SlideShare a Scribd company logo
ระบบคอมพิว เตอร์แ ละระบบ
ปฏิบ ัต ิก าร




โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรม
คอมพิวเตอร์
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ
วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้


                    เพื่อให้รู้จักสาระสำาคัญเกี่ยวกับระบบ
                    คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ วิวัฒนาการและ
                    ชนิดของคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
                    เพื่อให้เข้าใจหน้าทีของระบบปฏิบัติการใน
                                         ่
                    การติดต่อระหว่างอุปกรณ์รอบข้างกับหน่วย
                    ประมวลผลกลาง
                    เพื่อศึกษาเกียวกับการเรียกระบบ และระบบ
                                   ่
                    ไมโครคอมพิวเตอร์


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 2
                                                                                      ั ิ
หัว ข้อ บรรยาย


                    Computer System Components
                    What is an Operating System?
                    Mainframe Systems
                    Desktop Systems
                    Multiprocessor Systems
                    Distributed Systems
                    Clustered System
                    Real -Time Systems
                    Handheld Systems
                    การติดต่อระหว่างอุปกรณ์รอบข้างกับซีพียู
                    System Call
                    ไมโครคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบติการ
                                                 ั


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 3
                                                                                      ั ิ
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 4
                                                                                      ั ิ
ส่ว นประกอบของระบบคอมพิว เตอร์
                         Computer System Components

                    ฮาร์ดแวร์ (h/w) ทำาหน้าที่จัดหาทรัพยากรเพื่อการ
                    คำานวณพื้นฐาน ได้แก่ ซีพียู หน่วยความจำา i/o
                    devices เป็นต้น
                    ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ควบคุมและ
                    ประสานงานการใช้ฮาร์ดแวร์เหล่านั้นที่ถูกเรียกใช้
                    โดยหลายแอพพลิเคชันโปรแกรม สำาหรับผู้ใช้ต่างๆ
                    แอพพลิเคชันโปรแกรม (application program)
                    กรรมวิธีที่ทรัพยากรระบบจะถูกใช้เพือแก้ปัญหาใน
                                                         ่
                    ทางคำานวณของผู้ใช้งาน เช่น คอมไพเลอร์ ระบบฐาน
                    ข้อมูล เกมส์วีดิโอ ซอฟต์แวร์ธุรกิจ เป็นต้น
                    ผู้ใช้ (users) ได้แก่ คน เครื่องคอมพิวเตอร์ และ
                    คอมพิวเตอร์เครื่องอืนๆ่


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 5
                                                                                      ั ิ
Abstract View of System Components




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 6
                                                                                      ั ิ
ระบบปฏิบ ต ิก าร
                                                   ั
                                      OS: Operating Systems

                    คือ กลุ่มโปรแกรมทีทำาหน้าทีเป็นตัวกลาง
                                        ่       ่
                    ระหว่างผู้ใช้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์
                    มีจุดมุงหมายเพื่อจัดหาสภาพแวดล้อมที่เหมาะ
                           ่
                    สมเพื่อให้ผู้ใช้กระทำาการกับโปรแกรม
                    (execute programs)
                    โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อให้การใช้ระบบ
                    คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เป็นไปอย่างสะดวก และ
                    การใช้ฮาร์ดแวร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 7
                                                                                      ั ิ
แบบจำาลองพื้นผิวแต่ละชันทีแสดงปฏิสมพันธ์ระหว่างผู้ใช้, โปรแกรมประยุกต์, ระบบ
                                   ้ ่         ั
                                       ปฏิบัตการ และฮาร์ดแวร์
                                             ิ

Operating System Concepts                         1.8            Silberschatz, Galvin and Gagne ©2002
Operating System Definitions


                    ผู้จัดสรรทรัพยากร (Resource allocator)
                    ทำาหน้าทีจัดการและจัดสรรทรัพยากร
                              ่
                    โปรแกรมควบคุม (Control program)
                    ควบคุมการกระทำาการ (execution) ของ
                    โปรแกรมผู้ใช้และปฏิบัตต่างๆ
                                            ิ
                    (operations) ของอุปกรณ์ i/o
                    เคอร์แนล (Kernel) โปรแกรมชนิดหนึงที่
                                                       ่
                    รันอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้แอพพลิคชันโปร
                    แกรมอืนๆ สามารถดำารงอยู่ได้
                            ่

วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 9
                                                                                      ั ิ
 วิว ัฒ นาการและชนิด ของระบบปฏิบ ต ิ
                                                        ั
                                       การ

                    ระบบปฏิบติการและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์มีอทธิพลซึ่ง
                              ั                                    ิ
                    กันและกันอย่างมาก
                    พบได้จากวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่อดีตจาก
                    หลอดสุญญากาศที่ไม่มีระบบปฏิบติการ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำาให้
                                                   ั
                    ต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบปฏิบติการให้มี
                                                           ั
                    โครงสร้างที่ทันสมัยเหมาะสำาหรับการใช้งาน
                    ถูกพัฒนามาจากระบบเครื่องเมนเฟรมที่ต้องการเพียงระบบ
                    ปฏิบติการอย่างง่ายๆ สำาหรับทำางานกับแอพพลิเคชันเพียง
                         ั
                    อย่างเดียว จนกระทั่งถึงระบบแบ่งกันใช้เวลาที่ซับซ้อน
                    จากนั้น จึงพัฒนาไปอยู่บนระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
                    อย่างคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ มาเป็นระบบคอมพิวเตอร์แบบ
                    มือถือ และอุปกรณ์แบบเคลื่อนได้ในปัจจุบน  ั




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 10
                                                                                      ั ิ
พัฒ นาการที่ส ำา คัญ ของระบบปฏิบ ต ิก าร
                                                      ั


                    Mainframe Systems
                    Desktop Systems
                    Multiprocessor Systems
                    Distributed Systems
                    Clustered System
                    Real -Time Systems
                    Handheld Systems


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 11
                                                                                      ั ิ
ระบบเชิง กลุม
                                                                 ่
                                                   (Batch Systems)

                    เป็นระบบแบบง่ายๆ ตามสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
                    มีหน้าที่หลักคือส่งการควบคุมโดยอัตโนมัติจากงาน
                    หนึ่งไปยังงานถัดไป
                    ระบบปฏิบัติการต้องอยู่ในหน่วยความจำาตลอดเวลา
                    เพื่อทำาให้การประมวลผลเร็วขึ้น ผู้ดูแลระบบทำาการ
                    รวมกลุ่มงานที่มีความต้องการสิงที่เหมือนกันเข้าด้วย
                                                    ่
                    กันและดำาเนินงานงานเหล่านั้นผ่านทางคอมพิวเตอร์
                    เป็นกลุม่
                    โปรแกรมเมอร์สามารถทิ้งโปรแกรมไว้กับพนักงานคุม
                    เครื่องได้ และผู้ดูแลระบบจะเรียงโปรแกรมไว้เป็นกลุ่ม
                    ที่ต้องการสิ่งทีเหมือนกันและเมื่อคอมพิวเตอร์ว่างก็จะ
                                    ่
                    ดำาเนินงานแต่ละโปรแกรมตามลำาดับ


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 12
                                                                                      ั ิ
ภาพที่ 1.2 โครงร่างของหน่วยความจำาสำาหรับระบบเชิง
                               กลุ่มอย่างง่าย
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 13
                                                                                      ั ิ
ระบบเชิง กลุ่ม แบบอัต โนมัต ิ
                                    (Automatic Batch Systems)


                    เป็น os รุ่นแรกใช้กับเครื่อง IBM 701
                    os รุ่นนี้เป็นเพียงโปรแกรมฝังตัวเล็กๆ (resident
                    monitor) ซึ่งวิ่งอยู่ภายในเครื่องตลอดเวลา และ
                    ทำาการส่งมอบการควบคุมเครื่องให้กับโปรแกรมของผู้
                    ใช้ทีละโปรแกรมตามลำาดับ
                    ใช้ภาษาควบคุมงาน JCL (Job Control Language)
                    ช่วงเวลารอคอย (turnaround time) คือตั้งแต่ส่งมอบ
                    งานเข้าเครื่อง (job submission) จนกระทั่งงานเสร็จ
                    สมบูรณ์ (job completion)
                    ยังมีปัญหาในเรื่องความแตกต่างของความเร็วระหว่าง
                    i/o กับ cpu ทำาให้ประโยชน์ใช้สอยของซีพียู (cpu
                    utilization) ยังทำาไม่เต็มที่


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 14
                                                                                      ั ิ
ระบบบัฟ เฟอร์ (Buffering)

                    มีหลักการทำางานคือ ให้ i/o ทำางานขนานไป
                    พร้อมกับ cpu ให้มากที่สุด เพื่อลดเวลาที่ cpu รอ
                    i/o
                    ในขณะที่ cpu กำาลังประมวลผล i/o จะอ่านข้อมูล
                    ถัดไปมาไว้ที่หน่วยความจำา ที่เรียกว่า บัฟเฟอร์
                    (buffer)
                    บัฟเฟอร์ของ i/o ได้แก่ เครื่องอ่านบัตร (card
                    reader) และเครื่องพิมพ์รายบรรทัด (line printer)
                    i/o จะทำางานติดต่อกับ cpu โดยตรง เรียกว่า
                    ระบบต่อตรง (On-Line)



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 15
                                                                                      ั ิ
ระบบบัฟ เฟอร์ (Buffering) (cont.)


