4 ไม่ออกไปพบเพื่อนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต เว้นเสียแต่ว่าได้รับอนุญาตจากพ่อ
แม่ผู้ปกครอง และควรมีผู้ใหญ่หรือเพื่อนไปด้วยหลายๆ คน เพื่อป้ องกันการลักพาตัว
5 ระมัดระวังการซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงคาโฆษณาชวนเชื่ออื่นๆ เด็กต้อง
ปรึกษาพ่อแม่ผู้ปกครอง โดยต้องใช้วิจารณญาณ พิจารณาความน่าเชื่อถือของผู้ขาย
6 สอนให้เด็กบอกพ่อแม่ผู้ปกครองหรือคุณครู ถ้าถูกกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต
7 ไม่เผลอบันทึกยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ดขณะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ อย่า
บันทึก!ชื่อผู้ใช้และพาสเวิร์ดของคุณบนเครื่องคอมพิวเตอร์นี้” อย่างเด็ดขาด เพราะผู้
ที่มาใช้เครื่องต่อจากคุณ สามารถล็อคอินเข้าไป จากชื่อของคุณที่ถูกบันทึกไว้ แล้วสวม
รอยเป็นคุณ หรือแม้แต่โอนเงินในบัญชีของคุณจ่ายค่าสินค้าและบริการต่างๆ ที่เขา
ต้องการ ผลก็คือคุณอาจหมดตัวและล้มละลายได้
8 ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรือเสียงที่ไมเหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรือบนมือถือ
เพราะภาพ เสียง หรือวีดีโอนั้นๆ รั่วไหลได้ เช่นจากการแคร็ก ข้อมูล หรือถูกดาวน์
โหลดผ่านโปรแกรม เพียร์ ทู เพียร์ (P2P) และถึงแม้ว่าคุณจะลบไฟล์นั้นออกไปจาก
เครื่องแล้ว ส่วนใดส่วนหนึ่งของไฟล์ยังตกค้างอยู่ แล้วอาจถูกกู้กลับขึ้นมาได้ โดยช่าง
คอม ช่างมือถือ
9 จัดการกับ Junk Mail จังค์ เมล์ หรือ อีเมล์ขยะปกติ การใช้อีเมล์จะมีกล่อง
จดหมายส่วนตัว หรือ Inbox กับ กล่องจดหมายขยะ Junk mail box หรือ
Bulk Mail เพื่อแยกแยะประเภทของอีเมล์ เราจึงต้องทาความเข้าใจ และเรียนรู้ที่
จะคัดกรองจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ด้วยตัวเอง เพื่อกันไม่ให้มาปะปนกับจดหมายดีๆ
ซึ่งเราอาจเผลอไปเปิดอ่าน แล้วถูกสปายแวร์ แอดแวร์เกาะติดอยู่บนเครื่อง หรือ
แม้แต่ถูกไวรัสคอมพิวเตอร์เล่นงาน
10 จัดการกับแอดแวร์ สปายแวร์จัดการกับสปายแวร์แอดแวร์ที่ลักลอบเข้ามาสอดส่อง
พฤติกรรมการใช้เน็ตของคุณ ด้วยการซื้อโปรแกรมหรือไปดาวน์โหลดฟรีโปรแกรมมาดัก
จับและขจัดเจ้าแอดแวร์ สปายแวร์ออกไปจากเครื่องของคุณ ซึ่งสามารถดาวน์โหลด
โปรแกรมฟรีได้ที่ แต่แค่มีโปรแกรมไว้ในเครื่องยังไม่พอ คุณต้องหมั่นอัพเดทโปรแกรม
ออนไลน์และสแกนเครื่องของคุณบ่อยๆด้วย เพื่อให้เครื่องของคุณปลอดสปาย ข้อมูล
ของคุณก็ปลอดภัย* โปรแกรมล้าง แอดแวร์ และ สปายแวร์ จะใช้โปรแกรมตัวเดียวกัน
ซึ่งบางครั้งเขาอาจตั้งชื่อโดยใช้แค่เพียงว่า โปรแกรมล้าง แอดแวร์ แต่อันที่จริง มันลบทิ้ง
ทั้ง แอดแวร์ และสปายแวร์พร้อมๆ กัน เพราะเจ้าสองตัวนี้มันคล้ายๆ กัน
11 จัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจาเป็นต้องมีโปรแกรมสแกนดัก
จับและฆ่าไวรัส ซึ่งอันนี้ควรจะดาเนินการทันทีเมื่อซื้อเครื่องคอม เนื่องจากไวรัสพัฒนา
เร็วมาก มีไวรัสพันธุ์ใหม่เกิดขึ้นทุกวัน แม้จะติดตั้งโปรแกรมฆ่าไวรัสไว้แล้ว ถ้าไม่ทาการ
อัพเดทโปรแกรมทางอินเทอร์เน็ต เวลาที่มีไวรัสตัวใหม่ๆ แอบเข้ามากับอินเทอร์เน็ต
เครื่องคุณก็อาจจะโดนทาลายได้
12 ใช้ Adult Content Filter ในโปรแกรม P2Pสาหรับผู้ชื่นชอบการดาวน์
โหลดผ่านโปรแกรมแชร์ข้อมูล P2P ให้ระวังข้อมูลสาคัญ ไฟล์ภาพ วีดีโอส่วนตัว หรือ
อะไรที่ไม่ต้องการจะเปิดเผยสู่สาธารณะชน ควรบันทึกลงซีดี ดีวีดี หรือเทปไว้ อย่าเก็บ
ไว้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะคุณอาจถูกเจาะเอาข้อมูลเหล่านี้ไปได้
13 กรองเว็บไม่เหมาะสมด้วย Content Advisor ในอินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอใน
โปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ อย่าง อินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอ ก็มีการตั้งค่า คอนเทนท์ แอด
ไวเซอร์ หรือฟังก์ชั่น การกรองเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก ซึ่งจะทาให้เด็กไม่
สามารถเปิดเข้าไปในเว็บไซท์ที่มีภาพและเนื้อหา โป๊ เปลือย ภาษาหยาบคาย รุนแรงได้
และยังมีการตั้งพาสเวิร์ด หรือรหัส สาหรับผู้ปกครอง เพื่อกันเด็กเข้าไปแก้ไขการตั้งค่า
ของคุณ ซึ่งคุณสามารถเข้าไปปลดล็อกได้ทุกเมื่อ ถ้าคุณจาเป็นต้องเข้าเว็บไซท์บางเว็บ

