SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
บทที่ 8
                            ทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาล

         ทั ก ษะพื้ น ฐานในการปฐมพยาบาลเป น สิ่ ง สํา คั ญที่ ค วรศึ ก ษาและฝ ก ซอ มใหเ กิ ด ความ
ชํานาญ เชน การพันผา การเขาเผือกชั่วคราว และการเคลื่อนยายผูปวย โดยเฉพาะการไดรับ
บาดเจ็บจากอุบัติเหตุตาง ๆ ที่สงผลกระทบตอกระดูก ขอตอ ซึ่งในสภาวะฉุกเฉินนั้นจําเปนอยางยิ่ง
ที่ตองใชวัสดุอุปกรณที่หาไดในพื้นที่มาใชในการปฐมพยาบาลผูปวย ดังนั้น ทักษะพื้นฐานในการ
ปฐมพยาบาลจึงเปน สิ่งสําคัญในการบรรเทาอาการบาดเจ็บของผูปว ยและลดอันตรายจากการ
เคลื่อนยายผูปวยกอนสงโรงพยาบาล

การพันผา
         การพันผา(Bandaging) เปนสิ่งจําเปนมากสําหรับการปฐมพยาบาลเพราะชวยปองกันสิ่ง
สกปรกไมใหเขาสูบาดแผล ชวยหามเลือด และใชคลองแขนได การพันผาเปนเทคนิคที่งายตอการ
ปฏิบัติ สิ่งสําคัญในการพันผาคือตองพันใหแนนพอที่จะหามเลือดได หรือพันใหแนนพอที่จะ
ไมใหกระดูกเคลื่อนที่ในรายกระดูกหัก ดังนั้นผูปฐมพยาบาลจะตองฝกพันผาเสมอ ๆ จนกระทั่ง
สามารถพันไดอยางถูกตองและรวดเร็ว และควรเรียนรูพื้นฐานเกี่ยวกับเทคนิคการพันผาไวประมาณ
2–3 วิธี เพื่อจะไดดัดแปลงพันสวนตาง ๆ ของรางกายไดทกสวน   ุ
         1. ชนิดของผาพันแผลที่ใชในการปฐมพยาบาล
              ชนิดของผาพันแผลที่ใชในการปฐมพยาบาล แบงออกได 2 ชนิด คือ
(วิภาพร วรหาญ, จงรัก อิฐรัตน และสุวรรณา บุญยะลีพรรณ (บก.). 2541 : 141)
              1.1 ผาพันแผลชนิดเปนมวน
                   ผาพันแผลชนิดเปนมวน (Roller bandage) แบงเปนผากอซธรรมดา กับผามวนยืด
มวนเปนรูปทรงกระบอก มีขนาดตาง ๆ กัน ทั้งความกวางและความยาว เชน มีความกวางตั้งแต 1-
6 นิ้ว การเลือกใชขึ้นอยูกับอวัยวะที่บาดเจ็บ เชน ที่นิ้วมือควรเลือกขนาด 1 นิ้ว แตถามีบาดแผลที่
ศีรษะควรเลือกขนาด 6 นิ้ว เปนตน ผากอซธรรมดาสวนมากจะผานกรรมวิธีของการฆาเชื้อโรค
แลว ทําใหสะดวกแกการนํามาใชหามเลือดแทนผาที่ไมสะอาด สวนผาพันแผลชนิดมวนยืด เหมาะ
สําหรับพันขอตาง ๆ เชน ขอศอก ขอเขา ขอเทา เปนตน เพราะทําใหขอไดพกนิ่ง ๆ และไมหลุด
                                                                               ั
งาย นอกจากนี้ยังเหมาะที่จะใชพนเฝอกอีกดวยในบางกรณี
                                  ั
268



               1.2 ผาพันแผลชนิดเปนรูปสามเหลี่ยม
                      ผาพันแผลรูปสามเหลี่ยม (Triangular bandage) ใชประโยชนไดหลายอยาง เชน
ใชคลองแขน ใชมัดเฝอก เปนตน เปนผาอะไรก็ไดที่เปนรูปสามเหลี่ยม หรืออาจดัดแปลงจาก
ผาสี่เหลี่ยมจัตุรัสพับครึ่งก็ได แตตองเปนผาที่นุม ไมแข็งจนเกินไป ที่สําคัญตองสะอาด ควรมีฐาน
กวางประมาณ 60 นิ้ว ดานขางยาวประมาณ 30 นิ้ว
                      ในบางเวลาวัสดุดังกลาวอาจหาไมได ดังนั้นผูปฐมพยาบาลอาจตองดัดแปลง
วัสดุอื่นมาใชแทน เชน ผาเช็ดหนา ผาเช็ดตัว เสื้อผา หรือแมแตเข็มขัดผา แตจะตองเลือก
เฉพาะที่สะอาด ๆ เทานั้น ชนิดของผาพันแผลแสดง ดังภาพที่ 8.1

                                                             ยอด

                                              30 นิ้ว                       30 นิ้ว


                                                          ฐาน 60 นิ้ว
      (ก) ผาพันแผลชนิดเปนมวน            (ข) ผาพันแผลชนิดเปนรูปสามเหลี่ยม
ภาพที่ 8.1 ชนิดของผาพันแผล
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 146)

       2. จุดประสงคของการพันผา
          จุดประสงคของการพันผาพันแผล มีดังตอไปนี้
          2.1 เพื่อปองกันบาดแผลไมใหสกปรก เชน การพันทรวงอก
          2.2 เพื่อชวยหามเลือด เชน การใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว พันหามเลือดบริเวณ
                                             
หนาผาก
          2.3 เพื่อปองกันการเคลื่อนไหวของอวัยวะบางสวน เชน การใชผาคลองแขน
          2.4 เพื่อยึดยาและผาปดแผลใหอยูกับที่ เชน การพันเกลียวเปด
          2.5 เพื่อปองกันอวัยวะตาง ๆ ไมใหเสียรูปทรง เชน การใชผามวนยืดพันรูปเลขแปด
                                                                    
          2.6 เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดและลดอาการบวม เชน การใชผามวนยืด
          2.7 เพื่อใหเกิดความอบอุนแกบริเวณบาดแผล เชน การพันเกลียวบิดกลับ
                                    
269



        3. ขอควรปฏิบัติเมื่อใชผาพันแผล
                                   
             ผูปฐมพยาบาลมีขอควรปฏิบัติ ดังตอไปนี้ (พิชิต ภูตจนทร. 2535 : 88)
                                                               ิั
             3.1 ใหผูปวยนั่งหรือนอนในทาที่สบายไมเกร็งกลามเนือบริเวณทีจะพันผา
                                                                 ้         ่
             3.2 ยกบริเวณที่พนใหสูง ตองมีที่หนุนหรือหมอนรองรับ
                               ั
             3.3 จัดสวนที่พันใหอยูในลักษณะที่เปนปกติ ตําแหนงที่พันควรสะอาด และแหง
             3.4 กอนพันผา ถามีบาดแผลควรทําความสะอาด และใชผาหรือสําลีรองกอน
             3.5 อยาปลอยใหผวหนังตอผิวหนังแนบติดกัน ควรมีผาคั่นกอน ปองกันผิวหนัง
                                 ิ
 แฉะ / เปอย
             3.6 ถาตองการพันเพื่อกดบริเวณนั้น ตองยืดสวนนั้นใหตรงเสียกอน มิฉะนั้นจะทํา
ใหมีการบวมเกิดขึ้นที่สวนลางของผาพัน
             3.7 เวลาพันบริเวณที่มีการอักเสบ อยาพันรัดแนนเกินไป
             3.8 ผากอซนิยมใชกับอวัยวะทุกแหง ผามวนยืดเหมาะสําหรับขอเคล็ด แพลง
กลามเนื้อฉีก สวนผาสามเหลี่ยมเหมาะสําหรับทําที่คลองแขนและปองกันไมใหแผลสกปรก

การพันผารูปแบบตาง ๆ
         กอนที่จะใชผาพันแผลผูปฐมพยาบาลจะตองเตรียมบริเวณที่จะพันผาเสียกอน เชน
 มี บ าดแผลหรื อ มี ร อยฉี ก ขาด ควรทํ า ความสะอาดปาดแผลและป ด บาดแผลด ว ยผ า ที่ ส ะอาด
ปราศจากเชื้อโรค ขนาดของผาพันแผลที่นํามาใชจะตองเหมาะกับขนาดของบาดแผล โดยทั่ว ๆ
ไป จะใชขนาด 2–4 นิ้ว ถาบาดแผลใหญจะตองใชขนาดกวางกวานี้ สวนความยาวของผาพันแผล
จะขึ้นอยูกับความรุนแรงของบาดแผล เชน ถาไมมีการตกเลือดควรพันผาหนึ่งหรือสองทบแลว
ผูกยึดใหแนนก็เพียงพอ แตถามีการตกเลือดมากจําเปนตองพันผาหลาย ๆ ทบ ใหแนนพอควร
เพื่อดูดซับเลือดที่ออก และกดบาดแผลใหเสนเลือดแฟบ เมื่อพันผาเสร็จแลวควรใหบาดแผลอยู
ตรงกลาง และขอบของผาควรกวางกวาขอบบาดแผลอยางนอยหนึ่งนิ้ว
         1. ผาพันแผลชนิดเปนมวน
             1.1 การใชผามวน
                   การใชผามวน มีหลักในการพันดังนี้ (พิชิต ภูติจนทร. 2535 : 88-89)
                                                                  ั
                 1.1.1 ตองยืนดานหนาของผูปวยเสมอ
                 1.1.2 มวนผาใหแนนเสียกอน ใชมือขวาหรือมือที่ถนัดจับมวนผาหงายขึ้น
จับชายผาดวยมือซายหรือมืออีกขางเพื่อสะดวกในการพัน โดยวางปลายผาบนบริเวณต่ํากวา
บาดแผลเล็กนอย แลวจึงเริ่มพัน
270



                 1.1.3 พันจากสวนเล็กมาหาสวนใหญ พันจากดานในออกดานนอก หรือพันจาก
ดานลางขึ้นดานบน
                 1.1.4 อยาพันแนนเกินไป ใหกระชับแผลพอสมควร เพราะจะทําใหเลือด
ไหลเวียนไดไมสะดวก ขณะพันผา ควรถามผูปวยวาแนนเกินไปหรือไม ถาแนนเกินไปตองคลาย
ออก
                 1.1.5 การแกผาพันแผล ควรแกทีละรอบและมวนไปในตัว หากจําเปนอาจใช
กรรไกรตัดได
             1.2 ขั้นตอนการพันผาพันแผลชนิดมวน
                 วิธีพันผาพันแผลชนิดมวน แบงเปน 3 ขั้น ไดแก (วิรัตน ศรีนพคุณ และ
ศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 146-151)
                  1.2.1 ขั้นเริ่มตน เปนการยึดปลายผาเพื่อไมใหผาพันแผลลื่นหลุด โดยจับมุมผา
เฉียงขึ้นแลวพันเปนวงรอบหนึ่งรอบกอน รอบที่สองพับมุมผาลงแลวพันทับตอไป ดังภาพที่ 8.2




ภาพที่ 8.2 การพันแผลขั้นเริมตน
                            ่
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 147)

                  1.2.2 ขั้นพัน โดยทัว ๆ ไป นิยมพันเปนรูปเกลียว หรือบันไดเวียน รูปเลข
                                      ่
แปด และพันกลับไปกลับมา
                  1.2.3 ขั้นจบผาพัน การจบผาพันแผล จบหลังจากไดมการพันโดยวิธตาง ๆ
                                                                  ี              ี
เรียบรอยแลว ซึ่งจะตองมีการผูกหรือยึดชายผาพันแผล สามารถทําไดหลายวิธี เชน ใชแถบกาว
ปดทับชายผาพันแผล ใชเข็มซอนปลายกลัดยึด ใชผูกชายผาพันแผล วิธีงายที่สด คือผูกชายผา
                                                                         ุ
พันแผล โดยฉีกชายผาพันแผลออกเปนสองแฉก แลวผูกหนึ่งเงื่อนกอนแลวจึงจับชายผาทั้งสองแฉก
ออมไปทางดานหลังแลววกกลับมาผูกดานหนาอีกครั้ง ดังภาพที่ 8.3
271




                                                            ผูกปมสุดตําแหนงที่ตัด




                                                 พันสวน
                                            ปลายที่ตัดไว
                                             อีกรอบหนึ่ง



ภาพที่ 8.3 การจบผาพันโดยวิธีผูกชายผาพันแผล
ที่มา (เรืองศักดิ์ ศิริผล. 2541 : 206)

          1.3 รูปแบบการพันผาชนิดมวน
              1.3.1 การพันเปนรูปเกลียว (Spiral bandages) มี 4 ชนิด
                      1.3.1.1 การพันเปนรูปเกลียวสมบูรณ (Complete spiral) หรือ การพัน
เปนวงกลม (Circular turn) พันซอนเปนชั้น ๆ ไมขยายบริเวณ ดังภาพที่ 8.4 (ก)
                     1.3.1.2 การพันเปนรูปเกลียวปด (Close spiral) เริ่มขั้นเริ่มตนตอดวย
เกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ หลังจากนัน พันซอนเปนชั้น ๆ แตละชั้นจะซอนกันเพียงครึ่งหนึ่งของ
                                   ้
ความกวางของผา ดังภาพที่ 8.4 (ข)
                     1.3.1.3 การพันเปนรูปเกลียวเปด (Open spiral) เริ่มขั้นเริ่มตนตอดวย
เกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ หลังจากนัน พันเปนรอบ แตละรอบไมซอนกัน แตจะแยกจากกัน เพือ
                                     ้                                                      ่
ยึดผาปดบาดแผลที่มีบริเวณกวาง เชน แผลไหม ดังภาพที่ 8.4 (ค)
                     1.3.1.4 การพันเปนรูปเกลียวบิดกลับ (Spiral reverse ) เริ่มขั้นเริ่มตน
ตอดวยเกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ หลังจากนั้นจึงพันเปนรูปเกลียวแลวพับผากลับออมดานหลัง
การพันชนิดนีดกวาการพันเปนรูปเกลียวปดเพราะแนนและมั่นคงกวา เหมาะกับอวัยวะที่มปลาย
             ้ี                                                                         ี
เล็กโคนใหญ เชน แขน ขาสวนปลาย ดังภาพที่ 8.4 (ง)
272




                     (ก) เกลียวสมบูรณ                          (ข) เกลียวปด




                     (ค) เกลียวเปด                                (ง) เกลียวบิดกลับ

ภาพที่ 8.4 การพันเปนรูปเกลียว
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 148)

               1.3.2 การพันเปนรูปเลขแปด (Figure of eight bandages)
                      การพั น เปน รูปเลขแปด เหมาะสํ า หรับพัน มื อ เท า หรือตามข อต าง ๆ เช น
ขอมือ ขอเทา ขอศอก เริ่มดวย ขั้นเริ่มตน จากนั้นพันแบบเกลียวสมบูรณ 2-3 รอบกอน แลวจึง
ตอดวยวิธพันเปนรูปเลขแปด โดยพันทะแยงขึ้นสลับกับพันทะแยงลงซอนกันไปเรื่อย ๆ ตามความ
          ี
ยาวที่ตองการ ดังภาพที่ 8.5
273




                                                       (ก) พันมือ




                              (ข) พันเขา                                            (ค) พันขอเทาและเทา

ภาพที่ 8.5 การพันเปนรูปเลขแปด
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 149)