                    ถ้าการอ่าน/เขียนสำาหรับข้อมูลแต่ละหน่วยใช้
                    เวลาเท่ากับการประมวลผลแต่ละหน่วยพอดี i/o
                    กับ cpu จะไม่มีการรอคอยซึ่งกันและกัน
                    ปัญหาสำาคัญของระบบนี้คือ ความเหลื่อมลำ้าด้าน
                    เวลา
                       cpu มีความเร็วสูงกว่า i/o มาก แม้จะมีบฟเฟอร์เข้ามา
                                                              ั
                        ช่วย cpu ก็ต้องรอi/o อยู่ดี
                       หากเป็นงานประเภทต้องใช้ i/o มาก (I/O bounded)
                        cpu ต้องรอ i/o
                       หากเป็นงานประเภทต้องใช้ cpu มาก (CPU
                        bounded) ทำาให้ i/o ต้องรอ cpu


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 16
                                                                                      ั ิ
การประมวลผลออฟไลน์
                                             (Off-Line Processing)


                    แบบไม่เชื่อมตรง แตกต่างจากระบบออนไลน์
                    ระบบออฟไลน์จะใช้เทปแม่เหล็ก (magnetic
                    tape) แทนเครื่องอ่านบัตรและเครื่องพิมพ์ที่มี
                    ความเร็วตำ่ามาก โดยคั่นระหว่าง input unit กับ
                    cpu และ cpu กับ output unit
                    การถ่ายเทข้อมูลผ่านเทปแม่สามารถทำาได้โดยใช้
                    เครื่องอ่านบัตรและเครื่องพิมพ์ที่ได้รับการ
                    ออกแบบเป็นพิเศษ ให้สามารถถ่ายเทข้อมูลโดย
                    ไม่ต้องผ่านซีพียู หรือเพิ่มหน่วยประมวลผลขนาด
                    เล็กที่ทำาหน้าที่เฉพาะด้านนี้ เรียกว่า I/O
                    Processor


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 17
                                                                                      ั ิ
CPU
                                      card reader                                         line printer
                                                                     (a)




                                                                    CPU
    card reader                Tape drives                                                        tape drives   line printer
                                                                      (b)

             ภาพที่ 1.3 การทำางานของ i/o (a) แบบออนไลน์ (b)
                               แบบออฟไลน์
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 18
                                                                                      ั ิ
Off-Line Processing (cont.)


                    ระบบออฟไลน์ก็ยงมีข้อจำากัดดังนี้
                                  ั
                       โปรแกรมต้องผ่านขั้นตอนมากขึ้น จะมีค่าใช้จ่าย
                        อื่น (overhead) สูง
                       ต้องการระบบปฏิบัติการที่ซับซ้อนมากขึ้น
                       ในการเก็บข้อมูลลงเทปจำาเป็นต้องรอให้มีหลายๆ
                        โปรแกรมเสียก่อน จึงค่อยนำาเข้าสู่เครื่องใหญ่เสียที
                        หนึ่ง แม้จะทำาให้ประโยชน์ใช้สอยของซีพียูดีขึ้น
                        แต่ผู้ใช้ต้องมีเวลารอคอย (turnaround time) มาก
                        ขึ้น



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 19
                                                                                      ั ิ
ระบบสพูล ิง (Spooling)


                    ในยุคนี้เทคโนโลยีสื่อบันทึกได้พฒนาจากเทปแม่เหล็ก
                                                       ั
                    เป็นดิสก์ ซึ่งได้นำาไปสู่การเปลี่ยนโฉมหน้าของการ
                    ออกแบบระบบปฏิบัติการและแอพพลิเคชันในเวลาต่อ
                    มา
                    ระบบสพูลิง หรือระบบการเก็บพักได้ใช้ระบบดิสก์แทน
                    เทปแม่เหล็ก
                    เทปไม่สามารถทำาการประมวลผลข้อมูลในเทปในขณะ
                    ที่กำาลังถ่ายเทข้อมูลจากเครื่องอ่านบัตรลงในเทปม้วน
                    เดียวกันได้
                    หลักการใช้ดิสก์แทนอุปกรณ์รับและแสดงผล เรียกว่า
                    การเก็บพักหรือสพูลิง (spooling--Simultaneous
                    Peripheral Operating On-Line)


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 20
                                                                                      ั ิ
Spooling (cont.)


                    เทปแม่เ หล็ก
                       เทปเป็นอุปกรณ์ประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำาดับ
                        (sequential-access device)
                       การประมวลผลโดยอาศัยเทปเป็นแบบออฟไลน์
                    ดิส ก์
                       ดิสก์เป็นอุปกรณ์ประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม (random-
                        access device) สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (direct access) ได้
                        จึงทำาให้สามารถแยกงานออกจากกัน โดยสร้างตารางบ่งบอกว่าข้อมูล
                        หรือผลลัพธ์อยู่ที่ส่วนใดของดิสก์
                       การประมวลผลของดิสก์เป็นแบบเชื่อมโดยตรงกับซีพียู (On-Line
                        system) ดังนัน หน่วยที่ใช้ในการถ่ายเทข้อมูลระหว่างดิสก์กับ
                                     ้
                        อุปกรณ์ไอ/โอ จึงต้องเป็นตัวเดียวกับหน่วยที่ใช้ประมวลผลงานของผู้
                        ใช้
                       ใช้โปรแกรมพิเศษตัวหนึ่ง เรียกว่า โปรแกรม spool วิ่งคู่ขนานไปกับ
                        โปรแกรมของผู้ใช้ เพื่อทำาการถ่ายเทข้อมูลกับดิสก์ จึงก่อให้เกิดระบบ
                        หลาบโปรแกรม (Multiprogramming) ขันพื้นฐาน
                                                               ้


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 21
                                                                                      ั ิ
ภาพที่ 1.4 ระบบสพูลิง
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 22
                                                                                      ั ิ
ข้อ แตกต่า งระหว่า งระบบบัฟ เฟอร์ก ับ สพู
                                      ลิง

                    ระบบบัฟเฟอร์ เป็นการเหลื่อมกันระหว่างการ
                    ประมวลผลกับหน่วยนำาเข้า/ส่งออก ของโปรแกรม
                    เดียวกัน ซึ่งไม่อาจทำาได้มากนักด้วยข้อจำากัดของ
                    ขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมนั้นๆ
                    ระบบสพูลง เป็นการเหลื่อมกันของการประมวลผล
                              ิ
                    กับการรับและแสดงผลของอีกงานหนึ่ง โดยผ่าน
                    โปรแกรมสพูล (spool)
                    ระบบสพูลง สามารถจัดการงานที่ถูกป้อนเข้ามา
                                ิ
                    แบบเรียงลำาดับได้โดยอิสระ เกิดเป็นกองกลางงาน
                    (job pool) ซึ่งระบบปฏิบัติการสามารถเลือกงาน
                    เข้าประมวลผลตามความเหมาะสมก่อให้เกิดระบบ
                    การจัดลำาดับงาน (job scheduling)

วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 23
                                                                                      ั ิ
ระบบหลายโปรแกรม
                                   (Multiprogrammed Systems)


                    ความสามารถของการทำางานแบบหลายโปรแกรม
                    (multiprogramming) ผูใช้ไม่สามารถใช้ cpu หรือ i/o แต่
                                             ้
                    เพียงผูเดียวตลอดเวลา
                              ้
                    การทำางานแบบหลายโปรแกรมเป็นการเพิ่มการใช้งาน cpu
                    โดยการจัดงานให้กับ cpu ทำาอยู่ตลอดเวลา
                    งานหลายๆ งานจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำาพร้อมๆ กัน
                    ในงานกองกลาง (job pool)
                    os จะหยิบหนึ่งงานในหน่วยความจำามาดำาเนินการจน
                    กระทั่งงานนั้นอาจต้องรอให้งานบางอย่างเสร็จสมบูรณ์
                    ในระบบแบบหลายโปรแกรม os ต้องสับเปลี่ยนไปทำางาน
                    อื่น เมื่องานนันต้องหยุดรอบางอย่างอีก ซีพียูก็จะสลับไป
                                   ้
                    ทำางานอืนอีกเป็นเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ
                                ่



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 24
                                                                                      ั ิ
ภาพที่ 1.5 โครงร่างหน่วยความจำาสำาหรับระบบ
                หลายโปรแกรม จะมีหลายงานเก็บอยู่ในหน่วย
               ความจำาหลักพร้อมๆกัน และซีพียจะเลือกมาหนึ่ง
                                            ู
                            งานเพือกระทำาการ
                                  ่
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 25
                                                                                      ั ิ
Multiprogrammed Systems (cont.)


                    os ต้องเลือกว่างานใดจะสามารถเข้าใช้หน่วยความจำา
                    ได้ก่อน การตัดสินใจนี้เรียกว่า การสับเปลี่ยนงาน
                    (job scheduling)
                    os ต้องเลือกว่าจะ run งานใดที่พร้อมถูก run ก่อน
                    เรียกว่า การจัดลำาดับการใช้ซีพียู (CPU scheduling)
                    การที่มีหลายๆ งานดำาเนินไปพร้อมๆ กัน ความ
                    สามารถของแต่ละงานที่จะมีผลกระทบต่องานอืนต้อง ่
                    ถูกจำากัดในทุกขั้นตอนของระบบปฏิบัติการ ได้แก่
                          การจัดลำาดับกระบวนการ (process scheduling)
                          หน่วยเก็บข้อมูลแบบจานบันทึก (disk storage)
                          การจัดการหน่วยความจำา (memory management)
                          การจัดสรร i/o (i/o allocation)



