SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
L a b S c h o o l P r o j e c t
41
มหัศจรรย์ป่าสาคู
ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าสาคู
	 สาคูจัดเป็นพืชหลักที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ�จืดห้วยหนองคลองบึงหรือแหล่งน้ำ�
ตามธรรมชาติ และบริเวณที่ต้นสาคูขึ้นหนาแน่น ก่อให้เกิดระบบนิเวศป่าสาคู ที่มีความ-
อุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ บริเวณแหล่งน้ำ�ในป่าสาคูจะเป็น
แหล่งหาอาหารที่อยู่อาศัยเป็นแหล่งขยายพันธุ์ของสัตว์ชนิดต่างๆจัดเป็นจุดเริ่มต้นห่วงโซ่-
อาหารระบบนิเวศน้ำ�จืดนอกจากนี้ยังมีสังคมพืชชนิดต่างๆที่ใช้เป็นยาอาหารและให้ร่มเงา
	 ป่าสาคู เป็นพื้นที่ ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ทั้งในด้าน ของชนิดพันธุ์
พืชและสัตว์ โดย สาคู จัดเป็นพืชหลักที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ�จืด ห้วย หนอง คลอง บึง หรือ
แหล่งน้ำ�ตามธรรมชาติ ดังนั้น บริเวณที่ ต้นสาคูขึ้นหนาแน่น ก่อให้เกิดระบบนิเวศป่าสาคู
ที่มีความอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะระบบรากที่หนาแน่นมาก จึงเป็นเสมือนที่หลบภัยให้แก่
สัตว์น้ำ� เป็นที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน
แสดงภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู หมู่ 1 ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ. ตรัง
42
มหัศจรรย์ป่าสาคู
42
	 ต้นสาคู เป็นที่อยู่อาศัยและที่หลบภัยของสัตว์หลายชนิด ทั้งนี้ เพราะ ในหลาย
ส่วนของต้นสาคูมีความเหมาะสม สำ�หรับการใช้เป็นที่อยู่อาศัยและมีความปลอดภัยเพียง
พอเช่น การที่สาคูมีรากที่แน่น เหมาะเป็นที่วางไข่และหลบภัยของตัวอ่อนของสัตว์น้ำ� เช่น
กุ้ง หอย ปู ปลาน้ำ�จืดชนิดต่างๆ
	 ผิวดิน เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ผิวดินและสัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้ง สัตว์ มีพิษ
เช่น งู แมลงป่อง นอกจากนี้ลำ�ต้นที่ตายแล้วเป็นที่อยู่อาศัยและเพาะพันธุ์ตัวหนอนสาคู
ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า ด้วงสาคูหรือด้วงจากแมลงหวัง
แสดงภาพ ระบบรากฝอยของสาคู
(สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล)
ตัวอย่าง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่พบในป่าสาคู อ. นาโยง จ. ตรัง
สัตว์บก			 ได้แก่ สัตว์จำ�พวก นก เช่น นกกระยาง นกเขา นกเป็ดน้ำ�
			 นกกรงหน้านวล นกขมิ้น เสือปลา อีเห็น พังพอน ฯลฯ
สัตว์เลื้อยคลาน	 เช่น ตะกวด กิ้งก่า งู เต่า ตะพาบน้ำ�
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ� 	 เช่น กบ เขียด อึ่งอ่าง จงโคร่ง
สัตว์น้ำ�จืด 		 เช่น ปลาชนิดต่างๆ โดยเฉพาะ ปลาตูหนา ปลาสร้อยนกเขา
			 ซึ่งชาวบ้านเรียก ปลาขี้ขม ปลาดุก ปลาช่อน กุ้ง หอย ปู ฯลฯ
สัตว์จำ�พวกแมลง	 เช่น แมลงดานา จิ้งหรีด ตั๊กแตน โดยเฉพาะแมลงปีกแข็ง
			 ซึ่งชาวบ้านเรียกแมลงหวัง จะวางไข่ในต้นสาคู กินเนื้อแป้ง
			 สาคูเป็นอาหาร และเจริญเติบโตเป็นด้วงสาคู จัดเป็นสัตว์
			 เศรษฐกิจ ทำ�รายได้ให้กับชุมชน
L a b S c h o o l P r o j e c t
43
มหัศจรรย์ป่าสาคู
นอกจากนี้ มีผักพื้นบ้านที่เป็นพืชร่วมป่าสาคู เช่น ต้นจิก ต้นขี้เหล็ก กระพังโหม
ผักกูด ผักปล้อง ผักหนาม ส้มเค้า ส้มเม่า ชะมวง เถาคัน บุกบ้าน บุกป่า มะเดื่อ
มะแว้ง ยอบ้าน ดังที่แสดงไว้ใน ตาราง 1 และตาราง 2
ตัวอย่างสัตว์ผิวดิน
แสดงภาพ งูและแมลงป่อง, ตะขาบ, จิ้งเหลน เป็นตัวอย่างสัตว์อาศัยบริเวณผิวดิน
ในระบบนิเวศป่าสาคู
44
มหัศจรรย์ป่าสาคู
44
ตารงที่ 1 ตัวอย่างสัตว์ชนิดต่างๆที่พบในป่าสาคู อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง
ประเภท ชนิด หมายเหตุ
สัตว์ป่า เสือปลา อีเห็น พังพอน ปลาหมอ นาก (สูญหายไปจากพื้นที่ ) ชื่อท้องถิ่น
ปลา
ปลาช่อน ปลาไหล ปลาหมอ ปลาดุก ปลาตูหนาหูดำ� ปลาตูหนา
หูขาว ปลาดุกรำ�พัน (ปลามัด) ปลาหลาด ปลาหลด ปลาช่อน
ไช ปลากริม ปลาตะเพียน ปลาม่อม ปลาโอน ปลาดุกด้าง
ปลาแขยง ปลาซิว ปลากัด ปลาเข็ม ปลากระดี่ ปลาแป้น ปลา
ข้างลาย ปลาขี้ขม (ปลาสร้อยนกเขา) ปลาลำ�ปำ� ปลาแก้มช้ำ�
(สูญหายไปจากพื้นที่)
กุ้ง/ปู กุ้งนา กุ้งฝอย กุ้งก้ามกราม ปูนา
หอย
หอยกาบ หอยจุ๊บ หอยข้าว หอยหวาย หอยขม หอยทาก หอย
โข่ง (กำ�ลังจะหมดไปจากพื้นที่) หอยเชอรี่
สัตว์ปีก
นกเขา นกกระยาง นกเอี้ยง นกกวัก นกกระจิบ นกอีลุ้ม นก
เจี๊ยบไส้ นกเป็ดน้ำ� นกกรงหัวจุก นกหน้านวล นกพังกะ นกกรง
เกร็ก นกกระแตแต้แว้ด นกขมิ้น นกหวาด กา เหยี่ยว
สัตว์ครึ่งบก
ครึ่งน้ำ�
อึ่งอ่าง คางคก กบ เขียดว้าก ปาดบ้าน จงโคร่ง
สัตว์เลื้อย
คลาน
ตะกวด จิ้งเหลน กิ้งก่า งูกะปะ งูเขียว งูสายพาน งูน้ำ� งูปล้อง
ทอง กิ้งก่าปีก เต่า ตะพาบน้ำ�
แมลง/อื่นๆ
ผีเสื้อ ผึ้ง แมลงปอ ตั๊กแตน จิ้งหรีด มดแดง ปลวก แมลงดานา
แมลงชอน แมลงเหนียง แมลงจู้จี้ แมลงหวัง (ด้วงสาคู) แมลง
เม่า แมงมุม กิ้งกือ ทาก ปลิง ตะขาบ