                             การพันขอมือจะพันเหมือนการพันมือ การพันขอเทาจะพันเหมือนการพันเทา
แต จ ะต อ งเริ่ ม ต น พั น ที่ บ ริ เ วณต่ํ า กว า บริ เ วณบาดแผลเล็ ก น อ ย เช น พั น ข อ มื อ ควรเริ่ ม ต น พั น ที่
งามหัวแมมือ ทั้งนี้เพื่อจะไดใชความยาวของผาเกือบทั้งหมดไปพันขอมือและขอเทาใหหนา ๆ
เปนการประคับประคองขอมือและขอเทาที่เคล็ด สําหรับการพันขอศอกก็พันเหมือนกับการพันขอ
เขา ขอศอกเริ่มตนที่ปุมแหลม ขอเขาเริ่มตนที่กระดูกสะบา
               1.3.3 การพันกลับไปกลับมา (Recurrent bandage)
                          การพันกลับไปกลับมา ใชเฉพาะพันนิ้วและพันศีรษะ ดังนี้
                          1.3.3.1 การพันนิว ผูปฐมพยาบาลควรเลือกผาพันขนาดหนึ่งนิว วิธพน
                                                      ้                                                ้ ี ั
เริ่มตนที่โคนนิ้วแลวออมขึ้นไปปดปลายนิ้วแลววกกลับลงมาที่โคนนิ้วอีกดานหนึง แลวทบกลับไป           ่
กลับมาเหมือนเดิมอีกสองหรือสามครั้ง จากนั้นพันเปนรูปเกลียวปดโดยเริ่มจากโคนนิ้วขึนไป                           ้
ปลายนิ้วแลววกกลับลงมาสิ้นสุดที่โคนนิ้วเชนเดิม ดังภาพที่ 8.6
274




ภาพที่ 8.6 การพันนิว้
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 150)

                    1.3.3.2 การพันศีรษะ ผูปฐมพยาบาลควรใชผาที่สะอาดปราศจากเชือปด
                                                                                 ้
บาดแผลบนหนังศีรษะกอน หลังจากนันเริมดวยขันเริ่มตน เริ่มจากหนาผากผานระดับเหนือใบหู
                                    ้ ่        ้
เลยไปดานหลังศีรษะตอดวยเกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ และใหรอบสุดทายของเกลียวสมบูรณ มา
สิ้นสุดตรงจุดกึ่งกลางของหนาผาก จากจุดนี้พันขามมาสวนบนของศีรษะไปที่จดกึงกลางดานหลัง
                                                                        ุ ่
ศีรษะ จากนั้นพันกลับไปที่จดกึ่งกลางของหนาผากแลวพันกลับมาที่จดกึ่งกลางดานหลังศีรษะ พัน
                            ุ                                    ุ
กลับไปกลับมาโดยทบไปทางดานซายครั้งหนึ่ง ทบกลับมาทางดานขวาอีกครั้งหนึ่ง การพันแตละ
ทบจะซอนผาทบเดิมเพียงครึ่งหนึ่งของดานกวางของผาพัน เมื่อพันกลับไปกลับมาปดบริเวณศีรษะ
ทั้งหมดแลวจึงพันรอบศีรษะเชนเดียวกับตอนเริ่มตนอีกประมาณ 2–3 รอบ ดังภาพที่ 8.7




ภาพที่ 8.7 การพันศีรษะ
ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 123)
275




           2. ผาพันแผลชนิดเปนรูปสามเหลี่ยม
              2.1 ประโยชนของผาสามเหลี่ยม
                   2.1.1 ใชกดหามเลือด
                   2.1.2 ใชพนแผล โดยการพับผาสามเหลี่ยมตามยาวใหเปนแถบทีมความกวาง
                              ั                                                      ่ ี
 ประมาณ 2–3 นิ้ว ตามขนาดของบาดแผล ดังภาพที่ 8.8
                   2.1.3 ใชทําเปนผาคลองแขน ในกรณีที่แขนไดรับบาดเจ็บในลักษณะตาง ๆ
 เชน หัวไหลหลุด แขนหัก ขอศอกเคลื่อน เปนตน
                   2.1.4 ใชผูกยึดอวัยวะสวนที่ไดรับบาดเจ็บใหอยูนิ่ง เพื่อไมใหเปนอันตราย
                                                                  
 แกผูปวยมากขึน โดยดามอวัยวะสวนนันไวกับแผนไม หรือกระดาษพับหลาย ๆ ชัน หรืออาจใช
                ้                        ้                                         ้
 ผาสามเหลี่ยมในการผูกยึดอวัยวะสวนนันใหอยูนิ่ง ๆ
                                       ้     
                   2.1.5 ใชพนศีรษะ ลําตัว เพื่อปองกันบาดแผลไมใหสกปรก
                                ั

                                                            ผาพันแผลหนากวาง
 ผาสามเหลี่ยม
                                                                              พับครึ่ง
จับมุมผาดานบน                                            ผาพันแผลหนา
    พับมาที่ฐาน

                                                                       พับอีกครึ่ง

 ภาพที่ 8.8 การพับผาสามเหลี่ยมตามยาว
 ที่มา (อภิชย ชัยดรุณ และประไพ ชัยดรุณ (แปล). 2547 : 76)
            ั

               2.2 การใชผาสามเหลี่ยม
                    2.2.1 การทําผาคลองแขน (Slings) มีการคลองได 2 วิธี คือ คลองแขน
 แบบธรรมดา (Arm sling) และคลองแขนแบบยกสูง (Elevation sling ) และในขณะทีกําลังทํา ่
 การคลองแขน ใหเอามือประคองแขนขางที่บาดเจ็บไวตลอดเวลา จนกวาจะคลองแขนเรียบรอย
 แลว วิธีการทําผาคลองแขน มีดังนี้
                            2.2.1.1 คลองแขนแบบธรรมดา ใชเพื่อประคองบริเวณที่บาดเจ็บไป
 จนถึงตนแขน หรือเพื่อไมใหตนแขนมีการเคลื่อนไหว แตการคลองแขนแบบนี้ใชไดผลเฉพาะ
 ผูปวยที่สามารถยืนหรือนั่งไดเทานั้น ซึ่งมีวิธีการทํา ดังนี้
276



                                  1) ใหผปวยนั่งหรือยืนในทาที่สบายที่สุด ประคองแขนขางที่
                                           ู 
บาดเจ็บไว โดยยกใหปลายขอมือสูงกวาขอศอกเล็กนอย
                                  2) จับมุมบนของผาที่อยูฝงตรงขามกับดานฐานวางไวบริเวณ
ใตขอศอก มืออีกขางสอดผาใหอยูระหวางแขนกับหนาอก ดึงชายผาใหสูงถึงบาคลองโอบตนคอไป
อีกขางหนึ่ง
                                  3) ดึงชายผาอีกดานหนึ่งตลบคลุมแขนที่บาดเจ็บ โดยใหขอบ
ผาอยูบริเวณปลายนิ้วมือ ผูกชายผาทั้งสองดวยเงื่อนธรรมดาใหปมอยูบริเวณไหปลารา
                                                                  
                                  4) เก็บชายผาบริเวณขอศอกใหเรียบรอยโดยใชเข็มกลัด
แถบกาวหรือมัดชายผา ดังภาพที่ 8.9




ภาพที่ 8.9 วิธีการใชผาสามเหลี่ยมคลองแขนแบบธรรมดา
ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 125)

                       2.2.1.2 คลองแขนแบบยกสูง ใชเพื่อประคองใหมืออยูในทายกสูงขึ้น
                                                                           
เพื่อไมใหเลือดไหลออกมามาก หรือเพื่อไมใหตนแขนมีการเคลื่อนไหว ในกรณีกระดูกไหปลารา
                                            
หัก กระดูกซีโครงหัก มีวิธการทํา ดังนี้
               ่         ี
                                1) ใหผูปวยนั่งหรือยืนในทาที่สบายที่สุด ประคองแขนขางที่
                                          
บาดเจ็บใหวางทาบบนหนาอก จนปลายนิ้ววางบนไหลดานตรงขาม
                                2) วางผาสามเหลี่ยมคลุมแขนขางที่บาดเจ็บดึงชายผาใหคลุม
ไปจนถึงไหล มุมบนของผาจะอยูบริเวณขอศอกพอดี
277



                                 3) พับฐานของผาสามเหลี่ยมสอดเขาใตปลายแขนและ
ขอศอก ดึงชายผาดานลางใหโอบดานหลังไปใหถึงไหล
                                 4) ผูกชายผาสองขางดวยเงือนธรรมดาบริเวณไหปลารา
                                                           ่
                                 5) เก็บมุมผาบริเวณขอศอกและปลายแขนใหเรียบรอย
ดังภาพที่ 8.10




ภาพที่ 8.10 วิธีการใชผาสามเหลี่ยมคลองแขนแบบยกสูง
ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 126)

                 2.2.2 การพันศีรษะ วิธีที่ 1 สะดวกและรวดเร็วกวาใชผาพันแผลชนิดมวนพัน
                                                                      
แบบกลับไปกลับมา วิธีปฏิบัติดังนี้ ผูปฐมพยาบาลตองเริ่มตนดวยการพับฐานของผาสามเหลี่ยม
สองทบกวางประมาณ 2 นิ้ว จากนั้นวางผาสามเหลี่ยมทาบบนศีรษะผูปวยโดยใหดานฐานอยูเหนือ
คิ้ว มุมยอดของผาสามเหลี่ยม จะอยูดานหลังศีรษะ จับชายผาดานขางทั้งสองขางไขวกนทีดานหลัง
                                                                               ั ่
ศีรษะแลวออมผานบริเวณเหนือหูมาผูกตรงจุดกึ่งกลางหนาผาก สวนชายผาที่เหลืออยู ดานหลัง
ศีรษะจับมวนขึ้นและพับเหน็บใหเรียบรอย ดังภาพที่ 8.11
278




ภาพที่ 8.11 การพันศีรษะโดยใชผาสามเหลี่ยม
ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 126)

                 2.2.3 การพันศีรษะ วิธที่ 2 ใชผาสามเหลี่ยมแบบพับตามยาวพันศีรษะ กอนพัน
                                         ี
ผาใหปดบาดแผลดวยผาที่สะอาดปราศจากเชื้อเสียกอน จากนั้นใชกึ่งกลางของผาสามเหลี่ยมที่พับ
ตามยาววางบนบาดแผล แลวจับปลายผาแตละขางออมไปในทิศทางตรงขามแลวออมมาผูกที่
หนาผากเก็บชายผาใหเรียบรอย ดังภาพที่ 8.12




ภาพที่ 8.12 การพันศีรษะโดยใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว
ที่มา (วิรตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 153)
          ั
279



                 2.2.4 การพันขากรรไกร ใชพันเพื่อหามเลือดหรือพยุงขากรรไกร ขั้นแรก
ผูปฐมพยาบาลวางผาใตคางโดยใหปลายหนึ่งยาวกวาอีกปลายหนึ่ง จากนั้นจับปลายทั้งสองขางไขว
กันดานตรงดานขามของขมับและออมไปผูกไวอีกดานหนึ่งซึ่งอยูตรงกันขาม ดังภาพที่ 8.13




   ภาพที่ 8.13 การพันขากรรไกร
   ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 153)

                  2.2.5 การพันลําตัว เปนการพันเพื่อปกปดบาดแผล ผาสามเหลี่ยมที่ใชพันตัว
พันไดทั้งทรวงอกและหลัง
                           2.2.5.1 วิธีพนทรวงอก วางผาสามเหลี่ยมปดทรวงอกบริเวณที่มี
                                        ั
บาดแผล โดยใหสวนที่เปนยอดผาสามเหลี่ยมคลุมบา จากนั้นจับมุมผาสามเหลี่ยมดานขางทั้งสอง
ขางออมใตรักแรไปผูกไวดานหลัง แลวดึงมุมที่เปนยอดผาสามเหลี่ยมมาผูกไวกับปมแรกดานหลัง
ดังภาพที่ 8.14




                            (ก)               (ข)                   (ค)
ภาพที่ 8.14 การพันทรวงอก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 152)
280



                       2.2.5.2 วิธพนหลัง พันเหมือนกับวิธพนทรวงอก แตแทนที่จะวางผา
                                     ี ั                  ี ั
สามเหลี่ยมปดทรวงอกใหวางปดหลังบริเวณที่มีบาดแผล แลวผูกปมผาไวทางดานทรวงอก
                ผาสามเหลี่ยมเมื่อพับตามยาวนอกจากจะไวใชพันอวัยวะตาง ๆ เชน พันศีรษะ
พันขากรรไกรแลวยังใชผูกเฝอกไดอีกดวย

การเขาเฝอกชั่วคราว
          การเข า เฝ อ กชั่ ว คราว เป น การดั ด แปลงอุ ป กรณ เ ท า ที่ ห าได ใ นบริ เ วณที่ เ กิ ด เหตุ เช น
ผาสะอาด เชือก ไม กระดาษแข็ง หนังสือพิมพ เปนตน ทําเปนเฝอกชั่วคราวผูกดามเขากับบริเวณที่
กระดูกหัก เชน แขน ขา และสวนอื่น ๆ ของรางกาย เพื่อชวยใหอวัยวะที่หักอยูกับที่ เปนการ
ป อ งกัน ไม ใ ห เ กิ ด อั น ตรายอย า งอื่น ตามมา เชน หั ก มากขึ้ น กระดู ก ทิ่ม ทะลุ เ นื้ อ ระหวา งนํ าส ง
โรงพยาบาล กอนเขาเฝอกควรหาผาหนา ๆ มารองรับบริเวณที่หักเสียกอน เพื่อปองกันไมใหเฝอก
กดทับบริเวณแผล อุปกรณที่ใชเปนเฝอกชั่วคราว แสดงดังภาพที่ 8.15




ภาพที่ 8.15 วัสดุตาง ๆ ที่ใชทําเฝอกชั่วคราว
ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 162)
281



         1. ประโยชนของการเขาเฝอกชั่วคราว
             1.1 ลดความเจ็บปวด
             1.2 ปองกันภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้น เชน การถูกทําลายของกลามเนื้อ
เสนประสาท และเสนเลือดจากกระดูกทีหักทิ่มแทง
                                        ่
             1.3 สะดวกในการเคลือนยาย
                                    ่
         2. ประเภทของเฝอกชั่วคราว (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 162)
             2.1 เฝอกธรรมชาติ คือ ใชกระดูกหรืออวัยวะสวนทีอยูใกลเคียงกันแตไมหัก ทําเปน
                                                                 ่
เฝอกชั่วคราว เชนกระดูกตนแขนหักใหใชทรวงอกเปนเฝอก หรือ กระดูกขาหักก็ใชขาอีกขางเปน
เฝอกธรรมชาติ แลวนําสงโรงพยาบาล ดังภาพที่ 8.16
             2.2 เฝอกที่ทําขึ้นจากวัสดุ เปนวัสดุเทาที่หาไดในบริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ เชน แผน
กระดาน กิ่งไม คันรม ดามไมกวาด หนังสือพิมพ ลังกระดาษ เปนตน โดยนําวัสดุดังกลาวมา
ผูกดามเขากับบริเวณที่สงสัยวากระดูกหัก แลวใชเชือกหรือผามัดไวกอนนําสงโรงพยาบาล ดังภาพ
ที่ 8.17




ภาพที่ 8.16 เฝอกธรรมชาติ
ที่มา (วิรฬ เหลาภัทรเกษม. 2532 : 40)
          ุ




ภาพที่ 8.17 การเขาเฝอกชั่วคราวดวยไม
ที่มา (วิรฬ เหลาภัทรเกษม. 2532 : 41)
          ุ
282