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 26
                                                                                      ั ิ
ภาพที่ 1.6 เปรียบเทียบการทำางานระหว่างสภาพ
               แวดล้อมแบบโปรแกรมเดียวและแบบหลาย
                                โปรแกรม
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 27
                                                                                      ั ิ
ระบบการแบ่ง กัน ใช้เ วลา
                                         (Time-Sharing Systems)


                    เป็นเทคนิคที่ผู้ใช้หลายคนสามารถแบ่งปันการใช้
                    ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกันในเวลาเดียวกัน
                    os จะแบ่งเวลาออกเป็นช่วงสั้นๆ เรียกว่า เสี้ยวเวลา
                    (time slice)
                    เวียนกระทำาการกับโปรแกรมหรือกระบวนการของผู้
                    ใช้เป็นลำาดับไป
                    ช่วยให้เวลาการตอบสนอง (response time) ต่อผู้ใช้
                    ทั้งหมดดีขึ้นและซีพยูทำางานได้เต็มประสิทธิภาพ
                                         ี
                    เวลาการตอบสนอง หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ผู้ใช้ป้อน
                    คำาสั่งให้คอมพิวเตอร์จนกระทั่งคอมพิวเตอร์ตอบรับมา



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 28
                                                                                      ั ิ
Time-Sharing Systems (cont.)


                    แบบหลายภารกิจ (multitasking)
                       หมายถึงสมรรถนะการทำางานแบบหลายโปรแกรมของระบบ
                           ปฏิบัติการสำาหรับผู้ใช้คนเดียว อย่างเช่นในคอมพิวเตอร์ส่วน
                           บุคคล โดยที่ผู้ใช้คนหนึ่งสามารถดำาเนินการ (run) หลาย
                           โปรแกรมในเวลาเดียวกันบนเครื่องเดียวกัน
                    แบบมัล ติเ ธรด (multithreading)
                       สามารถแบ่งโปรแกรมหรือกระจายกระบวนการออกเป็นกระ
                        บวนการย่อยๆ เรียกว่า เธรด (thread) ซึ่งเป็นหน่วยย่อยที่เล็ก
                        ที่สุดของกระบวนการที่สามารถกระทำาการได้ (execution unit
                        of process หรือ executable entity)
                       ในระบบมัลติเธรด จะซอยโปรแกรม หรือกระบวนการออก
                        เป็นหน่วยย่อยๆ แล้วทำางานคู่ขนานกันไป ซึ่งจะช่วยให้
                        โปรแกรมทำางานเสร็จเร็วขึ้น


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 29
                                                                                      ั ิ
Time-Sharing Systems (cont.)


                    หน่ว ยเก็บ เสมือ น (virtual storage )
                       เป็นเทคนิคในการแบ่งปันหน่วยความจำาเพื่อให้สามารถ
                        กระทำาการกับหลายโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                        บางทีเรียกว่าหน่วยความจำาเสมือน (virtual memory)
                       โดยวิธีการแบ่งส่วนของโปรแกรมออกเป็นสองส่วน
                        ส่วนแรกจะเก็บเฉพาะส่วนที่จำาเป็นสำาหรับการกระ
                        ทำาการไว้ในหน่วยความจำาหลักจึงเรียกส่วนนีว่า หน่วย
                                                                     ้
                        เก็บจริง (real storage) และส่วนที่เหลือจะเก็บไว้ใน
                        หน่วยเก็บรอง เช่นดิสก์ จึงเรียกส่วนนีว่า หน่วยเก็บ
                                                             ้
                        เสมือน (virtual storage)
                       โดยที่โปรแกรมประยุกต์จะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ ลงใน
                        หน้า (page) ซึ่งมีขนาดคงที่ หรือ ส่วน (segment) ซึ่ง
                        มีขนาดที่แปรเปลียนได้
                                          ่



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 30
                                                                                      ั ิ
ภาพที่ 1.7 หน่วยเก็บเสมือนเป็นเทคนิคทีช่วยขยายหน่วย
                                            ่
                  ความจำาหลักของคอมพิวเตอร์
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 31
                                                                                      ั ิ
ระบบคอมพิว เตอร์แ บบตั้ง โต๊ะ
                                          (Desktop Systems)


                    คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ถูก
                    ออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานสำาหรับผู้ใช้คนเดียว
                    อุปกรณ์ i/o ต่างๆ ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์
                    จอภาพ
                    คุณลักษณะของระบบปฏิบัติการใหญ่ๆได้ถูกลดขนาด
                    ลงให้เหมาะกับพีซี มีความสามารถมากขึ้น เร็วขึ้น และ
                    ระบบฮาร์ดแวร์ที่มีความซับซ้อนมากขึ้นได้ถูกพัฒนา
                    ขึ้นมา
                    เน้นความสะดวกและการตอบสนองต่อผู้ใช้เป็นหลัก
                    ไม่เน้นการใช้ประโยชน์จากซีพียูและระบบป้องกันที่มี
                    อยู่บนระบบเมนแฟรม


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 32
                                                                                      ั ิ
ระบบหลายตัว ประมวลผล
                                       (Multiprocessor Systems)


                    ระบบในปัจจุบันส่วนมากเป็นแบบตัวประมวลผล
                    เดี่ยว (single-processor systems) แต่สามารถ
                    ขยายขีดความสามารถได้หลายวิธี เช่น dual
                    core, hyper threading, multi-core
                    ระบบแบบหลายตัวประมวลผล (multiprocessor
                    systems) บางทีเรียกว่าระบบขนาน (parallel
                    systems) หรือระบบคู่แน่น (tightly coupled
                    systems)
                    เป็นระบบที่มีตัวประมวลผลมากกว่า 1 ตัวอยู่ใน
                    ระบบสื่อสารแบบปิด มีการใช้บัสคอมพิวเตอร์ และ
                    นาฬิการ่วมกัน และบางครั้งรวมถึงหน่วยความจำา
                    และอุปกรณ์ต่อพ่วงด้วย

วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 33
                                                                                      ั ิ
Multiprocessor Systems (cont.)


                    ข้อดีสำาคัญของระบบหลายตัวประมวลผล
                       การเพิ่มปริมาณงาน (throughput)
                       การประหยัดอันเนื่องมาจากขนาด (economy of
                        scale)
                       เพิ่มความเชื่อถือได้ (increased reliability)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 34
                                                                                      ั ิ
Multiprocessor Systems (cont.)


                    ระบบมัลติโพรเซสเซอร์แบบสมมาตร หรือ
                    SMP (symmetric multiprocessing)
                       ทุกตัวประมวลผลอยู่ในระดับเดียวกัน (peers) ไม่มี
                        ความสัมพันธ์แบบหลัก-รอง ระหว่างตัวประมวลผล
                       แต่ละตัวประมวลผลจะดำาเนินสำาเนาของระบบ
                        ปฏิบัติการชุดเดียวกันไปพร้อมๆ กัน
                       ทุกตัวประมวลผลจะรันกระบวนการจำานวนเท่าๆ
                        กัน
                       ระบบปฏิบัติการส่วนใหญ่สนับสนุน SMP



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 35
                                                                                      ั ิ
Multiprocessor Systems (cont.)


                    แบบระบบมัลติโพรเซสเซอร์แบบอสมมาตร
                    (asymmetric multiprocessing)
                       ตัวประมวลผลแต่ละตัวจะถูกมอบหมายงานเฉพาะให้ทำา
                       มีตัวประมวลผลหลัก (master processor) คอยควบคุม
                        ระบบ
                       ส่วนตัวประมวลผลอืนๆ อาจเรียกว่าตัวประมวลผลร่วม
                                          ่
                        จะรอคำาสั่งจากตัวหลัก หรืออาจทำางานที่กำาหนดไว้ลวง
                                                                        ่
                        หน้า (predefined tasks)
                       รูปแบบความสัมพันธ์นี้เรียกว่า ความสัมพันธ์แบบหลัก-
                        รอง (master-slave relationship)
                       ตัวประมวลผลหลักจัดตารางและกำาหนดงานให้กับตัว
                        ประมวลผลร่วม



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 36
                                                                                      ั ิ
รูปที่ 1.7 สถาปัตยกรรมมัลติโพรเซสเซอร์แบบ
                               สมมาตร หรือ SMP
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 37
                                                                                      ั ิ
ระบบทำา งานแบบทัน ที
                                              (Real-Time Systems)


                    ระบบทำางานแบบทันที การประมวลผลจะต้องถูกดำาเนินการ
                    ภายในเวลาที่กำาหนด มิฉะนั้นระบบจะหยุดหรือล้มเหลว
                    ถูกใช้เมื่อต้องการการตอบสนองแบบทันทีของการทำางานของตัว
                    ประมวลผลหรือกลไกลของข้อมูล
                    มักถูกใช้เป็นอุปกรณ์ควบคุมในโปรแกรมประยุกต์เฉพาะงาน ตัว
                    รับรู้ (sensors) นำาข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่อง
                    คอมพิวเตอร์ต้องวิเคราะห์ข้อมูลและอาจจะปรับการควบคุมเพื่อ
                    แก้ไขการรับข้อมูลเข้าของตัวรับรู้
                    ประเภทของระบบทำางานแบทันที
                       ระบบฮาร์ดเรียลไทม์ (hard real-time system) เป็นระบบที่รับรองว่า
                        ภารกิจวิกฤต (critical task) ต้องเสร็จตามเวลาที่กำาหนด
                       ระบบซอฟต์เรียลไทม์ (soft real-time system) ซึ่งงานที่วิกฤตจะได้รับ
                        ลำาดับความสำาคัญ (priority) เหนือกว่างานอื่นๆ และจะได้รับลำาดับความ
                        สำาคัญนั้นจนกระทั่งงานเสร็จสมบูรณ์