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกSendai' Toktak
 
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1Parichat Tangsongkiat
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Ratanamon Suriya
 
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของchaimate
 
กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2
กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2
กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2Tongsai Boonta
 

What's hot (13)

เสร็จแล้ว..
เสร็จแล้ว..เสร็จแล้ว..
เสร็จแล้ว..
 
เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
Test 1
Test 1Test 1
Test 1
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1
งานคอมพิวเตอร์ของงจริง1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
 
กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2
กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2
กลุ่ม Electron ภาระกิจที่ 2
 
กล ม Electron ภาระก_จท__ 2
กล  ม Electron ภาระก_จท__ 2กล  ม Electron ภาระก_จท__ 2
กล ม Electron ภาระก_จท__ 2
 

Similar to การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย

ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1ketmanee Nakchamnan
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1SupachaiPenjan
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Montita Kongmuang
 
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10พัน พัน
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศThanaporn Pengsri
 
สมบูรณ์ -
สมบูรณ์   -สมบูรณ์   -
สมบูรณ์ -Lolicon Siscon
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2ยิ้ม' เเฉ่ง
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์believegg
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...Kanyanat Kate
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 

Similar to การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย (20)

Work1m34no10,12
Work1m34no10,12Work1m34no10,12
Work1m34no10,12
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
โครงงานการใช้งานและการติดตั้งTeam viewer10
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
สมบูรณ์ -
สมบูรณ์   -สมบูรณ์   -
สมบูรณ์ -
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 1/2
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 

การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย

  • 1.
  • 2. สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย อนวรรา ทิวาพัฒน์ ม. 4/2 เลขที่ 3 2. นางสาว พิทยาภรณ์ โรจน์ทนงค์ ม.4/2 เลขที่ 12 3. นางสาว ศิโรรัตน์ สังวังเลาว์ ม.4/2 เลขที่ 31
  • 3. คานา รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ศึกษาความรู้ในเรื่อง การใช้อินเทอร์เน็ต อย่างปลอดภัย และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับ การเรียน ผู้จัดทาหวังว่า รางงานฉบับนี้เป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือ นักเรียนโรงเรียนรัษฎา ที่กาลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมี ข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขออภัย ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 4. การใช้งานอินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัย หลักการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย ในปัจจุบันมีผู้ใช้บริการ บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้เพิ่มมากขึ้น เรื่อยๆทั่วโลก เพราะเป็นช่องทางที่สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่าง รวดเร็ว รวมถึงธุรกิจและพาณิชย์ในด้านต่างๆ ช่วยในเรื่องการลดระยะเวลาและ ต้นทุนในการติดต่อสื่อสาร แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้โดยทั่วไป ยังไม่เห็นความสาคัญ ของ การใช้งานอินเทอร์เน็ตที่ปลอดภัยเท่าที่ควร เนื่องจากยังขาดความรู้ในการใช้งานและ วิธีป้ องกัน หรืออาจคิดว่าคงไม่มีปัญหาอะไรมาก ในการใช้งาน แต่เมื่อเกิดปัญหา ขึ้นกับตัวเองแล้ว ก็ทาให้ตนเองเดือดร้อน เราสามารถป้ องกันปัญหาเหล่านี้ได้ ดังนี้ 1 ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว 2 ไม่ส่งหลักฐานส่วนตัวของตนเองและคนในครอบครัวให้ผู้อื่น เช่น สาเนาบัตร ประชาชน เอกสารต่างๆ รวมถึงรหัสบัตรต่างๆ เช่น เอทีเอ็ม บัตรเครดิต ฯลฯ 3 ไม่ควรโอนเงินให้ใครอย่างเด็ดขาด นอกจากจะเป็นญาติสนิทที่เชื่อใจได้จริงๆ 4 ไม่ออกไปพบเพื่อนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต เว้นเสียแต่ว่าได้รับอนุญาตจากพ่อ แม่ผู้ปกครอง และควรมีผู้ใหญ่หรือเพื่อนไปด้วยหลายๆ คน เพื่อป้ องกันการลักพาตัว
  • 5. 5 ระมัดระวังการซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงคาโฆษณาชวนเชื่ออื่นๆ เด็กต้อง ปรึกษาพ่อแม่ผู้ปกครอง โดยต้องใช้วิจารณญาณ พิจารณาความน่าเชื่อถือของผู้ขาย 6 สอนให้เด็กบอกพ่อแม่ผู้ปกครองหรือคุณครู ถ้าถูกกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต 7 ไม่เผลอบันทึกยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ดขณะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ อย่า บันทึก!ชื่อผู้ใช้และพาสเวิร์ดของคุณบนเครื่องคอมพิวเตอร์นี้” อย่างเด็ดขาด เพราะผู้ ที่มาใช้เครื่องต่อจากคุณ สามารถล็อคอินเข้าไป จากชื่อของคุณที่ถูกบันทึกไว้ แล้วสวม รอยเป็นคุณ หรือแม้แต่โอนเงินในบัญชีของคุณจ่ายค่าสินค้าและบริการต่างๆ ที่เขา ต้องการ ผลก็คือคุณอาจหมดตัวและล้มละลายได้ 8 ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรือเสียงที่ไมเหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรือบนมือถือ เพราะภาพ เสียง หรือวีดีโอนั้นๆ รั่วไหลได้ เช่นจากการแคร็ก ข้อมูล หรือถูกดาวน์ โหลดผ่านโปรแกรม เพียร์ ทู เพียร์ (P2P) และถึงแม้ว่าคุณจะลบไฟล์นั้นออกไปจาก เครื่องแล้ว ส่วนใดส่วนหนึ่งของไฟล์ยังตกค้างอยู่ แล้วอาจถูกกู้กลับขึ้นมาได้ โดยช่าง คอม ช่างมือถือ