         3. หลักในการเขาเฝอกชั่วคราว
               3.1 วัสดุที่ใชดาม ตองยาวกวาอวัยวะสวนที่หกโดยใชหลักยาวเหนือ
                                                             ั
หนึ่งขอตอต่ํากวาหนึ่งขอตอ เชน กระดูกหนาแขงหัก ตองดามตั้งแตเหนือขอเขาจนถึงต่ํากวา
ขอเทา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 :163)
               3.2 ไมวางเฝอกลงบนบริเวณที่บาดเจ็บโดยตรง ควรใชสาลีหรือผาวางรองตลอด
                                                                       ํ
แนวเฝอกเพื่อไมใหเฝอกกดลงบริเวณผิวหนังซึ่งจะทําใหเจ็บปวดและเกิดแผลจากการที่เฝอกกด
ดังภาพที่ 8.18
               3.3 ไมมัดเฝอกแนนจนเกินไป เพราะจะทําใหการไหลเวียนเลือดไมสะดวก
               3.4 กรณีทกระดูกเคลื่อน หาม ดึงใหเขาที่ เพราะทําใหเกิดอันตรายตอเนื้อเยื่อมาก
                           ี่
ขึ้น ถามีกระดูกโผลออกมานอกเนื้อ หาม ดันกระดูกกลับเขาขางใน ถามีเลือดออกตองหามเลือด
และปดแผลกอนที่จะดาม ดังภาพที่ 8.18
               3.5 ตรวจชีพจร สีผิว อาการปวด และการตอบสนองความรูสึกบริเวณที่บาดเจ็บ
กอนและหลังการใสเฝอกชัวคราว ่
               3.6 ถามีอุบัติเหตุที่คอ และหลัง ตองระวัง อาจเกิดกระดูกสันหลังหักหรือกระดูก
สันหลังเคลื่อนไดเสมอ




ภาพที่ 8.18 กระดูกหนาแขงหักแบบเปดและการปดบาดแผลกอนเขาเฝอกชั่วคราว
ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 :161)

วิธีการเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกหักแตละชนิด
        ผู ป ว ยที่ ก ระดู ก หั ก ต อ งได รั บ การเข า เฝ อ กชั่ ว คราวก อ นที่ จ ะทํ า การเคลื่ อ นย า ยไป
โรงพยาบาล การเคลื่อนยายผูปวยกระดูกหักมีหลักสําคัญ คือ ตองใหสวนตาง ๆ ของกระดูกที่หัก
ไปดวยกัน ถ าการดามยังตรึงกระดูกที่หักใหอยูนิ่งไดไมเ พียงพอ การเคลื่อนยายต องใชแรงดึง
รวมกับการประคองเพื่อไมใหกระดูกที่หักโกงตกตามแรงโนมถวงโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งถาสงสัย
283



วามีกระดูกสันหลังหัก การเคลื่อนยายตองยกทุกสวนของรางกายไปพรอมๆ กัน หากเปนไปได
ควรใหนอนเปลแข็งและหามเปลแทน
         ในรถนําสงควรใหผูปวยนอนราบไดสบาย ไมควรขับรถดวยความเร็วสูง เพราะนอกจากจะ
ทําใหเกิดการกระทบกระเทือนบาดแผลแลวยังอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุซ้ําอีกได และควรนําผูเห็น
เหตุ ก ารณ ห รื อ ผู ที่ พ บผู ป ว ยคนแรกไปโรงพยาบาลด ว ยเพื่ อ ให ข อ มู ล ที่ เ ป น ประโยชน ต อ
ผูปวย
         1. ชนิดของกระดูกหัก
              ลักษณะการหักของกระดูก แบงเปนชนิดใหญ ๆ ได 2 ชนิด ไดแก ชนิดปด และ
ชนิดเปด การหักของกระดูกทั้งสองชนิด ถาเกิดการกดทับบริเวณปลายกระดูกที่หักก็จะทําใหเกิด
ภาวะแทรกซอนได เชน เกิดอันตรายตอเนื้อเยื่อรอบ ๆ เสนเลือด เสนประสาท เปนตน
              1.1 กระดูกหักชนิดปด ไมมีบาดแผลปรากฏใหเห็นบริเวณผิวหนัง แตอาจมีภาวะ
เลือดตกในได
              1.2 กระดูกหักชนิดเปด ปลายของกระดูกที่หักจะทิ่มทะลุขึ้นมาบนผิวหนัง บาดแผล
ชนิดนี้ตองใหการปฐมพยาบาลอยางระมัดระวัง เนื่องจากเชื้อโรคสามารถผานบาดแผลเขาสูรางกาย
ไดทําใหเกิดการติดเชื้ออยางรุนแรงตามมา ดังภาพที่ 8.19




ภาพที่ 8.19 กระดูกหักชนิดตาง ๆ
ที่มา (แกวจันทรทิพย ไชยสุริยะ (แปล). 2536 : 77)

      2. วิธีเขาเฝอกชั่วคราวในกรณีกระดูกหักแตละชนิด
         วิธีเขาเฝอกชัวคราวในกรณีกระดูกหักแตละชนิด มีดังตอไปนี้
                        ่
         2.1 กระดูกไหปลาราหัก (Clavicle fracture)
                 2.1.1 สาเหตุ มักเกิดขึนขณะที่ผูปวยลมลงตอนที่กําลังเหยียดมือ
                                       ้          
แรงกระแทกทําใหกระดูกไหปลาราหักได
284



                 2.1.2 อาการ เจ็บปวด บวม บริเวณระหวางคอกับไหล ยกแขนขางทีไดรับ
                                                                           ่
บาดเจ็บไมได
                    2.1.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้
                            2.1.3.1 คลองแขนขางที่กระดูกไหปลาราหักดวยผาสามเหลี่ยม
คลองแขนแบบธรรมดาโดยยกปลายแขนใหสูงขึ้นเล็กนอย เพราะเปนทาที่ผูปวยรูสกสบายขึ้น
                                                                               ึ
                            2.1.3.2 ใชผาสามเหลี่ยมอีกหนึ่งผืนพับตามยาวนํามาพันทับแขนขางที่
กระดูกไหปลาราหักไปผูกไวบริเวณใตราวนมฝงตรงขาม เพื่อใหบริเวณกระดูกไหปลาราที่หักอยู
นิ่ง ๆ มากที่สุด ดังภาพที่ 8.20




ภาพที่ 8.20 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกไหปลาราหัก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 156)

             2.2 กระดูกตนแขนหัก (Humerus fracture)
                 บริเวณกระดูกตนแขน อาจหักได 2 ตําแหนง คือ
                 2.2.1 กระดูกตนแขนหักบริเวณใตไหล (หักที่คอกระดูก)
                        2.2.1.1 สาเหตุ อาจเกิดจากหกลมบริเวณหัวไหลกระแทกพื้นอยางแรง
                        2.2.1.2 อาการ
                                1) บวมบริเวณหัวไหล
                                2) เคลื่อนไหวแขนขางนั้นไมได
                                3) กดเจ็บและมีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณที่กระดูกหัก
                        2.2.1.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้
                                1) ผูปฐมพยาบาลควรหาผาเช็ดตัวผืนเล็ก ๆ นํามาพับตามยาว
วางสอดใตรักแรแนบไปกับลําตัวแลวคอย ๆ จับแขนขางหักวางแนบลําตัว
                                2) จากนันใชผาสามเหลี่ยมผืนใหญสองผืนพับตามยาวแลว
                                            ้
พันทับแขนขางหักไปผูกดานขางทรวงอกใตรักแรของแขนขางดี แลวคลองแขนดวยผาสามเหลี่ยม
ดังภาพที่ 8.21
285




ภาพที่ 8.21 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกตนแขนหักบริเวณใตไหล
ที่มา (วิรตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 156)
          ั

                      2.2.2 กระดูกตนแขนหักตอนกลาง
                            2.2.2.1 สาเหตุ ถูกตีที่ตนแขน หรือ หกลมตนแขนฟาดกับพื้นแรง ๆ
                            2.2.2.2 อาการ เคลื่อนไหวแขนขางนั้นไมได หรือ แขนที่บาดเจ็บอาจ
สั้นกวาขางที่ปกติ
                          2.2.2.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้
                                  1) ใชเฝอกชั่วคราว 2 อัน ความยาวไมเทากันอันหนึ่งยาว
ตั้งแตไหลถึงใตศอกลงไปประมาณ 3 นิ้ว อีกอันหนึ่งยาวตั้งแตรักแรถึงใตศอกลงไปประมาณ 3
นิ้ว เชนเดียวกัน
                                  2) เฝอกอันสั้นวางใตรักแรโดยหาผารองรับปลายเฝอกที่ยัน
ใตรกแร เฝอกอีกอันหนึ่งคืออันยาววางดานตรงกันขาม
     ั
                                  3) ผูกเฝอกทังสองประมาณ 3 เปลาะแลวคลองแขนดวย
                                                   ้
ผาสามเหลี่ยม ดังภาพที่ 8.22




ภาพที่ 8.22 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกตนแขนหักตอนกลาง
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 156)
286



            2.3 กระดูกขอมือหรือกระดูกปลายแขนหัก (Wrist or forearm fracture)
                กระดูกปลายแขน มีกระดูก 2 ชิ้น อาจหักชินใดชิ้นหนึ่งหรือทั้ง 2 ชิ้น
                                                        ้
                2.3.1 สาเหตุ มักเกิดจากถูกตีโดยแรง เอามือยันพื้นโดยเอาอุงมือกระแทกพื้น
อยางแรง
                 2.3.2 อาการ บวมบริเวณรอบ ๆ กระดูกทีหก คว่ําหรือหงายมือไมได
                                                             ่ ั
กดเจ็บและมีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณทีกระดูกหัก
                                         ่
                 2.3.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้
                       2.3.3.1 ใชเฝอกชั่วคราวสองอัน ความยาวของเฝอกคือตั้งแตฝามือถึง
เลยขอศอกออกไปประมาณ 3 นิ้ว
                       2.3.3.2 วางเฝอกไวดานนอกและดานในของปลายแขน เฝอกที่วางดาน
ในตองวางประกบลงบนฝามือที่แบออก
                       2.3.3.3 ผูกเฝอกทั้งสองอันดวยผา 2 เปลาะ
                       2.3.3.4 คลองแขนดวยผาสามเหลี่ยม ดังภาพที่ 8.23




ภาพที่ 8.23 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอมือหัก
ที่มา (บุญสม มารติน และเทพนม เมืองแมน. 2533 : 77)

           2.4 กระดูกนิวหัก (Finger fracture)
                          ้
                 2.4.1 สาเหตุ อาจเกิดจากการเลนกีฬา เชน วอลเลยบอล
                 2.4.2 อาการ นิ้วบวม ขยับไมได เจ็บปวดมากเวลาขยับนิ้ว
                 2.4.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้
                         2.4.3.1 ใชไมกดลิ้นหรือไมแบน ๆ ขนาดเทานิ้วมือ นํามาหุมดวยผา
แลววางใตนวที่กระดูกหัก
           ิ้
287



                         2.4.3.2 ใชผาพันแผลชนิดมวนขนาดกวาง 1 นิ้ว พันเปนเกลียวเปด
รอบ ๆ นิ้ว ดังภาพที่ 8.24
                         2.4.3.3 หรือใชผาพันแผลชนิดมวนพันนิวแบบกลับไปกลับมา
                                                              ้




ภาพที่ 8.24 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกนิวหัก
                                        ้
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 159)

             2.5 กระดูกขอศอกหัก (Elbow fracture)
                   2.5.1 สาเหตุ อาจหกลมและใชมือดานนั้นยันพื้น ถูกตีบริเวณขอศอก
                   2.5.2 อาการของกระดูกขอศอกหัก มีดังตอไปนี้
                          2.2.2.1 บวมบริเวณขอศอก เจ็บปวดมาก
                          2.5.2.2 พับและเหยียดแขนไมไดเต็มที่
                          2.5.2.3 อาจคลําพบปลายกระดูกหัก ดานใดดานหนึ่งเหนือขอศอก
                   2.5.3 ลักษณะการหักของกระดูกขอศอก
                          กระดูกขอศอกหักมีหลายลักษณะ บางครั้งเมื่อหักแลวแขนอยูในลักษณะ
เหยียด บางครั้งแขนอาจจะอยูในลักษณะงอมากหรืองอเล็กนอยก็ได ผูปฐมพยาบาลอยาพยายาม
เปลี่ยนลักษณะของการหัก ไมวาหักแลวจะงอเปนลักษณะใดก็เขาเฝอกชั่วคราวหรือทําการปฐม
พยาบาลไปตามที่พบ ดังนี้
                         2.5.3.1 กระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอมาก (Arm flexed) มี
วิธการเขาเฝอกชั่วคราว ดังนี้
   ี
                                  1) ใชผาสามเหลี่ยมแบบพับตามยาว 2 ผืน
                                  2) ผืนที่หนึงพันทับแขนขางที่ขอศอกหักแลวออมไปผูกไวใต
                                              ่
ราวนมดานตรงขาม ผืนที่สองผูกขอมือแขวนคลองคอ ดังภาพที่ 8.25
288




ภาพที่ 8.25 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอมาก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 157)

                          2.5.3.2 กระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอเล็กนอย (Arm extended)
มีวิธีเขาเฝอกชัวคราวดังนี้
                 ่
                                  1) ใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว 2 ผืน
                                  2) ผืนที่หนึงพันทับแขนขางที่ขอศอกหักบริเวณเหนือศอก
                                              ่                 
แลวออมไปผูกไวใตราวนมดานตรงขาม
                                  3) ผืนที่สองพันทับแขนขางเดียวกันตรงบริเวณใตศอกแลว
ออมไปผูกไวดานตรงขามใตผืนที่หนึ่ง ดังภาพที่ 8.26




ภาพที่ 8.26 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอศอกหักในลักษณะงอเล็กนอย
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 158)
289



                         2.5.3.3 กระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอเปนรูปมุมฉาก (Arm
flexed at right–angle) มีวิธีเขาเฝอกชั่วคราว ดังนี้
                                     1) ใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว 2 ผืน แตละผืน ผืนที่หนึ่งใช
คลองแขน
                                     2) ผืนที่สอง พันทับแขนขางที่กระดูกขอศอกหัก ตรงบริเวณ
เหนือขอศอก แลวออมไปผูกไวใตราวนมดานตรงขาม ดังภาพที่ 8.27




ภาพที่ 8.27 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอเปนรูปมุมฉาก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 158)

                         2.5.3.4 กระดูกขอศอกหักแขนอยูในลักษณะงอ (Bent position) มีวธี
                                                                                          ิ
เขาเฝอกชั่วคราวอีกแบบ ดังนี้
                                    1) ใชเฝอกชั่วคราว 1 อัน ซึ่งมีความกวางประมาณ 2 ½ - 3
นิ้ว ความยาวประมาณ 18–20 นิ้ว วางใตศอกที่งอ
                                    2) แลวผูกดวยผา 1 ผืนใหมลักษณะไขวเหมือนเครื่องหมายคูณ
                                                                   ี
ดังภาพที่ 8.28 (ก)
                         2.5.3.5 กระดูกขอศอกหักแขนอยูในลักษณะเหยียด (Straight position)
                                                                 