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 38
                                                                                      ั ิ
ระบบกระจาย
                                             (Distributed Systems)


                    เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทใช้ระบบแบบคูหลวม (loosely
                                         ี่          ่
                    coupled) หรือระบบแบบกระจาย
                       ประกอบด้วยกลุ่มของตัวประมวลผลซึ่งไม่ได้แบ่งกันใช้หน่วย
                        ความจำาหรือนาฬิการะบบ
                       แต่ละตัวประมวลผลมีหน่วยความจำาของตัวเอง (local memory)
                       ตัวประมวลผลติดต่อกับผู้อนผ่านเส้นทางสื่อสารต่างๆ เช่น บัส
                                                ื่
                        ความเร็วสูง หรือสายโทรศัพท์
                    ระบบปฏิบติการเครือข่าย (network operating system-
                            ั
                    NOS)
                       เป็นระบบปฏิบติการที่มีคณลักษณะ เช่น การแบ่งกันใช้แฟ้ม
                                    ั          ุ
                        ข้อมูลข้ามเครือข่าย รูปแบบการติดต่อสื่อสารซึ่งอนุญาตให้
                        กระบวนการต่างกันบนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างเครื่องกันได้แลก
                        เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน
                       เครื่องคอมพิวเตอร์ที่รัน NOS ปฏิบัติตัวอย่างเป็นอิสระจาก
                        คอมพิวเตอร์เครื่องอืนบนเครือข่าย
                                            ่


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 39
                                                                                      ั ิ
Distributed Systems (cont.)


                    ระบบปฏิบัติการแบบกระจาย (distributed
                    operating system) มีสภาพแวดล้อมทีเป็น
                                                        ่
                    อิสระน้อยกว่าระบบปฏิบัติการเครือข่าย
                    แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
                       ระบบรับ-ให้บริการ (client-server systems)
                       ระบบเพียร์ทูเพียร์ (peer-to-peer systems)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 40
                                                                                      ั ิ
Distributed Systems (cont.)




                             ภาพที่ 1.8 โครงสร้างทัวไปของระบบ
                                                    ่
                                         client/server
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 41
                                                                                      ั ิ
Distributed Systems (cont.)


                    ต้องการโครงสร้างพืนฐานของเครือข่าย
                                      ้
                    รองรับ เช่น LAN หรือ WAN
                    อาจใช้เป็นระบบ client/server หรือ peer-to-
                    peer ก็ได้




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 42
                                                                                      ั ิ
Distributed Systems (cont.)


                    ข้อดี
                       ใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resources Sharing)
                       เพิ่มความเร็วในการคำานวณ แบ่งปันภาระงาน
                        (Computation speed up – load sharing)
                       เพิ่มความเชื่อถือได้ (Reliability)
                       ระบบการสื่อสาร (Communications)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 43
                                                                                      ั ิ
ระบบคลัส เตอร์
                                                (Clustered systems)


                    ระบบคลัสเตอร์ยอมให้หลายระบบสามารถใช้ระบบ
                    หน่วยเก็บชุดเดียวกันได้
                    คล้ายกับระบบขนาน ซึ่งรวมหลายหน่วยประมวลผลก
                    ลางเข้าประมวลผลร่วมกัน หรือช่วยกันประมวลผลงาน
                    ใหญ่ๆ ให้เสร็จในเวลาที่รวดเร็ว และยอมรับการเข้า
                    ถึงจากเครื่องของสมาชิก มีความเชื่อถือได้สูงมาก
                    คลัสเตอร์แบบสมมาตร (Asymmetric clustering)
                       1 server runs แอพพลิเคชันในขณะที่ servers อื่นทำาหน้าที่
                           standby.
                    คลัสเตอร์แบบอสมมาตร (Symmetric clustering)
                       ทุกโฮสต์ช่วยกันรันแอพพลิเคชัน (all N hosts are running
                           the application)



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 44
                                                                                      ั ิ
ระบบคอมพิว เตอร์ม ือ ถือ
                                               (Handheld systems)


                    บางทีเรียกว่า ระบบเคลื่อนที่ได้ (Mobile system) รวมไป
                    ถึงพีดเอ (PDA: personal digital assistants) เช่น พาล์ม
                           ี
                    (Palm), พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) หรือโทรศัพท์แบบเซล
                    ลูลาร์ (cellular telephone) สมาร์ทโฟน iPod, iPhone
                    Tablet และอุปกรณ์แบบเคลื่อนที่ได้อนๆ ซึ่งเชื่อมต่อเป็น
                                                        ื่
                    เครือข่าย ผ่านระบบ Wi-Fi, Bluetooth เป็นต้น
                    ฮาร์ดแวร์ของอุปกรณ์ประเภทพกพาได้รับการพัฒนาให้มี
                    ขีดความสามารถทีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
                                        ่
                    ประเด็นที่พงพิจารณา
                                ึ
                          ข้อจำากัดของหน่วยความจำา
                          หน่วยประมวลผลความเร็วตำ่า
                          ขนาดของหน่วยแสดงผล
                          การบริโภคพลังงาน



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 45
                                                                                      ั ิ
หน้า ที่ข องระบบปฏิบ ต ก าร
                                                             ั ิ


                    การจัดการกระบวนการ (process management)
                    การจัดการหน่วยความจำาหลัก (main memory
                    management)
                    การจัดการแฟ้ม (file management)
                    การจัดการระบบไอ/โอ (I/O system management)
                    การจัดการหน่วยเก็บรอง (secondary-storage
                    management)
                    เครือข่าย (networking)
                    ระบบการป้องกัน (protection system)
                    ระบบตัวแปลคำาสั่ง (command interpreter system)



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 46
                                                                                      ั ิ
Migration of Operating-System Concepts and
                                      Features




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 47
                                                                                      ั ิ
Computing Environments


                    Traditional computing
                    Web-Based Computing
                    Embedded Computing
                    Mobile Computing




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 48
                                                                                      ั ิ
การติด ต่อ ระหว่า งอุป กรณ์ร อบข้า งกับ
                                        ซีพ ีย ู


                    การหยั่งสัญญาณ หรือพอลลิง (polling)
                    การขัดจังหวะ หรืออินเทอร์รัพต์ (interrupt)
                    ตู้ไปรษณีย์ หรือเมลบ็อกซ์ (mailbox)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 49
                                                                                      ั ิ
การติด ต่อ ระหว่า งอุป กรณ์ร อบข้า งกับ
                                        ซีพ ีย ู

                    การพอลลิง
                          เป็นการติดต่อที่ช่วงเวลาหนึ่งๆ ซีพียู จะหยุดงานที่ทำาอยู่ชั่วคราวเพื่อ
                           เข้าไปตรวจอุปกรณ์ไอ/โอแต่ละอุปกรณ์ว่ามีการขอบริการอะไรจาก
                           ซีพียู บ้างจนครบทุกอุปกรณ์ แล้วจึงจะกลับไปทำางานที่ค้างไว้ต่อ
                    การขัดจังหวะ
                       จะเป็นลักษณะการติดต่อโดยการส่งสัญญาณการขัดจังหวะไปยัง
                        interrupt driven โดยฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์เพื่อบอกซีพียู
                       เมื่อซีพียรับรู้ก็จะหยุดทำางานรอจนกระทั่งการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์นั้น
                                  ู
                        เสร็จสิ้นลง จึงกลับไปทำางานต่อ
                    ตู้ไปรษณีย์
                       ระบบจะกันเนื้อที่บางส่วนไว้ในหน่วยความจำาเพื่อให้ i/o สามารถส่ง
                        ข้อมูลเข้าไปเก็บในหน่วยความจำาส่วนนี้
                       ในช่วงเวลาหนึ่ง ซีพียจะหยุดงานที่ทำา เมื่อพบว่ามีข้อมูลก็จะโหลด
                                               ู
                        ข้อมูลเหล่านั้น
                       จากนั้น ซีพียูจะกลับไปทำางานที่ค้างอยู่ต่อ
                       ซึ่งวิธีนี้เป็นการผสมผสานวิธีแบบพอลลิงและการขัดจังหวะเข้าด้วยกัน




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 50
                                                                                      ั ิ
การเรีย กระบบ
                                                        (System Calls)


                    ทำาหน้าทีจัดเตรียมส่วนต่อประสานระหว่าง
                             ่
                    กระบวนการหนึ่งกับระบบปฏิบัติการ
                    การเรียกระบบมักเป็นคำาสั่งภาษาเอสแซมบลี
                    หรืออาจเขียนด้วยภาษาระดับสูงก็ได้ เรียกว่า
                    การเรียกระบบย่อย (subroutine call)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 51
                                                                                      ั ิ
ภาพที่ 1.9 การส่งผ่านพารามิเตอร์โดยตารางใน
                                หน่วยความจำา
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 52
                                                                                      ั ิ
System Calls (cont.)