ที่มาของ
ข้อมูล
สัมภาษณ์และสำ�รวจพื้นที่ หมู่ 7 บ้านทุ่งแก่เจ้ย หมู่ 10
บ้านหนองคล้า อ.นาโยง
สมาคม
หยาดฝน
L a b S c h o o l P r o j e c t
45
มหัศจรรย์ป่าสาคู
ตัวอย่าง
สัตว์ที่สำ�รวจพบในป่าสาคูหมู่ 7 หมู่ 10 ต.โคกสะบ้า และ ต. นาข้าวเสีย
อ.นาโยง จ.ตรัง
(สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล)
46
มหัศจรรย์ป่าสาคู
46
ตาราง 2 ตัวอย่างพืชที่สำ�รวจพบในป่าสาคู อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง
ประเภท ชนิด หมายเหตุ
ไม้ใช้สอย สาคู หลุมพอ ท่อมขี้หมู จันทนา นน ยางนา ยูง แฟบ
ตะแบก พลา ปาบ ไทร ชุมแสง แซะ กำ�ชำ� อินทนิล
ทองหลาง หว้า จิก ไม้ทัง ไม้กวาด ต้นชด แคหาง
ค่าง นนทรี มะหาด ไม้ตำ�เสา ไข่เน่า สมเส็จ ต้นคล้าย
ชะมวง ไผ่ป่า ไผ่มัน คล้า คลุ้ม เตยน้ำ� หวายเล็ก หวาย
ลิง ย่านสะบ้า ย่ายลิเภา ปดคาย ย่านาง ย่านอวดน้ำ�
ย่านมันไส ย่านนมควาย ย่านลำ�เพ็ง ย่านชิงโค ย่ายนูด
ชื่อท้องถิ่น
ผลไม้พื้น
บ้าน
กำ�ชำ� ปุดช้าง ระกำ� หว้าเล็ก หว้าใหญ่ หวายลิง หลุมพี
เหมร พุ้งพิ้ง พร้าวนกตุ่ม ตะขบนก ตะขบ ปาบ พลา
สาคู เม่า รุม ขี้ไต้ กรวด โก ข่อย เนียน วา นมควาย
นมแมว ปรายสาร ขอบนาง ตาเป็ดตาไก่ รกช้าง กล้วย
มูสัง เร่ราบ (รักราม) เหมรช้าง
พืช
สมุนไพร
กระพังโหม กะตังใบ กูระเปรี๊ยะ ขี้เหล็ก คล้า คลุ้ม จิก
ชะพลู ชะมวง ชุมเห็ดใหญ่(ชุมเห็ดเทศ) เหมก หลง
กาบ ตำ�ลึง เตยหอม เถาคัน ทองหลางใบใหญ่ เหมร
เบื้องถ้วยเบื้องชาม บัวสาย บุกบ้าน ผักปลัง ผักหวาน
แฟบ มะแว้ง มะแว้งเครือ มะเขือพวง มะอึก มะเดื่อ
มะหาด ยอบ้าน ลำ�เพ็ง ลิ้นห่าน เล็บเหยี่ยว (หนามแสง
ขัน) หญ้าเข็ดมอญ หญ้ายายเภา(กูดก้อง กูดแพะ ผัก
ตีน) หนามควายถึก หมากหมก ส้มกุ้ง ส้มเม่า อุตพิด
กล้วยมูสัง สาคู ท้าวยายม่อม ตรุด ลูกใต้ใบ รางจืดต้น
กระแตไต่ไม้(หัวว่าว) ตะแบก ผักเสี้ยนผี ลังไก่ เพกา
คณฑีดิน
(สมาคมหยาดฝน จ.ตรังเอื้อเฟื้อข้อมูล)
L a b S c h o o l P r o j e c t
47
มหัศจรรย์ป่าสาคู
ประเภท ชนิด หมายเหตุ
แหล่งผัก
พื้นบ้าน
กล้วยป่า กะพ้อ(พ้อ) กุ่มน้ำ� กูด กะทกรก (ผ้าร้ายห่อทอง
รกช้าง) ขรี ขี้เหล็ก กระพังโหม(พาโหม กะพังโหม ตดหมา)
แคหางค่าง จิก(จิกน้ำ� จิกนา) โดน ฉิ่ง(มะเดื่อข้าว) ชะพลู
ชะมวง ชุมเห็ดเล็ก ชุมเห็ดใหญ่ (ชุมเห็ดเทศ สับหมื่นหลวง)
แซะ ตาลหมอน ตาลลูกอ่อน ตำ�ลึง ถั่วจานกคุ้ม เถาคัน
ทองหลางใบเล็ก ทองหลางใบใหญ่ ทองหลางใบมน นมห
วันขาว นมหวันแดง น้ำ�นอง บอนเกียบ บอนเขียว บอนท่า