มีวธีเขาเฝอกชัวคราว 2 วิธี ดังนี้
    ิ           ่
                                    1) วิธีที่ 1 ใชเฝอกชั่วคราว 2 อัน กวางประมาณ 3 นิ้ว
ความยาวตั้งแตขอมือถึงเหนือไหลขึ้นไปประมาณ 3 นิ้ว นํามาวางตามยาวไปกับรูปแขนทาง
290



ดานหนาและดานหลังของไหล จากนันผูกเฝอก 5 เปลาะ ดังนี้ ผูกเหนือศอก 2 เปลาะ ใตศอก
                                ้
2 เปลาะ และเหนือไหล 1 เปลาะ ดังภาพที่ 8.28 (ข)




                         (ก)                            (ข)


ภาพที่ 8.28 การเขาเฝอกชัวคราวกระดูกขอศอกหักโดยใชเฝอกไม
                          ่
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 159)

                               2) วิธที่ 2 ใหผูปวยนอนหงาย ใหขอศอกขางที่หักแนบลําตัว
                                       ี
หาผานุม ๆ รองระหวางแขนกับลําตัว ใชผาผูก 3 เปลาะดังตอไปนี้ รอบขอมือกับ ตนขา รอบทอน
แขนกับลําตัว รอบตนแขนกับหนาอก ดังภาพที่ 8.29




ภาพที่ 8.29 การเขาเฝอกชัวคราวกระดูกขอศอกหักแบบเหยียดโดยใชผา
                          ่
ที่มา (อัจฉรา วัจนาภิญโญ. 2530 : 169)
291



               2.6 กระดูกซี่โครงหัก (Rib fracture)
                    2.6.1 สาเหตุ อาจเกิดจากอุบัติเหตุทางรถยนต พวงมาลัยรถกระแทกบริเวณ
หนาอกหรือหกลมหนาอกกระแทกพื้น การหักจะตองเปนลักษณะหักยุบ มิใชหักแลวกระดูก
ซี่โครงแทงทะลุผิวหนังออกมา
                    2.6.2 อาการ เจ็บปวดบริเวณที่บาดเจ็บ ถาหายใจลึก ๆ หรือไอ ตองหายใจ
ตื้น ๆ เทานั้น ตึงรอบ ๆ ซี่โครง กระดูกซี่โครงอาจมีการเคลื่อนไหวที่ผดปกติ
                                                                     ิ
                    2.6.3 วิธเี ขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้
                          2..6.3.1 ใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาวสามผืน แตละผืนกวางประมาณ
4 นิ้ว
                          2.6.3.2 ผืนที่ 1 พันทับลงไปตรงตําแหนงทีหัก แลวผูกใหแนนพอควร
                                                                   ่
ใตรักแรขางทีกระดูกซี่โครงไมหัก ขณะผูกตองบอกใหผูปวยหายใจออกเพื่อผาจะไดไมหลวมและ
                ่
หลุดออกงาย และควรหาผาพับตามยาววางใตรักแรเพื่อรองรับปมผาที่ผูกและปองกันปมผากดเนือ   ้
บริเวณใตรักแร ดังภาพที่ 8.30 (ก)
                          2.6.3.3 ผืนที่2 และผืนที่ 3 วางเหนือและใตผืนที่หนึ่งแลวผูก
เชนเดียวกัน ดังภาพที่ 8.30 (ข) และ (ค)




                 (ก)                         (ข)                        (ค)

ภาพที่ 8.30 การเขาเฝอกชัวคราวกระดูกซี่โครงหัก
                          ่
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 162)

            2.7 กระดูกขาหัก
                กระดูกขา สามารถแบงไดเปน
                2.7.1 ตนขา (Femur fracture)
                      2.7.1.1 สาเหตุ มักเกิดจากถูกตีโดยแรง หรือ ตกจากที่สูง
292



                          2.7.1.2 อาการ บวมบริเวณรอบ ๆ กระดูกที่หัก, ปลายเทามักจะบิดไป
ดานขาง ขาขางที่หักสั้นกวาปกติ / คลําพบปลายกระดูกที่หัก ดังภาพที่ 8.31




ภาพที่ 8.31 กระดูกตนขาหักปลายเทาบิดไปดานขาง
ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 168)

                         2.7.1.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้
                                  1) ใชเฝอกชัวคราว 2 อัน ความกวางเทากันประมาณ 5 นิ้ว
                                                  ่
ความยาวไมเทากัน อันหนึ่งยาวตั้งแตรกแรถึงใตขอเทาลงไปอยางนอย 6 นิ้ว อีกอันหนึ่ง
                                      ั
ยาวตั้งแตขาหนีบถึงใตขอเทาลงไปอยางนอย 6 นิ้ว เชนเดียวกัน
                                  2) เฝอกอันยาววางทาบไวดานนอกของขาโดยมีผาพับรองรับ
ปลายเฝอกใตรักแร เฝอกอันสั้นวางระหวางขาทั้งสองขางโดยมีผาพับรองรับปลายเฝอกบริเวณขา
หนีบ
                                  3) ผูกเฝอกทังสองอัน 5 เปลาะ ตั้งแตตนขา เขา และขอเทา
                                                    ้                     
และผูกอีกสองเปลาะที่บริเวณตะโพกและอก
                                  4) ผูกขาขางดีและขาขางทีหักติดกันอีกสองเปลาะ ดังภาพที่
                                                               ่
8.32
293




ภาพที่ 8.32 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกตนขาหัก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 160)

                   2.7.2 กระดูกหนาแขงหัก (Lower leg fracture) มีกระดูก 2 ชิ้น อาจหัก
ชิ้นใดชิ้นหนึ่งหรือทั้ง 2 ชิ้น
                             2.7.2.1 สาเหตุ มักเกิดจากถูกตีโดยแรง หรือ หกลมหนาแขงฟาดพืน   ้
                             2.7.2.2 อาการ บวมลงไปถึงขอเทาขางที่ไดรับบาดเจ็บ หรือ รูปราง
ของขาผิดปกติไป มีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณทีกระดูกหัก    ่
                             2.7.2.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้
                                     1) ใชเฝอกชั่วคราว 2 อัน กวางประมาณ 4 นิ้ว ความยาว
ตั้งแตขาหนีบถึงใตขอเทาลงไปอยางนอย 6 นิ้ว
                                     2) วางเฝอกอันหนึ่งไวดานนอกของขา อีกอันหนึ่งวาง
ระหวางขาทั้งสองขางโดยมีผาพับรองรับปลายเฝอกบริเวณขาหนีบ
                                     3) ผูกเฝอกทั้งสองอัน 3 เปลาะ บริเวณเหนือเขา 1 เปลาะ ใต
เขา 1 เปลาะ บริเวณเขา 1 เปลาะ ดังภาพที่ 8.33
294




ภาพที่ 8.33 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกหนาแขงหัก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 161)

           2.8 กระดูกเทาหัก
                 2.8.1 สาเหตุ มักเกิดจากของมีน้ําหนักตกใสเทา
                 2.8.2 อาการ บวมบริเวณรอบ ๆ กระดูกทีหัก ไมสามารถใชเทา และ/หรือ
                                                              ่
ขอเทาได กดเจ็บ และมีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณทีกระดูกหัก
                                                       ่
                 2.8.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้
                          2.8.3.1 ใชกระดาษหนังสือพิมพ หรือ ผาหนา ๆ นุม ๆ รองบริเวณที่หัก
                          2.8.3.2 ใชผาพันไขวกันทีดานหลังของขอเทา แลวพันไขวกันมายัง
                                                     ่
ดานหนาแลวผูกเงื่อนที่ใตฝาเทา ดังภาพที่ 8.34
                            




                                  (ก)
                                                                        (ข)

ภาพที่ 8.34 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกเทาหัก
ที่มา (อัจฉรา วัจนาภิญโญ. 2530 : 177–178)

           2.9 กระดูกสะบาแตก (Patella or knee fracture)
               2.9.1 สาเหตุ หกลม หรือ ตกจากทีสูงเอาหัวเขาลงพื้น
                                               ่
               2.9.2 อาการ ปวดบวมบริเวณเขา ลงน้ําหนักขาไมได
               2.9.3 การแตกของกระดูกสะบา มี 2 ลักษณะ ดังนี้
295



                        2.9.3.1 กระดูกสะบาแตกเขาอยูในลักษณะเหยียด วิธีเขาเฝอกชั่วคราว
มีขั้นตอน ดังนี้
                                1) ใชเฝอกชั่วคราว 1 อัน กวางประมาณ 5–6 นิ้ว ยาวตั้งแต
ตะโพกถึงใตสนเทาลงไปเล็กนอย
            
                                 2) สอดเฝอกเขาใตขา รองใตเขาและใตขอเทาดวยผาหรือ
กระดาษหนังสือพิมพ ผูกขาใหติดกับเฝอก 4 เปลาะ ดังภาพที่ 8.35
                         2.9.3.2 กระดูกสะบาแตกแลวเขาอยูในลักษณะงอ วิธีเขาเฝอกชั่วคราว
                                                            
คือ อยาพยายามดึงใหเขาเหยียด ควรเขาเฝอกไมเชนเดียวกับกระดูกขอศอกหักในทาแขนงอ โดย
วางเฝอกไมไวดานนอกของขา ดังภาพที่ 8.28 (ก)




ภาพที่ 8.35 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกสะบาแตก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 162)

             2.10 กระดูกเชิงกรานหัก (Pelvic fracture)
                  2.10.1 สาเหตุ หกลมกนกระแทก หรือตกจากทีนั่ง    ่
                  2.10.2 อาการ ปวด ขยับตัวไมได
                  2.10.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้
                          2.10.3.1 ใชเฝอกไม 1 อัน ความกวางอยางนอย 12 นิว ความยาวให
                                                                                ้
ยาวกวาตัวผูปวยเล็กนอย
              
                          2.10.3.2 สอดไมเผือกเขาใตลําตัวผูปวยดานที่กระดูกเชิงกรานหัก
                          2.10.3.3 ผูกขาขางที่กระดูกเชิงกรานหักใหติดกับเฝอก 3 เปลาะ
และผูกบริเวณอกถึงทองอีกประมาณ 3 เปลาะ
                          2.10.3.4 พับผาหมวางตามยาวระหวางขาทั้งสองขาง
                          2.10.3.5 ผูกขาขางที่กระดูกเชิงกรานไมหัก ใหติดกับขาขางที่กระดูก
เชิงกรานหักอีก 2 เปลาะ ดังภาพที่ 8.36
296




ภาพที่ 8.36 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกเชิงกรานหัก
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 161)

             2.11 กระดูกสันหลังหัก (Spinal fracture)
                  2.11.1 สาเหตุ ตกจากที่สูง อุบัติเหตุทางรถยนต และรถจักรยานยนต
                  2.11.2 อาการ เจ็บปวดอยางรุนแรงที่หลังและคออาจหมดความรูสึกที่แขนขา
ไมสามารถขยับนิ้วมือนิวเทาได มีเลือดหรือของเหลวอื่น ๆ ไหลออกจากปาก หู จมูก
                        ้
                 2.11.3 วิธีการเขาเฝอกชั่วคราว มี 2 วิธี ไดแก
                          2.11.3.1 วิธีที่ 1 ใชเฝอกไมกระดานแผนยาวเทากับตัวผูปวย มีขั้นตอน
                                                                                 
ดังนี้
                                   1) เฝอกไมกระดานชนิดความยาวเทากับตัวผูปวย จะใชไม
กระดานที่มอยูแลว หรือใชบานประตูก็ได
             ี
                                   2) การเขาเฝอกใหผูปวย จําเปนตองมีผูปฐมพยาบาลอยาง
                                                           
นอย สี่คน เพือปองกันอันตรายที่จะเกิดกับผูปวยในขณะเขาเฝอก
               ่
                                   3) วางเฝอกไมกระดานใหขนานกับตัวผูปวย ผูปฐมพยาบาล
สามคนยืนเรียงกันแลวคุกเขาลงขางตัวผูปวย ผูปฐมพยาบาลคนที่สี่คุกเขาลงเหนือศีรษะผูปวย
มีหนาที่ชวยประคองศีรษะผูปวยใหหันตามในขณะที่ผูปฐมพยาบาลทั้งสามคนจับผูปวยตะแคงเพื่อ
                             
สอดเฝอกไมกระดาน
                                   4) สิ่งสําคัญที่สุด คือ ผูปฐมพยาบาลทุกคนตองชวยกัน
ประคองรางกายผูปวยทุกสวน ขณะทีจับผูปวยตะแคง ดังภาพที่ 8.37 (ก) คนที่อยูตรงกลางจะเปน
                                      ่
ผูเลื่อนไมกระดานเฝอก ดังภาพที่ 8.37 (ข) จากนันผูปฐมพยาบาลทุกคนจะคอย ๆ ประคองผูปวย
                                                    ้
นอนบนไมกระดานเฝอกอยางระมัดระวัง ดังภาพที่ 8.37 (ค) ขณะจับผูปวยตะแคงเพือสอดเฝอก
                                                                                  ่
ไมกระดานนี้ ตองมีผูปฐมพยาบาล 1 คนเปนผูนับจังหวะในการปฏิบัติเพื่อใหพรอมเพรียงกัน
297



                                  5) หาผาหนา ๆ หรือใหผาหอกระดาษหนา ๆ สอดเขาใตคอ
และหอคอไวเพื่อปองกันกระดูกตนคอเคลื่อนไหวหันไปมาได จับสวนปลายเทาทั้งสองขางให
ตั้งขึ้น แลวใชหนังสือหรือหนังสือพิมพพบรองรับฝาเทาทั้งสองขางและผูกยึดไวกับขอเทา ไมให
                                        ั
ปลายเทาตก มัดมือสองขางประสานกันไวบนหนาทอง จากนั้นผูกผูปวยใหติดกับเฝอกหลาย ๆ
เปลาะ ตั้งแตหนาผากถึงขอเทา ประมาณ 11 เปลาะ ดังภาพที่ 8.37 (ง)




                                                (ก)




                                         (ข)




                                           (ค)




                                          (ง)
ภาพที่ 8.37 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกสันหลังหักโดยใชไมกระดานแผนยาว
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 164)
298



                                       2.11.3.2 วิธที่ 2 ใชเฝอกไมกระดานแผนสั้นซึ่งมีความยาว
                                                    ี
เทากับครึ่งตัวผูปวย ใชในกรณีที่ผูปวยติดอยูในรถแลวมีปญหาที่กระดูกสันหลัง ไมสะดวกตอการ
นําเฝอกไมกระดานแผนยาวเทากับตัวผูปวยมาใช ในกรณีที่รถยนตชนกัน ผูปวยจะอยูในทานั่ง
                                            
เฝอกไมกระดานแผนสั้นนีใชหามผูปวยไมไดจะตองใชเฝอกไมกระดานแผนยาวรวมดวย
                            ้
มีขั้นตอน ดังนี้
                                       1) ผูปฐมพยาบาลคนหนึ่งเขาชวยเหลือทางดานหลังผูปวย    
ดวยการดามลําคอไวในลักษณะเงยเล็กนอย ดังภาพที่ 8.38 (ก) ผูปฐมพยาบาลอีกคนหนึ่งสอดเฝอก
ไมกระดานเขาใตหลังผูปวย ถาเปนไปไดความยาวของเฝอกจะตองยาวตั้งแตศีรษะถึงสะโพก
ดังภาพที่ 8.38 (ข)
                                       2) พยายามประคองอยาใหศีรษะเคลื่อนไหว ยึดศีรษะผูปวย
ใหติดกับเฝอกไมกระดานโดยใชผาพันผืนที่หนึ่ง พันรอบหนาผาก อีกผืนหนึ่งพันรอบคอโดยยึด
คางเขาไปดวย อีกสามผืนพันรอบอกและเอวใหตดกับเฝอกไมกระดาน ดังภาพที่ 8.38 (ค)
                                                      ิ
                                       3) คอย ๆ ขยับตัวผูปวยออกจากที่น่ง แลวเลื่อนตัวผูปวยให
                                                                         ั                  
นอนหงายราบบนเฝอกไมกระดานแผนยาวที่เตรียมไว