                    ประเภทของ system call
                       การควบคุมกระบวนการ (process control)
                       การจัดการแฟ้ม (file management)
                       การจัดการอุปกรณ์ (device management)
                       การใช้งานข้อมูลของระบบ (information
                        maintenance)
                       การสื่อสาร (communication)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 53
                                                                                      ั ิ
ระบบปฏิบ ต ิก ารสำา หรับ ไมโคร
                                           ั
                                        คอมพิว เตอร์


                    การบูต (booting)
                    ภารกิจดูแลทัวไปหรืองานแม่บ้าน
                                ่
                    (housekeeping tasks)
                    ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface)
                    การจัดการทรัพยากรคอมพิวเตอร์
                    (managing computer resources)
                    การจัดการภารกิจ (managing tasks)



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 54
                                                                                      ั ิ
สรุป


                    คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
                    วิวัฒนาการและชนิดของระบบปฏิบัติการ
                    หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
                    การติดต่อระหว่างอุปกรณ์รอบข้างกับซีพยู
                                                        ี
                    การเรียกระบบ
                    ไมโครคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 55
                                                                                      ั ิ
วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 56
                                                                                      ั ิ

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
Thanaporn Singsuk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการKrusine soyo
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
tee0533
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
Apich Chaya
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
Cat Cattaleeya
 
Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2
Nuth Otanasap
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
janny5655
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Thanawut Rattanadon
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5
Nuth Otanasap
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...เจษฎา วงค์ปัน
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศNana Hassana
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
jzturbo
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Npatsa Pany
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์วชรพล สาระศาลิน
 

What's hot (19)

องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
My map OS
My map OSMy map OS
My map OS
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2Operating System Chapter 2
Operating System Chapter 2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
Work3 41
 
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 

Similar to 2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทวัญ ภูพานทอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
wanuporn12345
 
223333
223333223333
223333
lackza55
 
ผู้บริหารระบบเครือข่าย
ผู้บริหารระบบเครือข่ายผู้บริหารระบบเครือข่าย
ผู้บริหารระบบเครือข่าย
Pimpisa Sunhatham
 
อาชีพทางเทคโนโลยี
อาชีพทางเทคโนโลยีอาชีพทางเทคโนโลยี
อาชีพทางเทคโนโลยี
suraruk1998
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
wanuporn12345
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
Saharat Yimpakdee
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
jintana2
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
jintana2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
C1
C1C1
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์jamiezaa123
 

Similar to 2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18) (20)

Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
ผู้บริหารระบบเครือข่าย
ผู้บริหารระบบเครือข่ายผู้บริหารระบบเครือข่าย
ผู้บริหารระบบเครือข่าย
 
อาชีพทางเทคโนโลยี
อาชีพทางเทคโนโลยีอาชีพทางเทคโนโลยี
อาชีพทางเทคโนโลยี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
C1
C1C1
C1
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 

More from krissapat

5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
7 ca-file-system management
7 ca-file-system management7 ca-file-system management
7 ca-file-system managementkrissapat
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 

More from krissapat (10)

5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
7 ca-file-system management
7 ca-file-system management7 ca-file-system management
7 ca-file-system management
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 

2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)