บอนยายรัด บอนส้ม บังบาย บัวบก บุกบ้าน บุกป่า บัวครั่ง
ปุด ชีล้อม
ตาราง 3 ความหลากหลายพรรณพืชต่างๆในป่าสาคู อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง
ประเภท ชนิด หมายเหตุ
แหล่งผัก
พื้นบ้าน
ผักบุ้ง(ผักทอดยอด) ผักปลัง ผักปอด(บัวกวัก) ผักริ้น ผัก
แว่น ผักเสี้ยน ผักหนาม ผักโหม(ผักหม ผักโขม) ผักหวาน
บ้าน ไผ่ป่า แฟบ มะกอกป่า มะเขือพวง มะเดื่อ(ฉิ่ง) มะแว้ง
มะแว้งเครือ มะหาด มะอึก มันตึง มันทราย มันธาตุ มัน
เหมร ยอบ้าน ลำ�เพ็ง (ผักกูดแดง ปรงสวน) หลำ�ปะสี(ผัก
กาดนกคูด) ลิ้นห่าน เล็บเหยี่ยว(หนามแสงขัน หนามเล็บ
เหยี่ยว) ส้มกุ้งแดง ส้มกุ้งขาว ส้มเค้า ส้มเม่า สมเส็จ หญ้า
ปล้อง(ผักปล้อง) หนามควายถึก บัวหลวง อุตพิด อินทะนิล
เอื้องนา(เอื้องน้ำ�) เอื้องช้าง(เอื้องต้น เอื้องใหญ่) อุแพ หมรุ
ย ผักไห่ เต่าร้าง ส้มฝรั่ง(กระเจี๊ยบพื้นบ้าน) ผักกาดนกเขา
หมากหมก สาคู โสน ยาร่วง(มะม่วงหิมพานต์) กระถิน
เหม็ดชุน ตีเมียเบือย่าง ไทรเลียบ ข่าเล็ก ทวย กะทือ ลำ�ผี
พ่าย ก้ามกุ้ง เทียม(สะเดาช้าง) ยายถีบหลาน ตาเป็ดตาไก่
เพกา ผักรวย แก้มช่อน มือเข้
ชื่อท้องถิ่น
ที่มาของข้อมูล สัมภาษณ์และสำ�รวจพื้นที่ หมู่ 7 บ้านทุ่งแก่เจ้ย หมู่ 10 บ้านหนองคล้า ตำ�บลนาข้าวเสีย
อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง สมาคมหยาดฝน (สมาคมหยาดฝน จ.ตรังเอื้อเฟื้อข้อมูล)
48
มหัศจรรย์ป่าสาคู
48
แสดงภาพ ตัวอย่างพืชท้องถิ่น ที่สำ�รวจพบในป่าสาคู อ. นาโยง จ. ตรัง
(ชื่อท้องถิ่น:สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง เอื้อเฟื้อภาพ)
ลูกฉิ้ง
มะแว้ง
บุกป่า
ดอกนมสวรรค์
ไม้ตำ�เสา
ต้นบุก
ต้นลำ�เพ็ง
ต้นหมากหมก

More Related Content

Similar to 5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู

พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
natural resources 201114
natural resources 201114 natural resources 201114
natural resources 201114 Issara Mo
 
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างคัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างUNDP
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงNongkran_Jarurnphong
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงNongkran_Jarurnphong
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailandnewja
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1Sircom Smarnbua
 