                                          (ก)




                       (ข)                                 (ค)

ภาพที่ 8.38 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกสันหลังโดยใชไมกระดานแผนสั้น
ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 165)
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม
มม

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
crunui
 
การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรม
Benz_benz2534
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
Sandee Toearsa
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
krusarawut
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
การยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
การยอมรับนวัตกรรม
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
เลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟันเลขบอกซี่ฟัน
เลขบอกซี่ฟัน
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2
 
Collaborative learning
Collaborative learningCollaborative learning
Collaborative learning
 
Swot
 Swot Swot
Swot
 
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียงฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 
เอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริมเอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริม
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 

Similar to มม

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
Chok Ke
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
Wanlop Chimpalee
 

Similar to มม (11)

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
Basketwork Ceramics
Basketwork CeramicsBasketwork Ceramics
Basketwork Ceramics
 
ใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ใบความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgery
 
คอม11
คอม11คอม11
คอม11
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Flap Basketwork
Flap BasketworkFlap Basketwork
Flap Basketwork
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
7114 8251-1-pb
7114 8251-1-pb7114 8251-1-pb
7114 8251-1-pb
 

มม

  • 1. บทที่ 8 ทักษะพื้นฐานในการปฐมพยาบาล ทั ก ษะพื้ น ฐานในการปฐมพยาบาลเป น สิ่ ง สํา คั ญที่ ค วรศึ ก ษาและฝ ก ซอ มใหเ กิ ด ความ ชํานาญ เชน การพันผา การเขาเผือกชั่วคราว และการเคลื่อนยายผูปวย โดยเฉพาะการไดรับ บาดเจ็บจากอุบัติเหตุตาง ๆ ที่สงผลกระทบตอกระดูก ขอตอ ซึ่งในสภาวะฉุกเฉินนั้นจําเปนอยางยิ่ง ที่ตองใชวัสดุอุปกรณที่หาไดในพื้นที่มาใชในการปฐมพยาบาลผูปวย ดังนั้น ทักษะพื้นฐานในการ ปฐมพยาบาลจึงเปน สิ่งสําคัญในการบรรเทาอาการบาดเจ็บของผูปว ยและลดอันตรายจากการ เคลื่อนยายผูปวยกอนสงโรงพยาบาล การพันผา การพันผา(Bandaging) เปนสิ่งจําเปนมากสําหรับการปฐมพยาบาลเพราะชวยปองกันสิ่ง สกปรกไมใหเขาสูบาดแผล ชวยหามเลือด และใชคลองแขนได การพันผาเปนเทคนิคที่งายตอการ ปฏิบัติ สิ่งสําคัญในการพันผาคือตองพันใหแนนพอที่จะหามเลือดได หรือพันใหแนนพอที่จะ ไมใหกระดูกเคลื่อนที่ในรายกระดูกหัก ดังนั้นผูปฐมพยาบาลจะตองฝกพันผาเสมอ ๆ จนกระทั่ง สามารถพันไดอยางถูกตองและรวดเร็ว และควรเรียนรูพื้นฐานเกี่ยวกับเทคนิคการพันผาไวประมาณ 2–3 วิธี เพื่อจะไดดัดแปลงพันสวนตาง ๆ ของรางกายไดทกสวน ุ 1. ชนิดของผาพันแผลที่ใชในการปฐมพยาบาล ชนิดของผาพันแผลที่ใชในการปฐมพยาบาล แบงออกได 2 ชนิด คือ (วิภาพร วรหาญ, จงรัก อิฐรัตน และสุวรรณา บุญยะลีพรรณ (บก.). 2541 : 141) 1.1 ผาพันแผลชนิดเปนมวน ผาพันแผลชนิดเปนมวน (Roller bandage) แบงเปนผากอซธรรมดา กับผามวนยืด มวนเปนรูปทรงกระบอก มีขนาดตาง ๆ กัน ทั้งความกวางและความยาว เชน มีความกวางตั้งแต 1- 6 นิ้ว การเลือกใชขึ้นอยูกับอวัยวะที่บาดเจ็บ เชน ที่นิ้วมือควรเลือกขนาด 1 นิ้ว แตถามีบาดแผลที่ ศีรษะควรเลือกขนาด 6 นิ้ว เปนตน ผากอซธรรมดาสวนมากจะผานกรรมวิธีของการฆาเชื้อโรค แลว ทําใหสะดวกแกการนํามาใชหามเลือดแทนผาที่ไมสะอาด สวนผาพันแผลชนิดมวนยืด เหมาะ สําหรับพันขอตาง ๆ เชน ขอศอก ขอเขา ขอเทา เปนตน เพราะทําใหขอไดพกนิ่ง ๆ และไมหลุด ั งาย นอกจากนี้ยังเหมาะที่จะใชพนเฝอกอีกดวยในบางกรณี ั
  • 2. 268 1.2 ผาพันแผลชนิดเปนรูปสามเหลี่ยม ผาพันแผลรูปสามเหลี่ยม (Triangular bandage) ใชประโยชนไดหลายอยาง เชน ใชคลองแขน ใชมัดเฝอก เปนตน เปนผาอะไรก็ไดที่เปนรูปสามเหลี่ยม หรืออาจดัดแปลงจาก ผาสี่เหลี่ยมจัตุรัสพับครึ่งก็ได แตตองเปนผาที่นุม ไมแข็งจนเกินไป ที่สําคัญตองสะอาด ควรมีฐาน กวางประมาณ 60 นิ้ว ดานขางยาวประมาณ 30 นิ้ว ในบางเวลาวัสดุดังกลาวอาจหาไมได ดังนั้นผูปฐมพยาบาลอาจตองดัดแปลง วัสดุอื่นมาใชแทน เชน ผาเช็ดหนา ผาเช็ดตัว เสื้อผา หรือแมแตเข็มขัดผา แตจะตองเลือก เฉพาะที่สะอาด ๆ เทานั้น ชนิดของผาพันแผลแสดง ดังภาพที่ 8.1 ยอด 30 นิ้ว 30 นิ้ว ฐาน 60 นิ้ว (ก) ผาพันแผลชนิดเปนมวน (ข) ผาพันแผลชนิดเปนรูปสามเหลี่ยม ภาพที่ 8.1 ชนิดของผาพันแผล ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 146) 2. จุดประสงคของการพันผา จุดประสงคของการพันผาพันแผล มีดังตอไปนี้ 2.1 เพื่อปองกันบาดแผลไมใหสกปรก เชน การพันทรวงอก 2.2 เพื่อชวยหามเลือด เชน การใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว พันหามเลือดบริเวณ  หนาผาก 2.3 เพื่อปองกันการเคลื่อนไหวของอวัยวะบางสวน เชน การใชผาคลองแขน 2.4 เพื่อยึดยาและผาปดแผลใหอยูกับที่ เชน การพันเกลียวเปด 2.5 เพื่อปองกันอวัยวะตาง ๆ ไมใหเสียรูปทรง เชน การใชผามวนยืดพันรูปเลขแปด  2.6 เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดและลดอาการบวม เชน การใชผามวนยืด 2.7 เพื่อใหเกิดความอบอุนแกบริเวณบาดแผล เชน การพันเกลียวบิดกลับ 
  • 3. 269 3. ขอควรปฏิบัติเมื่อใชผาพันแผล  ผูปฐมพยาบาลมีขอควรปฏิบัติ ดังตอไปนี้ (พิชิต ภูตจนทร. 2535 : 88) ิั 3.1 ใหผูปวยนั่งหรือนอนในทาที่สบายไมเกร็งกลามเนือบริเวณทีจะพันผา  ้ ่ 3.2 ยกบริเวณที่พนใหสูง ตองมีที่หนุนหรือหมอนรองรับ ั 3.3 จัดสวนที่พันใหอยูในลักษณะที่เปนปกติ ตําแหนงที่พันควรสะอาด และแหง 3.4 กอนพันผา ถามีบาดแผลควรทําความสะอาด และใชผาหรือสําลีรองกอน 3.5 อยาปลอยใหผวหนังตอผิวหนังแนบติดกัน ควรมีผาคั่นกอน ปองกันผิวหนัง ิ แฉะ / เปอย 3.6 ถาตองการพันเพื่อกดบริเวณนั้น ตองยืดสวนนั้นใหตรงเสียกอน มิฉะนั้นจะทํา ใหมีการบวมเกิดขึ้นที่สวนลางของผาพัน 3.7 เวลาพันบริเวณที่มีการอักเสบ อยาพันรัดแนนเกินไป 3.8 ผากอซนิยมใชกับอวัยวะทุกแหง ผามวนยืดเหมาะสําหรับขอเคล็ด แพลง กลามเนื้อฉีก สวนผาสามเหลี่ยมเหมาะสําหรับทําที่คลองแขนและปองกันไมใหแผลสกปรก การพันผารูปแบบตาง ๆ กอนที่จะใชผาพันแผลผูปฐมพยาบาลจะตองเตรียมบริเวณที่จะพันผาเสียกอน เชน มี บ าดแผลหรื อ มี ร อยฉี ก ขาด ควรทํ า ความสะอาดปาดแผลและป ด บาดแผลด ว ยผ า ที่ ส ะอาด ปราศจากเชื้อโรค ขนาดของผาพันแผลที่นํามาใชจะตองเหมาะกับขนาดของบาดแผล โดยทั่ว ๆ ไป จะใชขนาด 2–4 นิ้ว ถาบาดแผลใหญจะตองใชขนาดกวางกวานี้ สวนความยาวของผาพันแผล จะขึ้นอยูกับความรุนแรงของบาดแผล เชน ถาไมมีการตกเลือดควรพันผาหนึ่งหรือสองทบแลว ผูกยึดใหแนนก็เพียงพอ แตถามีการตกเลือดมากจําเปนตองพันผาหลาย ๆ ทบ ใหแนนพอควร เพื่อดูดซับเลือดที่ออก และกดบาดแผลใหเสนเลือดแฟบ เมื่อพันผาเสร็จแลวควรใหบาดแผลอยู ตรงกลาง และขอบของผาควรกวางกวาขอบบาดแผลอยางนอยหนึ่งนิ้ว 1. ผาพันแผลชนิดเปนมวน 1.1 การใชผามวน การใชผามวน มีหลักในการพันดังนี้ (พิชิต ภูติจนทร. 2535 : 88-89) ั 1.1.1 ตองยืนดานหนาของผูปวยเสมอ 1.1.2 มวนผาใหแนนเสียกอน ใชมือขวาหรือมือที่ถนัดจับมวนผาหงายขึ้น จับชายผาดวยมือซายหรือมืออีกขางเพื่อสะดวกในการพัน โดยวางปลายผาบนบริเวณต่ํากวา บาดแผลเล็กนอย แลวจึงเริ่มพัน
  • 4. 270 1.1.3 พันจากสวนเล็กมาหาสวนใหญ พันจากดานในออกดานนอก หรือพันจาก ดานลางขึ้นดานบน 1.1.4 อยาพันแนนเกินไป ใหกระชับแผลพอสมควร เพราะจะทําใหเลือด ไหลเวียนไดไมสะดวก ขณะพันผา ควรถามผูปวยวาแนนเกินไปหรือไม ถาแนนเกินไปตองคลาย ออก 1.1.5 การแกผาพันแผล ควรแกทีละรอบและมวนไปในตัว หากจําเปนอาจใช กรรไกรตัดได 1.2 ขั้นตอนการพันผาพันแผลชนิดมวน วิธีพันผาพันแผลชนิดมวน แบงเปน 3 ขั้น ไดแก (วิรัตน ศรีนพคุณ และ ศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 146-151) 1.2.1 ขั้นเริ่มตน เปนการยึดปลายผาเพื่อไมใหผาพันแผลลื่นหลุด โดยจับมุมผา เฉียงขึ้นแลวพันเปนวงรอบหนึ่งรอบกอน รอบที่สองพับมุมผาลงแลวพันทับตอไป ดังภาพที่ 8.2 ภาพที่ 8.2 การพันแผลขั้นเริมตน ่ ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 147) 1.2.2 ขั้นพัน โดยทัว ๆ ไป นิยมพันเปนรูปเกลียว หรือบันไดเวียน รูปเลข ่ แปด และพันกลับไปกลับมา 1.2.3 ขั้นจบผาพัน การจบผาพันแผล จบหลังจากไดมการพันโดยวิธตาง ๆ ี ี เรียบรอยแลว ซึ่งจะตองมีการผูกหรือยึดชายผาพันแผล สามารถทําไดหลายวิธี เชน ใชแถบกาว ปดทับชายผาพันแผล ใชเข็มซอนปลายกลัดยึด ใชผูกชายผาพันแผล วิธีงายที่สด คือผูกชายผา ุ พันแผล โดยฉีกชายผาพันแผลออกเปนสองแฉก แลวผูกหนึ่งเงื่อนกอนแลวจึงจับชายผาทั้งสองแฉก ออมไปทางดานหลังแลววกกลับมาผูกดานหนาอีกครั้ง ดังภาพที่ 8.3
  • 5. 271 ผูกปมสุดตําแหนงที่ตัด พันสวน ปลายที่ตัดไว อีกรอบหนึ่ง ภาพที่ 8.3 การจบผาพันโดยวิธีผูกชายผาพันแผล ที่มา (เรืองศักดิ์ ศิริผล. 2541 : 206) 1.3 รูปแบบการพันผาชนิดมวน 1.3.1 การพันเปนรูปเกลียว (Spiral bandages) มี 4 ชนิด 1.3.1.1 การพันเปนรูปเกลียวสมบูรณ (Complete spiral) หรือ การพัน เปนวงกลม (Circular turn) พันซอนเปนชั้น ๆ ไมขยายบริเวณ ดังภาพที่ 8.4 (ก) 1.3.1.2 การพันเปนรูปเกลียวปด (Close spiral) เริ่มขั้นเริ่มตนตอดวย เกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ หลังจากนัน พันซอนเปนชั้น ๆ แตละชั้นจะซอนกันเพียงครึ่งหนึ่งของ ้ ความกวางของผา ดังภาพที่ 8.4 (ข) 1.3.1.3 การพันเปนรูปเกลียวเปด (Open spiral) เริ่มขั้นเริ่มตนตอดวย เกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ หลังจากนัน พันเปนรอบ แตละรอบไมซอนกัน แตจะแยกจากกัน เพือ ้ ่ ยึดผาปดบาดแผลที่มีบริเวณกวาง เชน แผลไหม ดังภาพที่ 8.4 (ค) 1.3.1.4 การพันเปนรูปเกลียวบิดกลับ (Spiral reverse ) เริ่มขั้นเริ่มตน ตอดวยเกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ หลังจากนั้นจึงพันเปนรูปเกลียวแลวพับผากลับออมดานหลัง การพันชนิดนีดกวาการพันเปนรูปเกลียวปดเพราะแนนและมั่นคงกวา เหมาะกับอวัยวะที่มปลาย ้ี ี เล็กโคนใหญ เชน แขน ขาสวนปลาย ดังภาพที่ 8.4 (ง)