  • 1. ระบบคอมพิว เตอร์แ ละระบบ ปฏิบ ัต ิก าร โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ
  • 2. วัต ถุป ระสงค์ก ารเรีย นรู้ เพื่อให้รู้จักสาระสำาคัญเกี่ยวกับระบบ คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ วิวัฒนาการและ ชนิดของคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ เพื่อให้เข้าใจหน้าทีของระบบปฏิบัติการใน ่ การติดต่อระหว่างอุปกรณ์รอบข้างกับหน่วย ประมวลผลกลาง เพื่อศึกษาเกียวกับการเรียกระบบ และระบบ ่ ไมโครคอมพิวเตอร์ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 2 ั ิ
  • 3. หัว ข้อ บรรยาย Computer System Components What is an Operating System? Mainframe Systems Desktop Systems Multiprocessor Systems Distributed Systems Clustered System Real -Time Systems Handheld Systems การติดต่อระหว่างอุปกรณ์รอบข้างกับซีพียู System Call ไมโครคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบติการ ั วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 3 ั ิ
  • 4. วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 4 ั ิ
  • 5. ส่ว นประกอบของระบบคอมพิว เตอร์ Computer System Components ฮาร์ดแวร์ (h/w) ทำาหน้าที่จัดหาทรัพยากรเพื่อการ คำานวณพื้นฐาน ได้แก่ ซีพียู หน่วยความจำา i/o devices เป็นต้น ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ควบคุมและ ประสานงานการใช้ฮาร์ดแวร์เหล่านั้นที่ถูกเรียกใช้ โดยหลายแอพพลิเคชันโปรแกรม สำาหรับผู้ใช้ต่างๆ แอพพลิเคชันโปรแกรม (application program) กรรมวิธีที่ทรัพยากรระบบจะถูกใช้เพือแก้ปัญหาใน ่ ทางคำานวณของผู้ใช้งาน เช่น คอมไพเลอร์ ระบบฐาน ข้อมูล เกมส์วีดิโอ ซอฟต์แวร์ธุรกิจ เป็นต้น ผู้ใช้ (users) ได้แก่ คน เครื่องคอมพิวเตอร์ และ คอมพิวเตอร์เครื่องอืนๆ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 5 ั ิ
  • 6. Abstract View of System Components วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 6 ั ิ
  • 7. ระบบปฏิบ ต ิก าร ั OS: Operating Systems คือ กลุ่มโปรแกรมทีทำาหน้าทีเป็นตัวกลาง ่ ่ ระหว่างผู้ใช้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีจุดมุงหมายเพื่อจัดหาสภาพแวดล้อมที่เหมาะ ่ สมเพื่อให้ผู้ใช้กระทำาการกับโปรแกรม (execute programs) โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อให้การใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เป็นไปอย่างสะดวก และ การใช้ฮาร์ดแวร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 7 ั ิ
  • 8. แบบจำาลองพื้นผิวแต่ละชันทีแสดงปฏิสมพันธ์ระหว่างผู้ใช้, โปรแกรมประยุกต์, ระบบ ้ ่ ั ปฏิบัตการ และฮาร์ดแวร์ ิ Operating System Concepts 1.8 Silberschatz, Galvin and Gagne ©2002
  • 9. Operating System Definitions ผู้จัดสรรทรัพยากร (Resource allocator) ทำาหน้าทีจัดการและจัดสรรทรัพยากร ่ โปรแกรมควบคุม (Control program) ควบคุมการกระทำาการ (execution) ของ โปรแกรมผู้ใช้และปฏิบัตต่างๆ ิ (operations) ของอุปกรณ์ i/o เคอร์แนล (Kernel) โปรแกรมชนิดหนึงที่ ่ รันอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้แอพพลิคชันโปร แกรมอืนๆ สามารถดำารงอยู่ได้ ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 9 ั ิ
  • 10.  วิว ัฒ นาการและชนิด ของระบบปฏิบ ต ิ ั การ ระบบปฏิบติการและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์มีอทธิพลซึ่ง ั ิ กันและกันอย่างมาก พบได้จากวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่อดีตจาก หลอดสุญญากาศที่ไม่มีระบบปฏิบติการ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำาให้ ั ต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบปฏิบติการให้มี ั โครงสร้างที่ทันสมัยเหมาะสำาหรับการใช้งาน ถูกพัฒนามาจากระบบเครื่องเมนเฟรมที่ต้องการเพียงระบบ ปฏิบติการอย่างง่ายๆ สำาหรับทำางานกับแอพพลิเคชันเพียง ั อย่างเดียว จนกระทั่งถึงระบบแบ่งกันใช้เวลาที่ซับซ้อน จากนั้น จึงพัฒนาไปอยู่บนระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก อย่างคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ มาเป็นระบบคอมพิวเตอร์แบบ มือถือ และอุปกรณ์แบบเคลื่อนได้ในปัจจุบน ั วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 10 ั ิ
  • 11. พัฒ นาการที่ส ำา คัญ ของระบบปฏิบ ต ิก าร ั Mainframe Systems Desktop Systems Multiprocessor Systems Distributed Systems Clustered System Real -Time Systems Handheld Systems วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 11 ั ิ
  • 12. ระบบเชิง กลุม ่ (Batch Systems) เป็นระบบแบบง่ายๆ ตามสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่หลักคือส่งการควบคุมโดยอัตโนมัติจากงาน หนึ่งไปยังงานถัดไป ระบบปฏิบัติการต้องอยู่ในหน่วยความจำาตลอดเวลา เพื่อทำาให้การประมวลผลเร็วขึ้น ผู้ดูแลระบบทำาการ รวมกลุ่มงานที่มีความต้องการสิงที่เหมือนกันเข้าด้วย ่ กันและดำาเนินงานงานเหล่านั้นผ่านทางคอมพิวเตอร์ เป็นกลุม่ โปรแกรมเมอร์สามารถทิ้งโปรแกรมไว้กับพนักงานคุม เครื่องได้ และผู้ดูแลระบบจะเรียงโปรแกรมไว้เป็นกลุ่ม ที่ต้องการสิ่งทีเหมือนกันและเมื่อคอมพิวเตอร์ว่างก็จะ ่ ดำาเนินงานแต่ละโปรแกรมตามลำาดับ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 12 ั ิ
  • 13. ภาพที่ 1.2 โครงร่างของหน่วยความจำาสำาหรับระบบเชิง กลุ่มอย่างง่าย วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 13 ั ิ
  • 14. ระบบเชิง กลุ่ม แบบอัต โนมัต ิ (Automatic Batch Systems) เป็น os รุ่นแรกใช้กับเครื่อง IBM 701 os รุ่นนี้เป็นเพียงโปรแกรมฝังตัวเล็กๆ (resident monitor) ซึ่งวิ่งอยู่ภายในเครื่องตลอดเวลา และ ทำาการส่งมอบการควบคุมเครื่องให้กับโปรแกรมของผู้ ใช้ทีละโปรแกรมตามลำาดับ ใช้ภาษาควบคุมงาน JCL (Job Control Language) ช่วงเวลารอคอย (turnaround time) คือตั้งแต่ส่งมอบ งานเข้าเครื่อง (job submission) จนกระทั่งงานเสร็จ สมบูรณ์ (job completion) ยังมีปัญหาในเรื่องความแตกต่างของความเร็วระหว่าง i/o กับ cpu ทำาให้ประโยชน์ใช้สอยของซีพียู (cpu utilization) ยังทำาไม่เต็มที่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 14 ั ิ
  • 15. ระบบบัฟ เฟอร์ (Buffering) มีหลักการทำางานคือ ให้ i/o ทำางานขนานไป พร้อมกับ cpu ให้มากที่สุด เพื่อลดเวลาที่ cpu รอ i/o ในขณะที่ cpu กำาลังประมวลผล i/o จะอ่านข้อมูล ถัดไปมาไว้ที่หน่วยความจำา ที่เรียกว่า บัฟเฟอร์ (buffer) บัฟเฟอร์ของ i/o ได้แก่ เครื่องอ่านบัตร (card reader) และเครื่องพิมพ์รายบรรทัด (line printer) i/o จะทำางานติดต่อกับ cpu โดยตรง เรียกว่า ระบบต่อตรง (On-Line) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 15 ั ิ
  • 16. ระบบบัฟ เฟอร์ (Buffering) (cont.) ถ้าการอ่าน/เขียนสำาหรับข้อมูลแต่ละหน่วยใช้ เวลาเท่ากับการประมวลผลแต่ละหน่วยพอดี i/o กับ cpu จะไม่มีการรอคอยซึ่งกันและกัน ปัญหาสำาคัญของระบบนี้คือ ความเหลื่อมลำ้าด้าน เวลา  cpu มีความเร็วสูงกว่า i/o มาก แม้จะมีบฟเฟอร์เข้ามา ั ช่วย cpu ก็ต้องรอi/o อยู่ดี  หากเป็นงานประเภทต้องใช้ i/o มาก (I/O bounded) cpu ต้องรอ i/o  หากเป็นงานประเภทต้องใช้ cpu มาก (CPU bounded) ทำาให้ i/o ต้องรอ cpu วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 16 ั ิ
  • 17. การประมวลผลออฟไลน์ (Off-Line Processing) แบบไม่เชื่อมตรง แตกต่างจากระบบออนไลน์ ระบบออฟไลน์จะใช้เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แทนเครื่องอ่านบัตรและเครื่องพิมพ์ที่มี ความเร็วตำ่ามาก โดยคั่นระหว่าง input unit กับ cpu และ cpu กับ output unit การถ่ายเทข้อมูลผ่านเทปแม่สามารถทำาได้โดยใช้ เครื่องอ่านบัตรและเครื่องพิมพ์ที่ได้รับการ ออกแบบเป็นพิเศษ ให้สามารถถ่ายเทข้อมูลโดย ไม่ต้องผ่านซีพียู หรือเพิ่มหน่วยประมวลผลขนาด เล็กที่ทำาหน้าที่เฉพาะด้านนี้ เรียกว่า I/O Processor วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 17 ั ิ
  • 18. CPU card reader line printer (a) CPU card reader Tape drives tape drives line printer (b) ภาพที่ 1.3 การทำางานของ i/o (a) แบบออนไลน์ (b) แบบออฟไลน์ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 18 ั ิ
  • 19. Off-Line Processing (cont.) ระบบออฟไลน์ก็ยงมีข้อจำากัดดังนี้ ั  โปรแกรมต้องผ่านขั้นตอนมากขึ้น จะมีค่าใช้จ่าย อื่น (overhead) สูง  ต้องการระบบปฏิบัติการที่ซับซ้อนมากขึ้น  ในการเก็บข้อมูลลงเทปจำาเป็นต้องรอให้มีหลายๆ โปรแกรมเสียก่อน จึงค่อยนำาเข้าสู่เครื่องใหญ่เสียที หนึ่ง แม้จะทำาให้ประโยชน์ใช้สอยของซีพียูดีขึ้น แต่ผู้ใช้ต้องมีเวลารอคอย (turnaround time) มาก ขึ้น วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 19 ั ิ
  • 20. ระบบสพูล ิง (Spooling) ในยุคนี้เทคโนโลยีสื่อบันทึกได้พฒนาจากเทปแม่เหล็ก ั เป็นดิสก์ ซึ่งได้นำาไปสู่การเปลี่ยนโฉมหน้าของการ ออกแบบระบบปฏิบัติการและแอพพลิเคชันในเวลาต่อ มา ระบบสพูลิง หรือระบบการเก็บพักได้ใช้ระบบดิสก์แทน เทปแม่เหล็ก เทปไม่สามารถทำาการประมวลผลข้อมูลในเทปในขณะ ที่กำาลังถ่ายเทข้อมูลจากเครื่องอ่านบัตรลงในเทปม้วน เดียวกันได้ หลักการใช้ดิสก์แทนอุปกรณ์รับและแสดงผล เรียกว่า การเก็บพักหรือสพูลิง (spooling--Simultaneous Peripheral Operating On-Line) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 20 ั ิ