  • 6. 9 จัดการกับ Junk Mail จังค์ เมล์ หรือ อีเมล์ขยะปกติ การใช้อีเมล์จะมีกล่อง จดหมายส่วนตัว หรือ Inbox กับ กล่องจดหมายขยะ Junk mail box หรือ Bulk Mail เพื่อแยกแยะประเภทของอีเมล์ เราจึงต้องทาความเข้าใจ และเรียนรู้ที่ จะคัดกรองจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ด้วยตัวเอง เพื่อกันไม่ให้มาปะปนกับจดหมายดีๆ ซึ่งเราอาจเผลอไปเปิดอ่าน แล้วถูกสปายแวร์ แอดแวร์เกาะติดอยู่บนเครื่อง หรือ แม้แต่ถูกไวรัสคอมพิวเตอร์เล่นงาน 10 จัดการกับแอดแวร์ สปายแวร์จัดการกับสปายแวร์แอดแวร์ที่ลักลอบเข้ามาสอดส่อง พฤติกรรมการใช้เน็ตของคุณ ด้วยการซื้อโปรแกรมหรือไปดาวน์โหลดฟรีโปรแกรมมาดัก จับและขจัดเจ้าแอดแวร์ สปายแวร์ออกไปจากเครื่องของคุณ ซึ่งสามารถดาวน์โหลด โปรแกรมฟรีได้ที่ แต่แค่มีโปรแกรมไว้ในเครื่องยังไม่พอ คุณต้องหมั่นอัพเดทโปรแกรม ออนไลน์และสแกนเครื่องของคุณบ่อยๆด้วย เพื่อให้เครื่องของคุณปลอดสปาย ข้อมูล ของคุณก็ปลอดภัย* โปรแกรมล้าง แอดแวร์ และ สปายแวร์ จะใช้โปรแกรมตัวเดียวกัน ซึ่งบางครั้งเขาอาจตั้งชื่อโดยใช้แค่เพียงว่า โปรแกรมล้าง แอดแวร์ แต่อันที่จริง มันลบทิ้ง ทั้ง แอดแวร์ และสปายแวร์พร้อมๆ กัน เพราะเจ้าสองตัวนี้มันคล้ายๆ กัน
  • 7. 11 จัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจาเป็นต้องมีโปรแกรมสแกนดัก จับและฆ่าไวรัส ซึ่งอันนี้ควรจะดาเนินการทันทีเมื่อซื้อเครื่องคอม เนื่องจากไวรัสพัฒนา เร็วมาก มีไวรัสพันธุ์ใหม่เกิดขึ้นทุกวัน แม้จะติดตั้งโปรแกรมฆ่าไวรัสไว้แล้ว ถ้าไม่ทาการ อัพเดทโปรแกรมทางอินเทอร์เน็ต เวลาที่มีไวรัสตัวใหม่ๆ แอบเข้ามากับอินเทอร์เน็ต เครื่องคุณก็อาจจะโดนทาลายได้ 12 ใช้ Adult Content Filter ในโปรแกรม P2Pสาหรับผู้ชื่นชอบการดาวน์ โหลดผ่านโปรแกรมแชร์ข้อมูล P2P ให้ระวังข้อมูลสาคัญ ไฟล์ภาพ วีดีโอส่วนตัว หรือ อะไรที่ไม่ต้องการจะเปิดเผยสู่สาธารณะชน ควรบันทึกลงซีดี ดีวีดี หรือเทปไว้ อย่าเก็บ ไว้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะคุณอาจถูกเจาะเอาข้อมูลเหล่านี้ไปได้ 13 กรองเว็บไม่เหมาะสมด้วย Content Advisor ในอินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอใน โปรแกรมเว็บ บราวเซอร์ อย่าง อินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พลอเรอ ก็มีการตั้งค่า คอนเทนท์ แอด ไวเซอร์ หรือฟังก์ชั่น การกรองเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก ซึ่งจะทาให้เด็กไม่ สามารถเปิดเข้าไปในเว็บไซท์ที่มีภาพและเนื้อหา โป๊ เปลือย ภาษาหยาบคาย รุนแรงได้ และยังมีการตั้งพาสเวิร์ด หรือรหัส สาหรับผู้ปกครอง เพื่อกันเด็กเข้าไปแก้ไขการตั้งค่า ของคุณ ซึ่งคุณสามารถเข้าไปปลดล็อกได้ทุกเมื่อ ถ้าคุณจาเป็นต้องเข้าเว็บไซท์บางเว็บ