  • 6. 272 (ก) เกลียวสมบูรณ (ข) เกลียวปด (ค) เกลียวเปด (ง) เกลียวบิดกลับ ภาพที่ 8.4 การพันเปนรูปเกลียว ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 148) 1.3.2 การพันเปนรูปเลขแปด (Figure of eight bandages) การพั น เปน รูปเลขแปด เหมาะสํ า หรับพัน มื อ เท า หรือตามข อต าง ๆ เช น ขอมือ ขอเทา ขอศอก เริ่มดวย ขั้นเริ่มตน จากนั้นพันแบบเกลียวสมบูรณ 2-3 รอบกอน แลวจึง ตอดวยวิธพันเปนรูปเลขแปด โดยพันทะแยงขึ้นสลับกับพันทะแยงลงซอนกันไปเรื่อย ๆ ตามความ ี ยาวที่ตองการ ดังภาพที่ 8.5
  • 7. 273 (ก) พันมือ (ข) พันเขา (ค) พันขอเทาและเทา ภาพที่ 8.5 การพันเปนรูปเลขแปด ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 149) การพันขอมือจะพันเหมือนการพันมือ การพันขอเทาจะพันเหมือนการพันเทา แต จ ะต อ งเริ่ ม ต น พั น ที่ บ ริ เ วณต่ํ า กว า บริ เ วณบาดแผลเล็ ก น อ ย เช น พั น ข อ มื อ ควรเริ่ ม ต น พั น ที่ งามหัวแมมือ ทั้งนี้เพื่อจะไดใชความยาวของผาเกือบทั้งหมดไปพันขอมือและขอเทาใหหนา ๆ เปนการประคับประคองขอมือและขอเทาที่เคล็ด สําหรับการพันขอศอกก็พันเหมือนกับการพันขอ เขา ขอศอกเริ่มตนที่ปุมแหลม ขอเขาเริ่มตนที่กระดูกสะบา 1.3.3 การพันกลับไปกลับมา (Recurrent bandage) การพันกลับไปกลับมา ใชเฉพาะพันนิ้วและพันศีรษะ ดังนี้ 1.3.3.1 การพันนิว ผูปฐมพยาบาลควรเลือกผาพันขนาดหนึ่งนิว วิธพน ้  ้ ี ั เริ่มตนที่โคนนิ้วแลวออมขึ้นไปปดปลายนิ้วแลววกกลับลงมาที่โคนนิ้วอีกดานหนึง แลวทบกลับไป ่ กลับมาเหมือนเดิมอีกสองหรือสามครั้ง จากนั้นพันเปนรูปเกลียวปดโดยเริ่มจากโคนนิ้วขึนไป ้ ปลายนิ้วแลววกกลับลงมาสิ้นสุดที่โคนนิ้วเชนเดิม ดังภาพที่ 8.6
  • 8. 274 ภาพที่ 8.6 การพันนิว้ ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 150) 1.3.3.2 การพันศีรษะ ผูปฐมพยาบาลควรใชผาที่สะอาดปราศจากเชือปด ้ บาดแผลบนหนังศีรษะกอน หลังจากนันเริมดวยขันเริ่มตน เริ่มจากหนาผากผานระดับเหนือใบหู ้ ่ ้ เลยไปดานหลังศีรษะตอดวยเกลียวสมบูรณ 2-3 รอบ และใหรอบสุดทายของเกลียวสมบูรณ มา สิ้นสุดตรงจุดกึ่งกลางของหนาผาก จากจุดนี้พันขามมาสวนบนของศีรษะไปที่จดกึงกลางดานหลัง ุ ่ ศีรษะ จากนั้นพันกลับไปที่จดกึ่งกลางของหนาผากแลวพันกลับมาที่จดกึ่งกลางดานหลังศีรษะ พัน ุ ุ กลับไปกลับมาโดยทบไปทางดานซายครั้งหนึ่ง ทบกลับมาทางดานขวาอีกครั้งหนึ่ง การพันแตละ ทบจะซอนผาทบเดิมเพียงครึ่งหนึ่งของดานกวางของผาพัน เมื่อพันกลับไปกลับมาปดบริเวณศีรษะ ทั้งหมดแลวจึงพันรอบศีรษะเชนเดียวกับตอนเริ่มตนอีกประมาณ 2–3 รอบ ดังภาพที่ 8.7 ภาพที่ 8.7 การพันศีรษะ ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 123)
  • 9. 275 2. ผาพันแผลชนิดเปนรูปสามเหลี่ยม 2.1 ประโยชนของผาสามเหลี่ยม 2.1.1 ใชกดหามเลือด 2.1.2 ใชพนแผล โดยการพับผาสามเหลี่ยมตามยาวใหเปนแถบทีมความกวาง ั ่ ี ประมาณ 2–3 นิ้ว ตามขนาดของบาดแผล ดังภาพที่ 8.8 2.1.3 ใชทําเปนผาคลองแขน ในกรณีที่แขนไดรับบาดเจ็บในลักษณะตาง ๆ เชน หัวไหลหลุด แขนหัก ขอศอกเคลื่อน เปนตน 2.1.4 ใชผูกยึดอวัยวะสวนที่ไดรับบาดเจ็บใหอยูนิ่ง เพื่อไมใหเปนอันตราย  แกผูปวยมากขึน โดยดามอวัยวะสวนนันไวกับแผนไม หรือกระดาษพับหลาย ๆ ชัน หรืออาจใช ้ ้ ้ ผาสามเหลี่ยมในการผูกยึดอวัยวะสวนนันใหอยูนิ่ง ๆ ้  2.1.5 ใชพนศีรษะ ลําตัว เพื่อปองกันบาดแผลไมใหสกปรก ั ผาพันแผลหนากวาง ผาสามเหลี่ยม พับครึ่ง จับมุมผาดานบน ผาพันแผลหนา พับมาที่ฐาน พับอีกครึ่ง ภาพที่ 8.8 การพับผาสามเหลี่ยมตามยาว ที่มา (อภิชย ชัยดรุณ และประไพ ชัยดรุณ (แปล). 2547 : 76) ั 2.2 การใชผาสามเหลี่ยม 2.2.1 การทําผาคลองแขน (Slings) มีการคลองได 2 วิธี คือ คลองแขน แบบธรรมดา (Arm sling) และคลองแขนแบบยกสูง (Elevation sling ) และในขณะทีกําลังทํา ่ การคลองแขน ใหเอามือประคองแขนขางที่บาดเจ็บไวตลอดเวลา จนกวาจะคลองแขนเรียบรอย แลว วิธีการทําผาคลองแขน มีดังนี้ 2.2.1.1 คลองแขนแบบธรรมดา ใชเพื่อประคองบริเวณที่บาดเจ็บไป จนถึงตนแขน หรือเพื่อไมใหตนแขนมีการเคลื่อนไหว แตการคลองแขนแบบนี้ใชไดผลเฉพาะ ผูปวยที่สามารถยืนหรือนั่งไดเทานั้น ซึ่งมีวิธีการทํา ดังนี้
  • 10. 276 1) ใหผปวยนั่งหรือยืนในทาที่สบายที่สุด ประคองแขนขางที่ ู  บาดเจ็บไว โดยยกใหปลายขอมือสูงกวาขอศอกเล็กนอย 2) จับมุมบนของผาที่อยูฝงตรงขามกับดานฐานวางไวบริเวณ ใตขอศอก มืออีกขางสอดผาใหอยูระหวางแขนกับหนาอก ดึงชายผาใหสูงถึงบาคลองโอบตนคอไป อีกขางหนึ่ง 3) ดึงชายผาอีกดานหนึ่งตลบคลุมแขนที่บาดเจ็บ โดยใหขอบ ผาอยูบริเวณปลายนิ้วมือ ผูกชายผาทั้งสองดวยเงื่อนธรรมดาใหปมอยูบริเวณไหปลารา  4) เก็บชายผาบริเวณขอศอกใหเรียบรอยโดยใชเข็มกลัด แถบกาวหรือมัดชายผา ดังภาพที่ 8.9 ภาพที่ 8.9 วิธีการใชผาสามเหลี่ยมคลองแขนแบบธรรมดา ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 125) 2.2.1.2 คลองแขนแบบยกสูง ใชเพื่อประคองใหมืออยูในทายกสูงขึ้น  เพื่อไมใหเลือดไหลออกมามาก หรือเพื่อไมใหตนแขนมีการเคลื่อนไหว ในกรณีกระดูกไหปลารา  หัก กระดูกซีโครงหัก มีวิธการทํา ดังนี้ ่ ี 1) ใหผูปวยนั่งหรือยืนในทาที่สบายที่สุด ประคองแขนขางที่  บาดเจ็บใหวางทาบบนหนาอก จนปลายนิ้ววางบนไหลดานตรงขาม 2) วางผาสามเหลี่ยมคลุมแขนขางที่บาดเจ็บดึงชายผาใหคลุม ไปจนถึงไหล มุมบนของผาจะอยูบริเวณขอศอกพอดี
  • 11. 277 3) พับฐานของผาสามเหลี่ยมสอดเขาใตปลายแขนและ ขอศอก ดึงชายผาดานลางใหโอบดานหลังไปใหถึงไหล 4) ผูกชายผาสองขางดวยเงือนธรรมดาบริเวณไหปลารา ่ 5) เก็บมุมผาบริเวณขอศอกและปลายแขนใหเรียบรอย ดังภาพที่ 8.10 ภาพที่ 8.10 วิธีการใชผาสามเหลี่ยมคลองแขนแบบยกสูง ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 126) 2.2.2 การพันศีรษะ วิธีที่ 1 สะดวกและรวดเร็วกวาใชผาพันแผลชนิดมวนพัน  แบบกลับไปกลับมา วิธีปฏิบัติดังนี้ ผูปฐมพยาบาลตองเริ่มตนดวยการพับฐานของผาสามเหลี่ยม สองทบกวางประมาณ 2 นิ้ว จากนั้นวางผาสามเหลี่ยมทาบบนศีรษะผูปวยโดยใหดานฐานอยูเหนือ คิ้ว มุมยอดของผาสามเหลี่ยม จะอยูดานหลังศีรษะ จับชายผาดานขางทั้งสองขางไขวกนทีดานหลัง  ั ่ ศีรษะแลวออมผานบริเวณเหนือหูมาผูกตรงจุดกึ่งกลางหนาผาก สวนชายผาที่เหลืออยู ดานหลัง ศีรษะจับมวนขึ้นและพับเหน็บใหเรียบรอย ดังภาพที่ 8.11
  • 12. 278 ภาพที่ 8.11 การพันศีรษะโดยใชผาสามเหลี่ยม ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 126) 2.2.3 การพันศีรษะ วิธที่ 2 ใชผาสามเหลี่ยมแบบพับตามยาวพันศีรษะ กอนพัน ี ผาใหปดบาดแผลดวยผาที่สะอาดปราศจากเชื้อเสียกอน จากนั้นใชกึ่งกลางของผาสามเหลี่ยมที่พับ ตามยาววางบนบาดแผล แลวจับปลายผาแตละขางออมไปในทิศทางตรงขามแลวออมมาผูกที่ หนาผากเก็บชายผาใหเรียบรอย ดังภาพที่ 8.12 ภาพที่ 8.12 การพันศีรษะโดยใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว ที่มา (วิรตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 153) ั
  • 13. 279 2.2.4 การพันขากรรไกร ใชพันเพื่อหามเลือดหรือพยุงขากรรไกร ขั้นแรก ผูปฐมพยาบาลวางผาใตคางโดยใหปลายหนึ่งยาวกวาอีกปลายหนึ่ง จากนั้นจับปลายทั้งสองขางไขว กันดานตรงดานขามของขมับและออมไปผูกไวอีกดานหนึ่งซึ่งอยูตรงกันขาม ดังภาพที่ 8.13 ภาพที่ 8.13 การพันขากรรไกร ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 153) 2.2.5 การพันลําตัว เปนการพันเพื่อปกปดบาดแผล ผาสามเหลี่ยมที่ใชพันตัว พันไดทั้งทรวงอกและหลัง 2.2.5.1 วิธีพนทรวงอก วางผาสามเหลี่ยมปดทรวงอกบริเวณที่มี ั บาดแผล โดยใหสวนที่เปนยอดผาสามเหลี่ยมคลุมบา จากนั้นจับมุมผาสามเหลี่ยมดานขางทั้งสอง ขางออมใตรักแรไปผูกไวดานหลัง แลวดึงมุมที่เปนยอดผาสามเหลี่ยมมาผูกไวกับปมแรกดานหลัง ดังภาพที่ 8.14 (ก) (ข) (ค) ภาพที่ 8.14 การพันทรวงอก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 152)
  • 14. 280 2.2.5.2 วิธพนหลัง พันเหมือนกับวิธพนทรวงอก แตแทนที่จะวางผา ี ั ี ั สามเหลี่ยมปดทรวงอกใหวางปดหลังบริเวณที่มีบาดแผล แลวผูกปมผาไวทางดานทรวงอก ผาสามเหลี่ยมเมื่อพับตามยาวนอกจากจะไวใชพันอวัยวะตาง ๆ เชน พันศีรษะ พันขากรรไกรแลวยังใชผูกเฝอกไดอีกดวย การเขาเฝอกชั่วคราว การเข า เฝ อ กชั่ ว คราว เป น การดั ด แปลงอุ ป กรณ เ ท า ที่ ห าได ใ นบริ เ วณที่ เ กิ ด เหตุ เช น ผาสะอาด เชือก ไม กระดาษแข็ง หนังสือพิมพ เปนตน ทําเปนเฝอกชั่วคราวผูกดามเขากับบริเวณที่ กระดูกหัก เชน แขน ขา และสวนอื่น ๆ ของรางกาย เพื่อชวยใหอวัยวะที่หักอยูกับที่ เปนการ ป อ งกัน ไม ใ ห เ กิ ด อั น ตรายอย า งอื่น ตามมา เชน หั ก มากขึ้ น กระดู ก ทิ่ม ทะลุ เ นื้ อ ระหวา งนํ าส ง โรงพยาบาล กอนเขาเฝอกควรหาผาหนา ๆ มารองรับบริเวณที่หักเสียกอน เพื่อปองกันไมใหเฝอก กดทับบริเวณแผล อุปกรณที่ใชเปนเฝอกชั่วคราว แสดงดังภาพที่ 8.15 ภาพที่ 8.15 วัสดุตาง ๆ ที่ใชทําเฝอกชั่วคราว ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 162)
  • 15. 281 1. ประโยชนของการเขาเฝอกชั่วคราว 1.1 ลดความเจ็บปวด 1.2 ปองกันภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้น เชน การถูกทําลายของกลามเนื้อ เสนประสาท และเสนเลือดจากกระดูกทีหักทิ่มแทง ่ 1.3 สะดวกในการเคลือนยาย ่ 2. ประเภทของเฝอกชั่วคราว (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 162) 2.1 เฝอกธรรมชาติ คือ ใชกระดูกหรืออวัยวะสวนทีอยูใกลเคียงกันแตไมหัก ทําเปน ่ เฝอกชั่วคราว เชนกระดูกตนแขนหักใหใชทรวงอกเปนเฝอก หรือ กระดูกขาหักก็ใชขาอีกขางเปน เฝอกธรรมชาติ แลวนําสงโรงพยาบาล ดังภาพที่ 8.16 2.2 เฝอกที่ทําขึ้นจากวัสดุ เปนวัสดุเทาที่หาไดในบริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ เชน แผน กระดาน กิ่งไม คันรม ดามไมกวาด หนังสือพิมพ ลังกระดาษ เปนตน โดยนําวัสดุดังกลาวมา ผูกดามเขากับบริเวณที่สงสัยวากระดูกหัก แลวใชเชือกหรือผามัดไวกอนนําสงโรงพยาบาล ดังภาพ ที่ 8.17 ภาพที่ 8.16 เฝอกธรรมชาติ ที่มา (วิรฬ เหลาภัทรเกษม. 2532 : 40) ุ ภาพที่ 8.17 การเขาเฝอกชั่วคราวดวยไม ที่มา (วิรฬ เหลาภัทรเกษม. 2532 : 41) ุ
