SlideShare a Scribd company logo
โครงสร้า งระบบหน่ว ย
        เก็บ
 Mass-Storage Structure
Mass-Storage Systems

                    Overview of Mass Storage Structure
                    Disk Structure
                    Disk Attachment
                    Disk Scheduling
                    Disk Management
                    Swap-Space Management
                    RAID Structure
                    Disk Attachment
                    Stable-Storage Implementation
                    Tertiary Storage Devices
                    Operating System Issues
                    Performance Issues




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 2
                            ั
Learning Objectives

                    เพื่อศึกษาถึงโครงสร้างการหน่วยเก็บมวลสูง (mass-
                    storage structure)
                    เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการทำางานของหน่วยเก็บมวลสูง
                    ประเภทดิสก์
                    เพื่อให้เข้าใจถึงขั้นตอนวิธีการจัดตารางของดิสก์ การ
                    เพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน การจัดระเบียบดิสก์ การ
                    จัดการบล็อกเริ่ม บล็อกที่เสียหาย และการสับเปลี่ยน
                    พื้นที่ว่างชั่วคราว โครงสร้างหน่วยความจำาสำารอง




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 3
                            ั
โครงสร้า งจานแม่เ หล็ก หรือ ดิส ก์
                (disk structure)
                    เป็นอุปกรณ์ประเภทที่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงหรือ
                    แบบสุ่มได้ (direct-access storage devices: DASD)
                    มีความโดดเด่นในด้านความเร็ว ขนาด และต้นทุน
                    ส่วนประกอบสำาคัญ
                       หัวอ่าน-เขียน (read-write head) ซึ่งฝังติดอยู่บนแขนดิสก์
                        (disk arm) จะลอยอยู่เหนือพื้นผิวเรียบๆ ของดิสก์
                       ร่อง (track) เป็นการแบ่งส่วนของพื้นผิวออกเป็นร่องวงกลม ซึ่ง
                        สามารถแบ่งเป็นส่วนย่อยๆ ขนาดที่เท่ากันได้ เรียกว่า เซกเตอร์
                        (sector)
                       ไซลินเดอร์ (cylinder) คือแต่ละร่อง (track) ที่อยู่ในแนวเดียวกัน
                        ของทุกแผ่นดิสก์
                       รอบต่อนาที (rpm-round per minute)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 4
                            ั
(disk structure) (cont.)

                    ความเร็วของดิสก์มาจาก 2 ส่วน
                          transfer rate มีหน่วยวัดเป็นเมกะบิตต่อวินาที (megabit per second)
                          positioning time หรือ random access time มีหน่วยวัดเป็นมิลลิวินาที
                           (millisecond) ประกอบด้วย
                              seek time เป็นเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนหัวอ่านไปยังร่อง (track) ที่
                                ต้องการ
                              rotational latency เป็นเวลาที่ใช้ในการค้นหาเซกเตอร์ที่ต้องการ
                    ถ้าพื้นผิวเสียหาย เรียกว่า แผ่นพัง (disk crash) ส่วนหัวอ่าน-
                    เขียนเสียหายเรียกว่า หัวพัง (head crash)
                    Drive ส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ผ่าน I/O bus
                          เช่น EIDE, ATA, SATA, USB, Fibre Channel, SCSI
                          Host controller หรือ disk controller ใช้กับ disk array
                    หน่วยที่เล็กที่สุดทางตรรกะในการอ้างอิงถึงพื้นที่บนดิสก์เรียกว่า
                    บล็อกทางตรรกะ (logical block)



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 5
                            ั
Moving-head Disk Machanism




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 6
                            ั
Disk Attachment

                    SCSI เป็นบัสชนิดหนึ่ง สามารถเชื่อมต่อได้ถึง 16 อุปกรณ์บนสายเคเบิ้ล
                    เพียงเส้นเดียว SCSI initiator requests operation และ SCSI
                    targets perform tasks
                      แต่ละ target สามารถเพิ่มได้ถึง 8 logical units (disks
                        attached ไปยัง device controller)
                    FC คือ high-speed serial architecture
                      สามารถ switched fabric ด้วย 24-bit address space – เป็นพื้น
                        ฐานของ storage area networks (SANs) สำาหรับหลาย
                        hosts attach ที่ต่อไปยังหลาย storage units
                      สามารถมี arbitrated loop (FC-AL) ถึง 126 devices