  • 21. Spooling (cont.) เทปแม่เ หล็ก  เทปเป็นอุปกรณ์ประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำาดับ (sequential-access device)  การประมวลผลโดยอาศัยเทปเป็นแบบออฟไลน์ ดิส ก์  ดิสก์เป็นอุปกรณ์ประเภทที่มีการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม (random- access device) สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรง (direct access) ได้ จึงทำาให้สามารถแยกงานออกจากกัน โดยสร้างตารางบ่งบอกว่าข้อมูล หรือผลลัพธ์อยู่ที่ส่วนใดของดิสก์  การประมวลผลของดิสก์เป็นแบบเชื่อมโดยตรงกับซีพียู (On-Line system) ดังนัน หน่วยที่ใช้ในการถ่ายเทข้อมูลระหว่างดิสก์กับ ้ อุปกรณ์ไอ/โอ จึงต้องเป็นตัวเดียวกับหน่วยที่ใช้ประมวลผลงานของผู้ ใช้  ใช้โปรแกรมพิเศษตัวหนึ่ง เรียกว่า โปรแกรม spool วิ่งคู่ขนานไปกับ โปรแกรมของผู้ใช้ เพื่อทำาการถ่ายเทข้อมูลกับดิสก์ จึงก่อให้เกิดระบบ หลาบโปรแกรม (Multiprogramming) ขันพื้นฐาน ้ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 21 ั ิ
  • 22. ภาพที่ 1.4 ระบบสพูลิง วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 22 ั ิ
  • 23. ข้อ แตกต่า งระหว่า งระบบบัฟ เฟอร์ก ับ สพู ลิง ระบบบัฟเฟอร์ เป็นการเหลื่อมกันระหว่างการ ประมวลผลกับหน่วยนำาเข้า/ส่งออก ของโปรแกรม เดียวกัน ซึ่งไม่อาจทำาได้มากนักด้วยข้อจำากัดของ ขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมนั้นๆ ระบบสพูลง เป็นการเหลื่อมกันของการประมวลผล ิ กับการรับและแสดงผลของอีกงานหนึ่ง โดยผ่าน โปรแกรมสพูล (spool) ระบบสพูลง สามารถจัดการงานที่ถูกป้อนเข้ามา ิ แบบเรียงลำาดับได้โดยอิสระ เกิดเป็นกองกลางงาน (job pool) ซึ่งระบบปฏิบัติการสามารถเลือกงาน เข้าประมวลผลตามความเหมาะสมก่อให้เกิดระบบ การจัดลำาดับงาน (job scheduling) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 23 ั ิ
  • 24. ระบบหลายโปรแกรม (Multiprogrammed Systems) ความสามารถของการทำางานแบบหลายโปรแกรม (multiprogramming) ผูใช้ไม่สามารถใช้ cpu หรือ i/o แต่ ้ เพียงผูเดียวตลอดเวลา ้ การทำางานแบบหลายโปรแกรมเป็นการเพิ่มการใช้งาน cpu โดยการจัดงานให้กับ cpu ทำาอยู่ตลอดเวลา งานหลายๆ งานจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำาพร้อมๆ กัน ในงานกองกลาง (job pool) os จะหยิบหนึ่งงานในหน่วยความจำามาดำาเนินการจน กระทั่งงานนั้นอาจต้องรอให้งานบางอย่างเสร็จสมบูรณ์ ในระบบแบบหลายโปรแกรม os ต้องสับเปลี่ยนไปทำางาน อื่น เมื่องานนันต้องหยุดรอบางอย่างอีก ซีพียูก็จะสลับไป ้ ทำางานอืนอีกเป็นเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 24 ั ิ
  • 25. ภาพที่ 1.5 โครงร่างหน่วยความจำาสำาหรับระบบ หลายโปรแกรม จะมีหลายงานเก็บอยู่ในหน่วย ความจำาหลักพร้อมๆกัน และซีพียจะเลือกมาหนึ่ง ู งานเพือกระทำาการ ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 25 ั ิ
  • 26. Multiprogrammed Systems (cont.) os ต้องเลือกว่างานใดจะสามารถเข้าใช้หน่วยความจำา ได้ก่อน การตัดสินใจนี้เรียกว่า การสับเปลี่ยนงาน (job scheduling) os ต้องเลือกว่าจะ run งานใดที่พร้อมถูก run ก่อน เรียกว่า การจัดลำาดับการใช้ซีพียู (CPU scheduling) การที่มีหลายๆ งานดำาเนินไปพร้อมๆ กัน ความ สามารถของแต่ละงานที่จะมีผลกระทบต่องานอืนต้อง ่ ถูกจำากัดในทุกขั้นตอนของระบบปฏิบัติการ ได้แก่  การจัดลำาดับกระบวนการ (process scheduling)  หน่วยเก็บข้อมูลแบบจานบันทึก (disk storage)  การจัดการหน่วยความจำา (memory management)  การจัดสรร i/o (i/o allocation) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 26 ั ิ
  • 27. ภาพที่ 1.6 เปรียบเทียบการทำางานระหว่างสภาพ แวดล้อมแบบโปรแกรมเดียวและแบบหลาย โปรแกรม วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 27 ั ิ
  • 28. ระบบการแบ่ง กัน ใช้เ วลา (Time-Sharing Systems) เป็นเทคนิคที่ผู้ใช้หลายคนสามารถแบ่งปันการใช้ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกันในเวลาเดียวกัน os จะแบ่งเวลาออกเป็นช่วงสั้นๆ เรียกว่า เสี้ยวเวลา (time slice) เวียนกระทำาการกับโปรแกรมหรือกระบวนการของผู้ ใช้เป็นลำาดับไป ช่วยให้เวลาการตอบสนอง (response time) ต่อผู้ใช้ ทั้งหมดดีขึ้นและซีพยูทำางานได้เต็มประสิทธิภาพ ี เวลาการตอบสนอง หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ผู้ใช้ป้อน คำาสั่งให้คอมพิวเตอร์จนกระทั่งคอมพิวเตอร์ตอบรับมา วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 28 ั ิ
  • 29. Time-Sharing Systems (cont.) แบบหลายภารกิจ (multitasking)  หมายถึงสมรรถนะการทำางานแบบหลายโปรแกรมของระบบ ปฏิบัติการสำาหรับผู้ใช้คนเดียว อย่างเช่นในคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล โดยที่ผู้ใช้คนหนึ่งสามารถดำาเนินการ (run) หลาย โปรแกรมในเวลาเดียวกันบนเครื่องเดียวกัน แบบมัล ติเ ธรด (multithreading)  สามารถแบ่งโปรแกรมหรือกระจายกระบวนการออกเป็นกระ บวนการย่อยๆ เรียกว่า เธรด (thread) ซึ่งเป็นหน่วยย่อยที่เล็ก ที่สุดของกระบวนการที่สามารถกระทำาการได้ (execution unit of process หรือ executable entity)  ในระบบมัลติเธรด จะซอยโปรแกรม หรือกระบวนการออก เป็นหน่วยย่อยๆ แล้วทำางานคู่ขนานกันไป ซึ่งจะช่วยให้ โปรแกรมทำางานเสร็จเร็วขึ้น วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 29 ั ิ
  • 30. Time-Sharing Systems (cont.) หน่ว ยเก็บ เสมือ น (virtual storage )  เป็นเทคนิคในการแบ่งปันหน่วยความจำาเพื่อให้สามารถ กระทำาการกับหลายโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ บางทีเรียกว่าหน่วยความจำาเสมือน (virtual memory)  โดยวิธีการแบ่งส่วนของโปรแกรมออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกจะเก็บเฉพาะส่วนที่จำาเป็นสำาหรับการกระ ทำาการไว้ในหน่วยความจำาหลักจึงเรียกส่วนนีว่า หน่วย ้ เก็บจริง (real storage) และส่วนที่เหลือจะเก็บไว้ใน หน่วยเก็บรอง เช่นดิสก์ จึงเรียกส่วนนีว่า หน่วยเก็บ ้ เสมือน (virtual storage)  โดยที่โปรแกรมประยุกต์จะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ ลงใน หน้า (page) ซึ่งมีขนาดคงที่ หรือ ส่วน (segment) ซึ่ง มีขนาดที่แปรเปลียนได้ ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 30 ั ิ
  • 31. ภาพที่ 1.7 หน่วยเก็บเสมือนเป็นเทคนิคทีช่วยขยายหน่วย ่ ความจำาหลักของคอมพิวเตอร์ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 31 ั ิ
  • 32. ระบบคอมพิว เตอร์แ บบตั้ง โต๊ะ (Desktop Systems) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ถูก ออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานสำาหรับผู้ใช้คนเดียว อุปกรณ์ i/o ต่างๆ ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ จอภาพ คุณลักษณะของระบบปฏิบัติการใหญ่ๆได้ถูกลดขนาด ลงให้เหมาะกับพีซี มีความสามารถมากขึ้น เร็วขึ้น และ ระบบฮาร์ดแวร์ที่มีความซับซ้อนมากขึ้นได้ถูกพัฒนา ขึ้นมา เน้นความสะดวกและการตอบสนองต่อผู้ใช้เป็นหลัก ไม่เน้นการใช้ประโยชน์จากซีพียูและระบบป้องกันที่มี อยู่บนระบบเมนแฟรม วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 32 ั ิ
  • 33. ระบบหลายตัว ประมวลผล (Multiprocessor Systems) ระบบในปัจจุบันส่วนมากเป็นแบบตัวประมวลผล เดี่ยว (single-processor systems) แต่สามารถ ขยายขีดความสามารถได้หลายวิธี เช่น dual core, hyper threading, multi-core ระบบแบบหลายตัวประมวลผล (multiprocessor systems) บางทีเรียกว่าระบบขนาน (parallel systems) หรือระบบคู่แน่น (tightly coupled systems) เป็นระบบที่มีตัวประมวลผลมากกว่า 1 ตัวอยู่ใน ระบบสื่อสารแบบปิด มีการใช้บัสคอมพิวเตอร์ และ นาฬิการ่วมกัน และบางครั้งรวมถึงหน่วยความจำา และอุปกรณ์ต่อพ่วงด้วย วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 33 ั ิ
  • 34. Multiprocessor Systems (cont.) ข้อดีสำาคัญของระบบหลายตัวประมวลผล  การเพิ่มปริมาณงาน (throughput)  การประหยัดอันเนื่องมาจากขนาด (economy of scale)  เพิ่มความเชื่อถือได้ (increased reliability) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 34 ั ิ
  • 35. Multiprocessor Systems (cont.) ระบบมัลติโพรเซสเซอร์แบบสมมาตร หรือ SMP (symmetric multiprocessing)  ทุกตัวประมวลผลอยู่ในระดับเดียวกัน (peers) ไม่มี ความสัมพันธ์แบบหลัก-รอง ระหว่างตัวประมวลผล  แต่ละตัวประมวลผลจะดำาเนินสำาเนาของระบบ ปฏิบัติการชุดเดียวกันไปพร้อมๆ กัน  ทุกตัวประมวลผลจะรันกระบวนการจำานวนเท่าๆ กัน  ระบบปฏิบัติการส่วนใหญ่สนับสนุน SMP วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 35 ั ิ