  • 16. 282 3. หลักในการเขาเฝอกชั่วคราว 3.1 วัสดุที่ใชดาม ตองยาวกวาอวัยวะสวนที่หกโดยใชหลักยาวเหนือ ั หนึ่งขอตอต่ํากวาหนึ่งขอตอ เชน กระดูกหนาแขงหัก ตองดามตั้งแตเหนือขอเขาจนถึงต่ํากวา ขอเทา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 :163) 3.2 ไมวางเฝอกลงบนบริเวณที่บาดเจ็บโดยตรง ควรใชสาลีหรือผาวางรองตลอด ํ แนวเฝอกเพื่อไมใหเฝอกกดลงบริเวณผิวหนังซึ่งจะทําใหเจ็บปวดและเกิดแผลจากการที่เฝอกกด ดังภาพที่ 8.18 3.3 ไมมัดเฝอกแนนจนเกินไป เพราะจะทําใหการไหลเวียนเลือดไมสะดวก 3.4 กรณีทกระดูกเคลื่อน หาม ดึงใหเขาที่ เพราะทําใหเกิดอันตรายตอเนื้อเยื่อมาก ี่ ขึ้น ถามีกระดูกโผลออกมานอกเนื้อ หาม ดันกระดูกกลับเขาขางใน ถามีเลือดออกตองหามเลือด และปดแผลกอนที่จะดาม ดังภาพที่ 8.18 3.5 ตรวจชีพจร สีผิว อาการปวด และการตอบสนองความรูสึกบริเวณที่บาดเจ็บ กอนและหลังการใสเฝอกชัวคราว ่ 3.6 ถามีอุบัติเหตุที่คอ และหลัง ตองระวัง อาจเกิดกระดูกสันหลังหักหรือกระดูก สันหลังเคลื่อนไดเสมอ ภาพที่ 8.18 กระดูกหนาแขงหักแบบเปดและการปดบาดแผลกอนเขาเฝอกชั่วคราว ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 :161) วิธีการเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกหักแตละชนิด ผู ป ว ยที่ ก ระดู ก หั ก ต อ งได รั บ การเข า เฝ อ กชั่ ว คราวก อ นที่ จ ะทํ า การเคลื่ อ นย า ยไป โรงพยาบาล การเคลื่อนยายผูปวยกระดูกหักมีหลักสําคัญ คือ ตองใหสวนตาง ๆ ของกระดูกที่หัก ไปดวยกัน ถ าการดามยังตรึงกระดูกที่หักใหอยูนิ่งไดไมเ พียงพอ การเคลื่อนยายต องใชแรงดึง รวมกับการประคองเพื่อไมใหกระดูกที่หักโกงตกตามแรงโนมถวงโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งถาสงสัย
  • 17. 283 วามีกระดูกสันหลังหัก การเคลื่อนยายตองยกทุกสวนของรางกายไปพรอมๆ กัน หากเปนไปได ควรใหนอนเปลแข็งและหามเปลแทน ในรถนําสงควรใหผูปวยนอนราบไดสบาย ไมควรขับรถดวยความเร็วสูง เพราะนอกจากจะ ทําใหเกิดการกระทบกระเทือนบาดแผลแลวยังอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุซ้ําอีกได และควรนําผูเห็น เหตุ ก ารณ ห รื อ ผู ที่ พ บผู ป ว ยคนแรกไปโรงพยาบาลด ว ยเพื่ อ ให ข อ มู ล ที่ เ ป น ประโยชน ต อ ผูปวย 1. ชนิดของกระดูกหัก ลักษณะการหักของกระดูก แบงเปนชนิดใหญ ๆ ได 2 ชนิด ไดแก ชนิดปด และ ชนิดเปด การหักของกระดูกทั้งสองชนิด ถาเกิดการกดทับบริเวณปลายกระดูกที่หักก็จะทําใหเกิด ภาวะแทรกซอนได เชน เกิดอันตรายตอเนื้อเยื่อรอบ ๆ เสนเลือด เสนประสาท เปนตน 1.1 กระดูกหักชนิดปด ไมมีบาดแผลปรากฏใหเห็นบริเวณผิวหนัง แตอาจมีภาวะ เลือดตกในได 1.2 กระดูกหักชนิดเปด ปลายของกระดูกที่หักจะทิ่มทะลุขึ้นมาบนผิวหนัง บาดแผล ชนิดนี้ตองใหการปฐมพยาบาลอยางระมัดระวัง เนื่องจากเชื้อโรคสามารถผานบาดแผลเขาสูรางกาย ไดทําใหเกิดการติดเชื้ออยางรุนแรงตามมา ดังภาพที่ 8.19 ภาพที่ 8.19 กระดูกหักชนิดตาง ๆ ที่มา (แกวจันทรทิพย ไชยสุริยะ (แปล). 2536 : 77) 2. วิธีเขาเฝอกชั่วคราวในกรณีกระดูกหักแตละชนิด วิธีเขาเฝอกชัวคราวในกรณีกระดูกหักแตละชนิด มีดังตอไปนี้ ่ 2.1 กระดูกไหปลาราหัก (Clavicle fracture) 2.1.1 สาเหตุ มักเกิดขึนขณะที่ผูปวยลมลงตอนที่กําลังเหยียดมือ ้  แรงกระแทกทําใหกระดูกไหปลาราหักได
  • 18. 284 2.1.2 อาการ เจ็บปวด บวม บริเวณระหวางคอกับไหล ยกแขนขางทีไดรับ ่ บาดเจ็บไมได 2.1.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้ 2.1.3.1 คลองแขนขางที่กระดูกไหปลาราหักดวยผาสามเหลี่ยม คลองแขนแบบธรรมดาโดยยกปลายแขนใหสูงขึ้นเล็กนอย เพราะเปนทาที่ผูปวยรูสกสบายขึ้น ึ 2.1.3.2 ใชผาสามเหลี่ยมอีกหนึ่งผืนพับตามยาวนํามาพันทับแขนขางที่ กระดูกไหปลาราหักไปผูกไวบริเวณใตราวนมฝงตรงขาม เพื่อใหบริเวณกระดูกไหปลาราที่หักอยู นิ่ง ๆ มากที่สุด ดังภาพที่ 8.20 ภาพที่ 8.20 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกไหปลาราหัก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 156) 2.2 กระดูกตนแขนหัก (Humerus fracture) บริเวณกระดูกตนแขน อาจหักได 2 ตําแหนง คือ 2.2.1 กระดูกตนแขนหักบริเวณใตไหล (หักที่คอกระดูก) 2.2.1.1 สาเหตุ อาจเกิดจากหกลมบริเวณหัวไหลกระแทกพื้นอยางแรง 2.2.1.2 อาการ 1) บวมบริเวณหัวไหล 2) เคลื่อนไหวแขนขางนั้นไมได 3) กดเจ็บและมีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณที่กระดูกหัก 2.2.1.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้ 1) ผูปฐมพยาบาลควรหาผาเช็ดตัวผืนเล็ก ๆ นํามาพับตามยาว วางสอดใตรักแรแนบไปกับลําตัวแลวคอย ๆ จับแขนขางหักวางแนบลําตัว 2) จากนันใชผาสามเหลี่ยมผืนใหญสองผืนพับตามยาวแลว ้ พันทับแขนขางหักไปผูกดานขางทรวงอกใตรักแรของแขนขางดี แลวคลองแขนดวยผาสามเหลี่ยม ดังภาพที่ 8.21
  • 19. 285 ภาพที่ 8.21 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกตนแขนหักบริเวณใตไหล ที่มา (วิรตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 156) ั 2.2.2 กระดูกตนแขนหักตอนกลาง 2.2.2.1 สาเหตุ ถูกตีที่ตนแขน หรือ หกลมตนแขนฟาดกับพื้นแรง ๆ 2.2.2.2 อาการ เคลื่อนไหวแขนขางนั้นไมได หรือ แขนที่บาดเจ็บอาจ สั้นกวาขางที่ปกติ 2.2.2.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้ 1) ใชเฝอกชั่วคราว 2 อัน ความยาวไมเทากันอันหนึ่งยาว ตั้งแตไหลถึงใตศอกลงไปประมาณ 3 นิ้ว อีกอันหนึ่งยาวตั้งแตรักแรถึงใตศอกลงไปประมาณ 3 นิ้ว เชนเดียวกัน 2) เฝอกอันสั้นวางใตรักแรโดยหาผารองรับปลายเฝอกที่ยัน ใตรกแร เฝอกอีกอันหนึ่งคืออันยาววางดานตรงกันขาม ั 3) ผูกเฝอกทังสองประมาณ 3 เปลาะแลวคลองแขนดวย ้ ผาสามเหลี่ยม ดังภาพที่ 8.22 ภาพที่ 8.22 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกตนแขนหักตอนกลาง ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 156)
  • 20. 286 2.3 กระดูกขอมือหรือกระดูกปลายแขนหัก (Wrist or forearm fracture) กระดูกปลายแขน มีกระดูก 2 ชิ้น อาจหักชินใดชิ้นหนึ่งหรือทั้ง 2 ชิ้น ้ 2.3.1 สาเหตุ มักเกิดจากถูกตีโดยแรง เอามือยันพื้นโดยเอาอุงมือกระแทกพื้น อยางแรง 2.3.2 อาการ บวมบริเวณรอบ ๆ กระดูกทีหก คว่ําหรือหงายมือไมได ่ ั กดเจ็บและมีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณทีกระดูกหัก ่ 2.3.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้ 2.3.3.1 ใชเฝอกชั่วคราวสองอัน ความยาวของเฝอกคือตั้งแตฝามือถึง เลยขอศอกออกไปประมาณ 3 นิ้ว 2.3.3.2 วางเฝอกไวดานนอกและดานในของปลายแขน เฝอกที่วางดาน ในตองวางประกบลงบนฝามือที่แบออก 2.3.3.3 ผูกเฝอกทั้งสองอันดวยผา 2 เปลาะ 2.3.3.4 คลองแขนดวยผาสามเหลี่ยม ดังภาพที่ 8.23 ภาพที่ 8.23 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอมือหัก ที่มา (บุญสม มารติน และเทพนม เมืองแมน. 2533 : 77) 2.4 กระดูกนิวหัก (Finger fracture) ้ 2.4.1 สาเหตุ อาจเกิดจากการเลนกีฬา เชน วอลเลยบอล 2.4.2 อาการ นิ้วบวม ขยับไมได เจ็บปวดมากเวลาขยับนิ้ว 2.4.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้ 2.4.3.1 ใชไมกดลิ้นหรือไมแบน ๆ ขนาดเทานิ้วมือ นํามาหุมดวยผา แลววางใตนวที่กระดูกหัก ิ้
  • 21. 287 2.4.3.2 ใชผาพันแผลชนิดมวนขนาดกวาง 1 นิ้ว พันเปนเกลียวเปด รอบ ๆ นิ้ว ดังภาพที่ 8.24 2.4.3.3 หรือใชผาพันแผลชนิดมวนพันนิวแบบกลับไปกลับมา ้ ภาพที่ 8.24 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกนิวหัก ้ ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 159) 2.5 กระดูกขอศอกหัก (Elbow fracture) 2.5.1 สาเหตุ อาจหกลมและใชมือดานนั้นยันพื้น ถูกตีบริเวณขอศอก 2.5.2 อาการของกระดูกขอศอกหัก มีดังตอไปนี้ 2.2.2.1 บวมบริเวณขอศอก เจ็บปวดมาก 2.5.2.2 พับและเหยียดแขนไมไดเต็มที่ 2.5.2.3 อาจคลําพบปลายกระดูกหัก ดานใดดานหนึ่งเหนือขอศอก 2.5.3 ลักษณะการหักของกระดูกขอศอก กระดูกขอศอกหักมีหลายลักษณะ บางครั้งเมื่อหักแลวแขนอยูในลักษณะ เหยียด บางครั้งแขนอาจจะอยูในลักษณะงอมากหรืองอเล็กนอยก็ได ผูปฐมพยาบาลอยาพยายาม เปลี่ยนลักษณะของการหัก ไมวาหักแลวจะงอเปนลักษณะใดก็เขาเฝอกชั่วคราวหรือทําการปฐม พยาบาลไปตามที่พบ ดังนี้ 2.5.3.1 กระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอมาก (Arm flexed) มี วิธการเขาเฝอกชั่วคราว ดังนี้ ี 1) ใชผาสามเหลี่ยมแบบพับตามยาว 2 ผืน 2) ผืนที่หนึงพันทับแขนขางที่ขอศอกหักแลวออมไปผูกไวใต ่ ราวนมดานตรงขาม ผืนที่สองผูกขอมือแขวนคลองคอ ดังภาพที่ 8.25
  • 22. 288 ภาพที่ 8.25 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอมาก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 157) 2.5.3.2 กระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอเล็กนอย (Arm extended) มีวิธีเขาเฝอกชัวคราวดังนี้ ่ 1) ใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว 2 ผืน 2) ผืนที่หนึงพันทับแขนขางที่ขอศอกหักบริเวณเหนือศอก ่  แลวออมไปผูกไวใตราวนมดานตรงขาม 3) ผืนที่สองพันทับแขนขางเดียวกันตรงบริเวณใตศอกแลว ออมไปผูกไวดานตรงขามใตผืนที่หนึ่ง ดังภาพที่ 8.26 ภาพที่ 8.26 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอศอกหักในลักษณะงอเล็กนอย ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 158)
  • 23. 289 2.5.3.3 กระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอเปนรูปมุมฉาก (Arm flexed at right–angle) มีวิธีเขาเฝอกชั่วคราว ดังนี้ 1) ใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาว 2 ผืน แตละผืน ผืนที่หนึ่งใช คลองแขน 2) ผืนที่สอง พันทับแขนขางที่กระดูกขอศอกหัก ตรงบริเวณ เหนือขอศอก แลวออมไปผูกไวใตราวนมดานตรงขาม ดังภาพที่ 8.27 ภาพที่ 8.27 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกขอศอกหักในลักษณะแขนงอเปนรูปมุมฉาก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 158) 2.5.3.4 กระดูกขอศอกหักแขนอยูในลักษณะงอ (Bent position) มีวธี  ิ เขาเฝอกชั่วคราวอีกแบบ ดังนี้ 1) ใชเฝอกชั่วคราว 1 อัน ซึ่งมีความกวางประมาณ 2 ½ - 3 นิ้ว ความยาวประมาณ 18–20 นิ้ว วางใตศอกที่งอ 2) แลวผูกดวยผา 1 ผืนใหมลักษณะไขวเหมือนเครื่องหมายคูณ ี ดังภาพที่ 8.28 (ก) 2.5.3.5 กระดูกขอศอกหักแขนอยูในลักษณะเหยียด (Straight position)  มีวธีเขาเฝอกชัวคราว 2 วิธี ดังนี้ ิ ่ 1) วิธีที่ 1 ใชเฝอกชั่วคราว 2 อัน กวางประมาณ 3 นิ้ว ความยาวตั้งแตขอมือถึงเหนือไหลขึ้นไปประมาณ 3 นิ้ว นํามาวางตามยาวไปกับรูปแขนทาง