Similar to 5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู (20)

ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
natural resources 201114
natural resources 201114 natural resources 201114
natural resources 201114
 
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างคัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Word list 2
Word list 2Word list 2
Word list 2
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Lime StoneEplore
Lime StoneEploreLime StoneEplore
Lime StoneEplore
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
032147
032147032147
032147
 
032147 2
032147 2032147 2
032147 2
 
032147
032147032147
032147
 

5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู

  • 1. L a b S c h o o l P r o j e c t 41 มหัศจรรย์ป่าสาคู ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าสาคู สาคูจัดเป็นพืชหลักที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ�จืดห้วยหนองคลองบึงหรือแหล่งน้ำ� ตามธรรมชาติ และบริเวณที่ต้นสาคูขึ้นหนาแน่น ก่อให้เกิดระบบนิเวศป่าสาคู ที่มีความ- อุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ บริเวณแหล่งน้ำ�ในป่าสาคูจะเป็น แหล่งหาอาหารที่อยู่อาศัยเป็นแหล่งขยายพันธุ์ของสัตว์ชนิดต่างๆจัดเป็นจุดเริ่มต้นห่วงโซ่- อาหารระบบนิเวศน้ำ�จืดนอกจากนี้ยังมีสังคมพืชชนิดต่างๆที่ใช้เป็นยาอาหารและให้ร่มเงา ป่าสาคู เป็นพื้นที่ ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ทั้งในด้าน ของชนิดพันธุ์ พืชและสัตว์ โดย สาคู จัดเป็นพืชหลักที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ�จืด ห้วย หนอง คลอง บึง หรือ แหล่งน้ำ�ตามธรรมชาติ ดังนั้น บริเวณที่ ต้นสาคูขึ้นหนาแน่น ก่อให้เกิดระบบนิเวศป่าสาคู ที่มีความอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะระบบรากที่หนาแน่นมาก จึงเป็นเสมือนที่หลบภัยให้แก่ สัตว์น้ำ� เป็นที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน แสดงภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู หมู่ 1 ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ. ตรัง