  • 36. Multiprocessor Systems (cont.) แบบระบบมัลติโพรเซสเซอร์แบบอสมมาตร (asymmetric multiprocessing)  ตัวประมวลผลแต่ละตัวจะถูกมอบหมายงานเฉพาะให้ทำา  มีตัวประมวลผลหลัก (master processor) คอยควบคุม ระบบ  ส่วนตัวประมวลผลอืนๆ อาจเรียกว่าตัวประมวลผลร่วม ่ จะรอคำาสั่งจากตัวหลัก หรืออาจทำางานที่กำาหนดไว้ลวง ่ หน้า (predefined tasks)  รูปแบบความสัมพันธ์นี้เรียกว่า ความสัมพันธ์แบบหลัก- รอง (master-slave relationship)  ตัวประมวลผลหลักจัดตารางและกำาหนดงานให้กับตัว ประมวลผลร่วม วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 36 ั ิ
  • 37. รูปที่ 1.7 สถาปัตยกรรมมัลติโพรเซสเซอร์แบบ สมมาตร หรือ SMP วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 37 ั ิ
  • 38. ระบบทำา งานแบบทัน ที (Real-Time Systems) ระบบทำางานแบบทันที การประมวลผลจะต้องถูกดำาเนินการ ภายในเวลาที่กำาหนด มิฉะนั้นระบบจะหยุดหรือล้มเหลว ถูกใช้เมื่อต้องการการตอบสนองแบบทันทีของการทำางานของตัว ประมวลผลหรือกลไกลของข้อมูล มักถูกใช้เป็นอุปกรณ์ควบคุมในโปรแกรมประยุกต์เฉพาะงาน ตัว รับรู้ (sensors) นำาข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่อง คอมพิวเตอร์ต้องวิเคราะห์ข้อมูลและอาจจะปรับการควบคุมเพื่อ แก้ไขการรับข้อมูลเข้าของตัวรับรู้ ประเภทของระบบทำางานแบทันที  ระบบฮาร์ดเรียลไทม์ (hard real-time system) เป็นระบบที่รับรองว่า ภารกิจวิกฤต (critical task) ต้องเสร็จตามเวลาที่กำาหนด  ระบบซอฟต์เรียลไทม์ (soft real-time system) ซึ่งงานที่วิกฤตจะได้รับ ลำาดับความสำาคัญ (priority) เหนือกว่างานอื่นๆ และจะได้รับลำาดับความ สำาคัญนั้นจนกระทั่งงานเสร็จสมบูรณ์ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 38 ั ิ
  • 39. ระบบกระจาย (Distributed Systems) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทใช้ระบบแบบคูหลวม (loosely ี่ ่ coupled) หรือระบบแบบกระจาย  ประกอบด้วยกลุ่มของตัวประมวลผลซึ่งไม่ได้แบ่งกันใช้หน่วย ความจำาหรือนาฬิการะบบ  แต่ละตัวประมวลผลมีหน่วยความจำาของตัวเอง (local memory)  ตัวประมวลผลติดต่อกับผู้อนผ่านเส้นทางสื่อสารต่างๆ เช่น บัส ื่ ความเร็วสูง หรือสายโทรศัพท์ ระบบปฏิบติการเครือข่าย (network operating system- ั NOS)  เป็นระบบปฏิบติการที่มีคณลักษณะ เช่น การแบ่งกันใช้แฟ้ม ั ุ ข้อมูลข้ามเครือข่าย รูปแบบการติดต่อสื่อสารซึ่งอนุญาตให้ กระบวนการต่างกันบนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างเครื่องกันได้แลก เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่รัน NOS ปฏิบัติตัวอย่างเป็นอิสระจาก คอมพิวเตอร์เครื่องอืนบนเครือข่าย ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 39 ั ิ
  • 40. Distributed Systems (cont.) ระบบปฏิบัติการแบบกระจาย (distributed operating system) มีสภาพแวดล้อมทีเป็น ่ อิสระน้อยกว่าระบบปฏิบัติการเครือข่าย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท  ระบบรับ-ให้บริการ (client-server systems)  ระบบเพียร์ทูเพียร์ (peer-to-peer systems) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 40 ั ิ
  • 41. Distributed Systems (cont.) ภาพที่ 1.8 โครงสร้างทัวไปของระบบ ่ client/server วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 41 ั ิ
  • 42. Distributed Systems (cont.) ต้องการโครงสร้างพืนฐานของเครือข่าย ้ รองรับ เช่น LAN หรือ WAN อาจใช้เป็นระบบ client/server หรือ peer-to- peer ก็ได้ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 42 ั ิ
  • 43. Distributed Systems (cont.) ข้อดี  ใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resources Sharing)  เพิ่มความเร็วในการคำานวณ แบ่งปันภาระงาน (Computation speed up – load sharing)  เพิ่มความเชื่อถือได้ (Reliability)  ระบบการสื่อสาร (Communications) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 43 ั ิ
  • 44. ระบบคลัส เตอร์ (Clustered systems) ระบบคลัสเตอร์ยอมให้หลายระบบสามารถใช้ระบบ หน่วยเก็บชุดเดียวกันได้ คล้ายกับระบบขนาน ซึ่งรวมหลายหน่วยประมวลผลก ลางเข้าประมวลผลร่วมกัน หรือช่วยกันประมวลผลงาน ใหญ่ๆ ให้เสร็จในเวลาที่รวดเร็ว และยอมรับการเข้า ถึงจากเครื่องของสมาชิก มีความเชื่อถือได้สูงมาก คลัสเตอร์แบบสมมาตร (Asymmetric clustering)  1 server runs แอพพลิเคชันในขณะที่ servers อื่นทำาหน้าที่ standby. คลัสเตอร์แบบอสมมาตร (Symmetric clustering)  ทุกโฮสต์ช่วยกันรันแอพพลิเคชัน (all N hosts are running the application) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 44 ั ิ
  • 45. ระบบคอมพิว เตอร์ม ือ ถือ (Handheld systems) บางทีเรียกว่า ระบบเคลื่อนที่ได้ (Mobile system) รวมไป ถึงพีดเอ (PDA: personal digital assistants) เช่น พาล์ม ี (Palm), พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) หรือโทรศัพท์แบบเซล ลูลาร์ (cellular telephone) สมาร์ทโฟน iPod, iPhone Tablet และอุปกรณ์แบบเคลื่อนที่ได้อนๆ ซึ่งเชื่อมต่อเป็น ื่ เครือข่าย ผ่านระบบ Wi-Fi, Bluetooth เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ของอุปกรณ์ประเภทพกพาได้รับการพัฒนาให้มี ขีดความสามารถทีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ่ ประเด็นที่พงพิจารณา ึ  ข้อจำากัดของหน่วยความจำา  หน่วยประมวลผลความเร็วตำ่า  ขนาดของหน่วยแสดงผล  การบริโภคพลังงาน วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 45 ั ิ
  • 46. หน้า ที่ข องระบบปฏิบ ต ก าร ั ิ การจัดการกระบวนการ (process management) การจัดการหน่วยความจำาหลัก (main memory management) การจัดการแฟ้ม (file management) การจัดการระบบไอ/โอ (I/O system management) การจัดการหน่วยเก็บรอง (secondary-storage management) เครือข่าย (networking) ระบบการป้องกัน (protection system) ระบบตัวแปลคำาสั่ง (command interpreter system) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 46 ั ิ
  • 47. Migration of Operating-System Concepts and Features วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 47 ั ิ
  • 48. Computing Environments Traditional computing Web-Based Computing Embedded Computing Mobile Computing วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 48 ั ิ
  • 49. การติด ต่อ ระหว่า งอุป กรณ์ร อบข้า งกับ ซีพ ีย ู การหยั่งสัญญาณ หรือพอลลิง (polling) การขัดจังหวะ หรืออินเทอร์รัพต์ (interrupt) ตู้ไปรษณีย์ หรือเมลบ็อกซ์ (mailbox) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 49 ั ิ
  • 50. การติด ต่อ ระหว่า งอุป กรณ์ร อบข้า งกับ ซีพ ีย ู การพอลลิง  เป็นการติดต่อที่ช่วงเวลาหนึ่งๆ ซีพียู จะหยุดงานที่ทำาอยู่ชั่วคราวเพื่อ เข้าไปตรวจอุปกรณ์ไอ/โอแต่ละอุปกรณ์ว่ามีการขอบริการอะไรจาก ซีพียู บ้างจนครบทุกอุปกรณ์ แล้วจึงจะกลับไปทำางานที่ค้างไว้ต่อ การขัดจังหวะ  จะเป็นลักษณะการติดต่อโดยการส่งสัญญาณการขัดจังหวะไปยัง interrupt driven โดยฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์เพื่อบอกซีพียู  เมื่อซีพียรับรู้ก็จะหยุดทำางานรอจนกระทั่งการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์นั้น ู เสร็จสิ้นลง จึงกลับไปทำางานต่อ ตู้ไปรษณีย์  ระบบจะกันเนื้อที่บางส่วนไว้ในหน่วยความจำาเพื่อให้ i/o สามารถส่ง ข้อมูลเข้าไปเก็บในหน่วยความจำาส่วนนี้  ในช่วงเวลาหนึ่ง ซีพียจะหยุดงานที่ทำา เมื่อพบว่ามีข้อมูลก็จะโหลด ู ข้อมูลเหล่านั้น  จากนั้น ซีพียูจะกลับไปทำางานที่ค้างอยู่ต่อ  ซึ่งวิธีนี้เป็นการผสมผสานวิธีแบบพอลลิงและการขัดจังหวะเข้าด้วยกัน วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 50 ั ิ
  • 51. การเรีย กระบบ (System Calls) ทำาหน้าทีจัดเตรียมส่วนต่อประสานระหว่าง ่ กระบวนการหนึ่งกับระบบปฏิบัติการ การเรียกระบบมักเป็นคำาสั่งภาษาเอสแซมบลี หรืออาจเขียนด้วยภาษาระดับสูงก็ได้ เรียกว่า การเรียกระบบย่อย (subroutine call) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 51 ั ิ
  • 52. ภาพที่ 1.9 การส่งผ่านพารามิเตอร์โดยตารางใน หน่วยความจำา วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 52 ั ิ
  • 53. System Calls (cont.) ประเภทของ system call  การควบคุมกระบวนการ (process control)  การจัดการแฟ้ม (file management)  การจัดการอุปกรณ์ (device management)  การใช้งานข้อมูลของระบบ (information maintenance)  การสื่อสาร (communication) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 53 ั ิ
  • 54. ระบบปฏิบ ต ิก ารสำา หรับ ไมโคร ั คอมพิว เตอร์ การบูต (booting) ภารกิจดูแลทัวไปหรืองานแม่บ้าน ่ (housekeeping tasks) ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) การจัดการทรัพยากรคอมพิวเตอร์ (managing computer resources) การจัดการภารกิจ (managing tasks) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 54 ั ิ
  • 55. สรุป คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ วิวัฒนาการและชนิดของระบบปฏิบัติการ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ การติดต่อระหว่างอุปกรณ์รอบข้างกับซีพยู ี การเรียกระบบ ไมโครคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 55 ั ิ
  • 56. วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | โครงสร้างระบบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตการ | 56 ั ิ