  • 24. 290 ดานหนาและดานหลังของไหล จากนันผูกเฝอก 5 เปลาะ ดังนี้ ผูกเหนือศอก 2 เปลาะ ใตศอก ้ 2 เปลาะ และเหนือไหล 1 เปลาะ ดังภาพที่ 8.28 (ข) (ก) (ข) ภาพที่ 8.28 การเขาเฝอกชัวคราวกระดูกขอศอกหักโดยใชเฝอกไม ่ ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 159) 2) วิธที่ 2 ใหผูปวยนอนหงาย ใหขอศอกขางที่หักแนบลําตัว ี หาผานุม ๆ รองระหวางแขนกับลําตัว ใชผาผูก 3 เปลาะดังตอไปนี้ รอบขอมือกับ ตนขา รอบทอน แขนกับลําตัว รอบตนแขนกับหนาอก ดังภาพที่ 8.29 ภาพที่ 8.29 การเขาเฝอกชัวคราวกระดูกขอศอกหักแบบเหยียดโดยใชผา ่ ที่มา (อัจฉรา วัจนาภิญโญ. 2530 : 169)
  • 25. 291 2.6 กระดูกซี่โครงหัก (Rib fracture) 2.6.1 สาเหตุ อาจเกิดจากอุบัติเหตุทางรถยนต พวงมาลัยรถกระแทกบริเวณ หนาอกหรือหกลมหนาอกกระแทกพื้น การหักจะตองเปนลักษณะหักยุบ มิใชหักแลวกระดูก ซี่โครงแทงทะลุผิวหนังออกมา 2.6.2 อาการ เจ็บปวดบริเวณที่บาดเจ็บ ถาหายใจลึก ๆ หรือไอ ตองหายใจ ตื้น ๆ เทานั้น ตึงรอบ ๆ ซี่โครง กระดูกซี่โครงอาจมีการเคลื่อนไหวที่ผดปกติ ิ 2.6.3 วิธเี ขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอนดังนี้ 2..6.3.1 ใชผาสามเหลี่ยมพับตามยาวสามผืน แตละผืนกวางประมาณ 4 นิ้ว 2.6.3.2 ผืนที่ 1 พันทับลงไปตรงตําแหนงทีหัก แลวผูกใหแนนพอควร ่ ใตรักแรขางทีกระดูกซี่โครงไมหัก ขณะผูกตองบอกใหผูปวยหายใจออกเพื่อผาจะไดไมหลวมและ ่ หลุดออกงาย และควรหาผาพับตามยาววางใตรักแรเพื่อรองรับปมผาที่ผูกและปองกันปมผากดเนือ ้ บริเวณใตรักแร ดังภาพที่ 8.30 (ก) 2.6.3.3 ผืนที่2 และผืนที่ 3 วางเหนือและใตผืนที่หนึ่งแลวผูก เชนเดียวกัน ดังภาพที่ 8.30 (ข) และ (ค) (ก) (ข) (ค) ภาพที่ 8.30 การเขาเฝอกชัวคราวกระดูกซี่โครงหัก ่ ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 162) 2.7 กระดูกขาหัก กระดูกขา สามารถแบงไดเปน 2.7.1 ตนขา (Femur fracture) 2.7.1.1 สาเหตุ มักเกิดจากถูกตีโดยแรง หรือ ตกจากที่สูง
  • 26. 292 2.7.1.2 อาการ บวมบริเวณรอบ ๆ กระดูกที่หัก, ปลายเทามักจะบิดไป ดานขาง ขาขางที่หักสั้นกวาปกติ / คลําพบปลายกระดูกที่หัก ดังภาพที่ 8.31 ภาพที่ 8.31 กระดูกตนขาหักปลายเทาบิดไปดานขาง ที่มา (รําแพน พรเทพเกษมสันต. 2546 : 168) 2.7.1.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ใชเฝอกชัวคราว 2 อัน ความกวางเทากันประมาณ 5 นิ้ว ่ ความยาวไมเทากัน อันหนึ่งยาวตั้งแตรกแรถึงใตขอเทาลงไปอยางนอย 6 นิ้ว อีกอันหนึ่ง ั ยาวตั้งแตขาหนีบถึงใตขอเทาลงไปอยางนอย 6 นิ้ว เชนเดียวกัน 2) เฝอกอันยาววางทาบไวดานนอกของขาโดยมีผาพับรองรับ ปลายเฝอกใตรักแร เฝอกอันสั้นวางระหวางขาทั้งสองขางโดยมีผาพับรองรับปลายเฝอกบริเวณขา หนีบ 3) ผูกเฝอกทังสองอัน 5 เปลาะ ตั้งแตตนขา เขา และขอเทา ้  และผูกอีกสองเปลาะที่บริเวณตะโพกและอก 4) ผูกขาขางดีและขาขางทีหักติดกันอีกสองเปลาะ ดังภาพที่ ่ 8.32
  • 27. 293 ภาพที่ 8.32 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกตนขาหัก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 160) 2.7.2 กระดูกหนาแขงหัก (Lower leg fracture) มีกระดูก 2 ชิ้น อาจหัก ชิ้นใดชิ้นหนึ่งหรือทั้ง 2 ชิ้น 2.7.2.1 สาเหตุ มักเกิดจากถูกตีโดยแรง หรือ หกลมหนาแขงฟาดพืน ้ 2.7.2.2 อาการ บวมลงไปถึงขอเทาขางที่ไดรับบาดเจ็บ หรือ รูปราง ของขาผิดปกติไป มีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณทีกระดูกหัก ่ 2.7.2.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ใชเฝอกชั่วคราว 2 อัน กวางประมาณ 4 นิ้ว ความยาว ตั้งแตขาหนีบถึงใตขอเทาลงไปอยางนอย 6 นิ้ว 2) วางเฝอกอันหนึ่งไวดานนอกของขา อีกอันหนึ่งวาง ระหวางขาทั้งสองขางโดยมีผาพับรองรับปลายเฝอกบริเวณขาหนีบ 3) ผูกเฝอกทั้งสองอัน 3 เปลาะ บริเวณเหนือเขา 1 เปลาะ ใต เขา 1 เปลาะ บริเวณเขา 1 เปลาะ ดังภาพที่ 8.33
  • 28. 294 ภาพที่ 8.33 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกหนาแขงหัก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 161) 2.8 กระดูกเทาหัก 2.8.1 สาเหตุ มักเกิดจากของมีน้ําหนักตกใสเทา 2.8.2 อาการ บวมบริเวณรอบ ๆ กระดูกทีหัก ไมสามารถใชเทา และ/หรือ ่ ขอเทาได กดเจ็บ และมีเสียงกรอบแกรบตรงบริเวณทีกระดูกหัก ่ 2.8.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้ 2.8.3.1 ใชกระดาษหนังสือพิมพ หรือ ผาหนา ๆ นุม ๆ รองบริเวณที่หัก 2.8.3.2 ใชผาพันไขวกันทีดานหลังของขอเทา แลวพันไขวกันมายัง ่ ดานหนาแลวผูกเงื่อนที่ใตฝาเทา ดังภาพที่ 8.34  (ก) (ข) ภาพที่ 8.34 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกเทาหัก ที่มา (อัจฉรา วัจนาภิญโญ. 2530 : 177–178) 2.9 กระดูกสะบาแตก (Patella or knee fracture) 2.9.1 สาเหตุ หกลม หรือ ตกจากทีสูงเอาหัวเขาลงพื้น ่ 2.9.2 อาการ ปวดบวมบริเวณเขา ลงน้ําหนักขาไมได 2.9.3 การแตกของกระดูกสะบา มี 2 ลักษณะ ดังนี้
  • 29. 295 2.9.3.1 กระดูกสะบาแตกเขาอยูในลักษณะเหยียด วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ใชเฝอกชั่วคราว 1 อัน กวางประมาณ 5–6 นิ้ว ยาวตั้งแต ตะโพกถึงใตสนเทาลงไปเล็กนอย  2) สอดเฝอกเขาใตขา รองใตเขาและใตขอเทาดวยผาหรือ กระดาษหนังสือพิมพ ผูกขาใหติดกับเฝอก 4 เปลาะ ดังภาพที่ 8.35 2.9.3.2 กระดูกสะบาแตกแลวเขาอยูในลักษณะงอ วิธีเขาเฝอกชั่วคราว  คือ อยาพยายามดึงใหเขาเหยียด ควรเขาเฝอกไมเชนเดียวกับกระดูกขอศอกหักในทาแขนงอ โดย วางเฝอกไมไวดานนอกของขา ดังภาพที่ 8.28 (ก) ภาพที่ 8.35 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกสะบาแตก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 162) 2.10 กระดูกเชิงกรานหัก (Pelvic fracture) 2.10.1 สาเหตุ หกลมกนกระแทก หรือตกจากทีนั่ง ่ 2.10.2 อาการ ปวด ขยับตัวไมได 2.10.3 วิธีเขาเฝอกชั่วคราว มีขั้นตอน ดังนี้ 2.10.3.1 ใชเฝอกไม 1 อัน ความกวางอยางนอย 12 นิว ความยาวให ้ ยาวกวาตัวผูปวยเล็กนอย  2.10.3.2 สอดไมเผือกเขาใตลําตัวผูปวยดานที่กระดูกเชิงกรานหัก 2.10.3.3 ผูกขาขางที่กระดูกเชิงกรานหักใหติดกับเฝอก 3 เปลาะ และผูกบริเวณอกถึงทองอีกประมาณ 3 เปลาะ 2.10.3.4 พับผาหมวางตามยาวระหวางขาทั้งสองขาง 2.10.3.5 ผูกขาขางที่กระดูกเชิงกรานไมหัก ใหติดกับขาขางที่กระดูก เชิงกรานหักอีก 2 เปลาะ ดังภาพที่ 8.36
  • 30. 296 ภาพที่ 8.36 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกเชิงกรานหัก ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 161) 2.11 กระดูกสันหลังหัก (Spinal fracture) 2.11.1 สาเหตุ ตกจากที่สูง อุบัติเหตุทางรถยนต และรถจักรยานยนต 2.11.2 อาการ เจ็บปวดอยางรุนแรงที่หลังและคออาจหมดความรูสึกที่แขนขา ไมสามารถขยับนิ้วมือนิวเทาได มีเลือดหรือของเหลวอื่น ๆ ไหลออกจากปาก หู จมูก ้ 2.11.3 วิธีการเขาเฝอกชั่วคราว มี 2 วิธี ไดแก 2.11.3.1 วิธีที่ 1 ใชเฝอกไมกระดานแผนยาวเทากับตัวผูปวย มีขั้นตอน  ดังนี้ 1) เฝอกไมกระดานชนิดความยาวเทากับตัวผูปวย จะใชไม กระดานที่มอยูแลว หรือใชบานประตูก็ได ี 2) การเขาเฝอกใหผูปวย จําเปนตองมีผูปฐมพยาบาลอยาง  นอย สี่คน เพือปองกันอันตรายที่จะเกิดกับผูปวยในขณะเขาเฝอก ่ 3) วางเฝอกไมกระดานใหขนานกับตัวผูปวย ผูปฐมพยาบาล สามคนยืนเรียงกันแลวคุกเขาลงขางตัวผูปวย ผูปฐมพยาบาลคนที่สี่คุกเขาลงเหนือศีรษะผูปวย มีหนาที่ชวยประคองศีรษะผูปวยใหหันตามในขณะที่ผูปฐมพยาบาลทั้งสามคนจับผูปวยตะแคงเพื่อ  สอดเฝอกไมกระดาน 4) สิ่งสําคัญที่สุด คือ ผูปฐมพยาบาลทุกคนตองชวยกัน ประคองรางกายผูปวยทุกสวน ขณะทีจับผูปวยตะแคง ดังภาพที่ 8.37 (ก) คนที่อยูตรงกลางจะเปน ่ ผูเลื่อนไมกระดานเฝอก ดังภาพที่ 8.37 (ข) จากนันผูปฐมพยาบาลทุกคนจะคอย ๆ ประคองผูปวย ้ นอนบนไมกระดานเฝอกอยางระมัดระวัง ดังภาพที่ 8.37 (ค) ขณะจับผูปวยตะแคงเพือสอดเฝอก  ่ ไมกระดานนี้ ตองมีผูปฐมพยาบาล 1 คนเปนผูนับจังหวะในการปฏิบัติเพื่อใหพรอมเพรียงกัน
  • 31. 297 5) หาผาหนา ๆ หรือใหผาหอกระดาษหนา ๆ สอดเขาใตคอ และหอคอไวเพื่อปองกันกระดูกตนคอเคลื่อนไหวหันไปมาได จับสวนปลายเทาทั้งสองขางให ตั้งขึ้น แลวใชหนังสือหรือหนังสือพิมพพบรองรับฝาเทาทั้งสองขางและผูกยึดไวกับขอเทา ไมให ั ปลายเทาตก มัดมือสองขางประสานกันไวบนหนาทอง จากนั้นผูกผูปวยใหติดกับเฝอกหลาย ๆ เปลาะ ตั้งแตหนาผากถึงขอเทา ประมาณ 11 เปลาะ ดังภาพที่ 8.37 (ง) (ก) (ข) (ค) (ง) ภาพที่ 8.37 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกสันหลังหักโดยใชไมกระดานแผนยาว ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 164)
  • 32. 298 2.11.3.2 วิธที่ 2 ใชเฝอกไมกระดานแผนสั้นซึ่งมีความยาว ี เทากับครึ่งตัวผูปวย ใชในกรณีที่ผูปวยติดอยูในรถแลวมีปญหาที่กระดูกสันหลัง ไมสะดวกตอการ นําเฝอกไมกระดานแผนยาวเทากับตัวผูปวยมาใช ในกรณีที่รถยนตชนกัน ผูปวยจะอยูในทานั่ง  เฝอกไมกระดานแผนสั้นนีใชหามผูปวยไมไดจะตองใชเฝอกไมกระดานแผนยาวรวมดวย ้ มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ผูปฐมพยาบาลคนหนึ่งเขาชวยเหลือทางดานหลังผูปวย  ดวยการดามลําคอไวในลักษณะเงยเล็กนอย ดังภาพที่ 8.38 (ก) ผูปฐมพยาบาลอีกคนหนึ่งสอดเฝอก ไมกระดานเขาใตหลังผูปวย ถาเปนไปไดความยาวของเฝอกจะตองยาวตั้งแตศีรษะถึงสะโพก ดังภาพที่ 8.38 (ข) 2) พยายามประคองอยาใหศีรษะเคลื่อนไหว ยึดศีรษะผูปวย ใหติดกับเฝอกไมกระดานโดยใชผาพันผืนที่หนึ่ง พันรอบหนาผาก อีกผืนหนึ่งพันรอบคอโดยยึด คางเขาไปดวย อีกสามผืนพันรอบอกและเอวใหตดกับเฝอกไมกระดาน ดังภาพที่ 8.38 (ค) ิ 3) คอย ๆ ขยับตัวผูปวยออกจากที่น่ง แลวเลื่อนตัวผูปวยให  ั  นอนหงายราบบนเฝอกไมกระดานแผนยาวที่เตรียมไว (ก) (ข) (ค) ภาพที่ 8.38 การเขาเฝอกชั่วคราวกระดูกสันหลังโดยใชไมกระดานแผนสั้น ที่มา (วิรัตน ศรีนพคุณ และศรี ศรีนพคุณ. 2541 : 165)