  • 2. 42 มหัศจรรย์ป่าสาคู 42 ต้นสาคู เป็นที่อยู่อาศัยและที่หลบภัยของสัตว์หลายชนิด ทั้งนี้ เพราะ ในหลาย ส่วนของต้นสาคูมีความเหมาะสม สำ�หรับการใช้เป็นที่อยู่อาศัยและมีความปลอดภัยเพียง พอเช่น การที่สาคูมีรากที่แน่น เหมาะเป็นที่วางไข่และหลบภัยของตัวอ่อนของสัตว์น้ำ� เช่น กุ้ง หอย ปู ปลาน้ำ�จืดชนิดต่างๆ ผิวดิน เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ผิวดินและสัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้ง สัตว์ มีพิษ เช่น งู แมลงป่อง นอกจากนี้ลำ�ต้นที่ตายแล้วเป็นที่อยู่อาศัยและเพาะพันธุ์ตัวหนอนสาคู ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า ด้วงสาคูหรือด้วงจากแมลงหวัง แสดงภาพ ระบบรากฝอยของสาคู (สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล) ตัวอย่าง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่พบในป่าสาคู อ. นาโยง จ. ตรัง สัตว์บก ได้แก่ สัตว์จำ�พวก นก เช่น นกกระยาง นกเขา นกเป็ดน้ำ� นกกรงหน้านวล นกขมิ้น เสือปลา อีเห็น พังพอน ฯลฯ สัตว์เลื้อยคลาน เช่น ตะกวด กิ้งก่า งู เต่า ตะพาบน้ำ� สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ� เช่น กบ เขียด อึ่งอ่าง จงโคร่ง สัตว์น้ำ�จืด เช่น ปลาชนิดต่างๆ โดยเฉพาะ ปลาตูหนา ปลาสร้อยนกเขา ซึ่งชาวบ้านเรียก ปลาขี้ขม ปลาดุก ปลาช่อน กุ้ง หอย ปู ฯลฯ สัตว์จำ�พวกแมลง เช่น แมลงดานา จิ้งหรีด ตั๊กแตน โดยเฉพาะแมลงปีกแข็ง ซึ่งชาวบ้านเรียกแมลงหวัง จะวางไข่ในต้นสาคู กินเนื้อแป้ง สาคูเป็นอาหาร และเจริญเติบโตเป็นด้วงสาคู จัดเป็นสัตว์ เศรษฐกิจ ทำ�รายได้ให้กับชุมชน
  • 3. L a b S c h o o l P r o j e c t 43 มหัศจรรย์ป่าสาคู นอกจากนี้ มีผักพื้นบ้านที่เป็นพืชร่วมป่าสาคู เช่น ต้นจิก ต้นขี้เหล็ก กระพังโหม ผักกูด ผักปล้อง ผักหนาม ส้มเค้า ส้มเม่า ชะมวง เถาคัน บุกบ้าน บุกป่า มะเดื่อ มะแว้ง ยอบ้าน ดังที่แสดงไว้ใน ตาราง 1 และตาราง 2 ตัวอย่างสัตว์ผิวดิน แสดงภาพ งูและแมลงป่อง, ตะขาบ, จิ้งเหลน เป็นตัวอย่างสัตว์อาศัยบริเวณผิวดิน ในระบบนิเวศป่าสาคู
  • 4. 44 มหัศจรรย์ป่าสาคู 44 ตารงที่ 1 ตัวอย่างสัตว์ชนิดต่างๆที่พบในป่าสาคู อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง ประเภท ชนิด หมายเหตุ สัตว์ป่า เสือปลา อีเห็น พังพอน ปลาหมอ นาก (สูญหายไปจากพื้นที่ ) ชื่อท้องถิ่น ปลา ปลาช่อน ปลาไหล ปลาหมอ ปลาดุก ปลาตูหนาหูดำ� ปลาตูหนา หูขาว ปลาดุกรำ�พัน (ปลามัด) ปลาหลาด ปลาหลด ปลาช่อน ไช ปลากริม ปลาตะเพียน ปลาม่อม ปลาโอน ปลาดุกด้าง ปลาแขยง ปลาซิว ปลากัด ปลาเข็ม ปลากระดี่ ปลาแป้น ปลา ข้างลาย ปลาขี้ขม (ปลาสร้อยนกเขา) ปลาลำ�ปำ� ปลาแก้มช้ำ� (สูญหายไปจากพื้นที่) กุ้ง/ปู กุ้งนา กุ้งฝอย กุ้งก้ามกราม ปูนา หอย หอยกาบ หอยจุ๊บ หอยข้าว หอยหวาย หอยขม หอยทาก หอย โข่ง (กำ�ลังจะหมดไปจากพื้นที่) หอยเชอรี่ สัตว์ปีก นกเขา นกกระยาง นกเอี้ยง นกกวัก นกกระจิบ นกอีลุ้ม นก เจี๊ยบไส้ นกเป็ดน้ำ� นกกรงหัวจุก นกหน้านวล นกพังกะ นกกรง เกร็ก นกกระแตแต้แว้ด นกขมิ้น นกหวาด กา เหยี่ยว สัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ� อึ่งอ่าง คางคก กบ เขียดว้าก ปาดบ้าน จงโคร่ง สัตว์เลื้อย คลาน ตะกวด จิ้งเหลน กิ้งก่า งูกะปะ งูเขียว งูสายพาน งูน้ำ� งูปล้อง ทอง กิ้งก่าปีก เต่า ตะพาบน้ำ� แมลง/อื่นๆ ผีเสื้อ ผึ้ง แมลงปอ ตั๊กแตน จิ้งหรีด มดแดง ปลวก แมลงดานา แมลงชอน แมลงเหนียง แมลงจู้จี้ แมลงหวัง (ด้วงสาคู) แมลง เม่า แมงมุม กิ้งกือ ทาก ปลิง ตะขาบ ที่มาของ ข้อมูล สัมภาษณ์และสำ�รวจพื้นที่ หมู่ 7 บ้านทุ่งแก่เจ้ย หมู่ 10 บ้านหนองคล้า อ.นาโยง สมาคม หยาดฝน
  • 5. L a b S c h o o l P r o j e c t 45 มหัศจรรย์ป่าสาคู ตัวอย่าง สัตว์ที่สำ�รวจพบในป่าสาคูหมู่ 7 หมู่ 10 ต.โคกสะบ้า และ ต. นาข้าวเสีย อ.นาโยง จ.ตรัง (สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล)
  • 6. 46 มหัศจรรย์ป่าสาคู 46 ตาราง 2 ตัวอย่างพืชที่สำ�รวจพบในป่าสาคู อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง ประเภท ชนิด หมายเหตุ ไม้ใช้สอย สาคู หลุมพอ ท่อมขี้หมู จันทนา นน ยางนา ยูง แฟบ ตะแบก พลา ปาบ ไทร ชุมแสง แซะ กำ�ชำ� อินทนิล ทองหลาง หว้า จิก ไม้ทัง ไม้กวาด ต้นชด แคหาง ค่าง นนทรี มะหาด ไม้ตำ�เสา ไข่เน่า สมเส็จ ต้นคล้าย ชะมวง ไผ่ป่า ไผ่มัน คล้า คลุ้ม เตยน้ำ� หวายเล็ก หวาย ลิง ย่านสะบ้า ย่ายลิเภา ปดคาย ย่านาง ย่านอวดน้ำ� ย่านมันไส ย่านนมควาย ย่านลำ�เพ็ง ย่านชิงโค ย่ายนูด ชื่อท้องถิ่น ผลไม้พื้น บ้าน กำ�ชำ� ปุดช้าง ระกำ� หว้าเล็ก หว้าใหญ่ หวายลิง หลุมพี เหมร พุ้งพิ้ง พร้าวนกตุ่ม ตะขบนก ตะขบ ปาบ พลา สาคู เม่า รุม ขี้ไต้ กรวด โก ข่อย เนียน วา นมควาย นมแมว ปรายสาร ขอบนาง ตาเป็ดตาไก่ รกช้าง กล้วย มูสัง เร่ราบ (รักราม) เหมรช้าง พืช สมุนไพร กระพังโหม กะตังใบ กูระเปรี๊ยะ ขี้เหล็ก คล้า คลุ้ม จิก ชะพลู ชะมวง ชุมเห็ดใหญ่(ชุมเห็ดเทศ) เหมก หลง กาบ ตำ�ลึง เตยหอม เถาคัน ทองหลางใบใหญ่ เหมร เบื้องถ้วยเบื้องชาม บัวสาย บุกบ้าน ผักปลัง ผักหวาน แฟบ มะแว้ง มะแว้งเครือ มะเขือพวง มะอึก มะเดื่อ มะหาด ยอบ้าน ลำ�เพ็ง ลิ้นห่าน เล็บเหยี่ยว (หนามแสง ขัน) หญ้าเข็ดมอญ หญ้ายายเภา(กูดก้อง กูดแพะ ผัก ตีน) หนามควายถึก หมากหมก ส้มกุ้ง ส้มเม่า อุตพิด กล้วยมูสัง สาคู ท้าวยายม่อม ตรุด ลูกใต้ใบ รางจืดต้น กระแตไต่ไม้(หัวว่าว) ตะแบก ผักเสี้ยนผี ลังไก่ เพกา คณฑีดิน (สมาคมหยาดฝน จ.ตรังเอื้อเฟื้อข้อมูล)
  • 7. L a b S c h o o l P r o j e c t 47 มหัศจรรย์ป่าสาคู ประเภท ชนิด หมายเหตุ แหล่งผัก พื้นบ้าน กล้วยป่า กะพ้อ(พ้อ) กุ่มน้ำ� กูด กะทกรก (ผ้าร้ายห่อทอง รกช้าง) ขรี ขี้เหล็ก กระพังโหม(พาโหม กะพังโหม ตดหมา) แคหางค่าง จิก(จิกน้ำ� จิกนา) โดน ฉิ่ง(มะเดื่อข้าว) ชะพลู ชะมวง ชุมเห็ดเล็ก ชุมเห็ดใหญ่ (ชุมเห็ดเทศ สับหมื่นหลวง) แซะ ตาลหมอน ตาลลูกอ่อน ตำ�ลึง ถั่วจานกคุ้ม เถาคัน ทองหลางใบเล็ก ทองหลางใบใหญ่ ทองหลางใบมน นมห วันขาว นมหวันแดง น้ำ�นอง บอนเกียบ บอนเขียว บอนท่า บอนยายรัด บอนส้ม บังบาย บัวบก บุกบ้าน บุกป่า บัวครั่ง ปุด ชีล้อม ตาราง 3 ความหลากหลายพรรณพืชต่างๆในป่าสาคู อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง ประเภท ชนิด หมายเหตุ แหล่งผัก พื้นบ้าน ผักบุ้ง(ผักทอดยอด) ผักปลัง ผักปอด(บัวกวัก) ผักริ้น ผัก แว่น ผักเสี้ยน ผักหนาม ผักโหม(ผักหม ผักโขม) ผักหวาน บ้าน ไผ่ป่า แฟบ มะกอกป่า มะเขือพวง มะเดื่อ(ฉิ่ง) มะแว้ง มะแว้งเครือ มะหาด มะอึก มันตึง มันทราย มันธาตุ มัน เหมร ยอบ้าน ลำ�เพ็ง (ผักกูดแดง ปรงสวน) หลำ�ปะสี(ผัก กาดนกคูด) ลิ้นห่าน เล็บเหยี่ยว(หนามแสงขัน หนามเล็บ เหยี่ยว) ส้มกุ้งแดง ส้มกุ้งขาว ส้มเค้า ส้มเม่า สมเส็จ หญ้า ปล้อง(ผักปล้อง) หนามควายถึก บัวหลวง อุตพิด อินทะนิล เอื้องนา(เอื้องน้ำ�) เอื้องช้าง(เอื้องต้น เอื้องใหญ่) อุแพ หมรุ ย ผักไห่ เต่าร้าง ส้มฝรั่ง(กระเจี๊ยบพื้นบ้าน) ผักกาดนกเขา หมากหมก สาคู โสน ยาร่วง(มะม่วงหิมพานต์) กระถิน เหม็ดชุน ตีเมียเบือย่าง ไทรเลียบ ข่าเล็ก ทวย กะทือ ลำ�ผี พ่าย ก้ามกุ้ง เทียม(สะเดาช้าง) ยายถีบหลาน ตาเป็ดตาไก่ เพกา ผักรวย แก้มช่อน มือเข้ ชื่อท้องถิ่น ที่มาของข้อมูล สัมภาษณ์และสำ�รวจพื้นที่ หมู่ 7 บ้านทุ่งแก่เจ้ย หมู่ 10 บ้านหนองคล้า ตำ�บลนาข้าวเสีย อำ�เภอนาโยง จังหวัดตรัง สมาคมหยาดฝน (สมาคมหยาดฝน จ.ตรังเอื้อเฟื้อข้อมูล)
  • 8. 48 มหัศจรรย์ป่าสาคู 48 แสดงภาพ ตัวอย่างพืชท้องถิ่น ที่สำ�รวจพบในป่าสาคู อ. นาโยง จ. ตรัง (ชื่อท้องถิ่น:สมาคมหยาดฝน จ.ตรัง เอื้อเฟื้อภาพ) ลูกฉิ้ง มะแว้ง บุกป่า ดอกนมสวรรค์ ไม้ตำ�เสา ต้นบุก ต้นลำ�เพ็ง ต้นหมากหมก