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 7
                            ั
Network-Attached Storage

                    Network-attached storage (NAS) เป็นหน่วยเก็บเชิงตรรกะทีใช้งาน
                                                                             ่
                    ผ่านเครือข่ายมากกว่าจะเชื่อมต่อผ่านบัสเดียวกันจริงๆ
                    ใช้ NFS และ CIFS เป็น protocols
                    ใช้งานผ่าน remote procedure calls (RPCs) between ระหว่าง host
                    กับ storage
                    New iSCSI เป็น protocol ใหม่ใช้ IP network กับ SCSI protocol




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 8
                            ั
Storage Area Network

                    ใช้กันแพร่หลายในสภาพแวดล้อมของหน่วยเก็บขนาดใหญ่
                    มีหลาย hosts attached กับหลาย storage arrays - ยืดหยุน
                                                                         ่




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 9
                            ั
การจัด ตารางดิส ก์
                                                   Disk Scheduling

                    หน้าที่ของ OS อย่างหนึ่งที่มีต่อจานแม่เหล็กก็คือ การ
                    ใช้จานแม่เหล็กอย่างมีประสิทธิภาพ สำาหรับดิสก์
                    ประสิทธิภาพหมายถึงความเร็วในการเข้าถึงและแบนด์
                    วิดท์ของจานแม่เหล็ก
                    จุดประสงค์คือการลดเวลา seek time
                    Seek time ≈ seek distance
                    Disk bandwidth เป็นเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการถ่ายโอน
                    ข้อมูลที่จัดเก็บบนดิสก์ไปยังหน่วยความจำา หาได้จาก
                    จำานวนรวมของไบต์ที่โอนย้าย หารด้วยเวลาตั้งแต่การ
                    ร้องขอสำาหรับบริการแรกจนกระทังการโอนย้ายเสร็จ
                                                      ่
                    เรียบร้อย


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 10
                            ั
Disk Scheduling (Cont.)

                    มีหลาย algorithms ในการ schedule disk I/O
                    requests
                    ตัวอย่าง a request queue (0-199).

                                          98, 183, 37, 122, 14, 124, 65, 67

                    Head pointer 53




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 11
                            ั
มาก่อ นได้ก ่อ น
                     FCFS: First-Come First-Serve
      จากภาพแสดงจำานวนรวมของการเคลื่อนที่หวอ่านจำานวน 640 cylinders
                                          ั




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 12
                            ั
เวลาเวลาสัน สุด ได้ก ่อ น
                                      ้
                        SSTF: Shortest –seek-time-first

                    หัวอ่านจะเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ที่ใกล้ที่สุดหรือสั้น
                    สุดก่อน ถึงจะเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ต่อไป
                    SSTF scheduling จัดเป็นรูปแบบของการจัดตาราง
                    แบบงานสั้นที่สุดได้ก่อน (Shortest-job-first : SJF)
                    อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการรอคอยอย่างไม่รู้จบ
                    (starvation) ของการร้องขอบางอย่างได้
                    มีการเคลือนย้ายหัวอ่านรวม 236 cylinders
                             ่




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 13
                            ั
SSTF (Cont.)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 14
                            ั
SCAN

                    หัวอ่านจะเริ่มอ่านจากที่ด้านใดด้านหนึ่งของดิสก์และ
                    จะเคลื่อนทีไปอีกสุดขอบของอีกด้านหนึ่ง โดยจะให้
                                ่
                    บริการก็ต่อเมื่อหัวอ่านเคลื่อนที่ไปถึงที่ไซลินเดอร์นั้น
                    บางครั้งเรียกว่า elevator algorithm
                    มีการเคลือนย้ายหัวอ่านรวม 208 cylinders
                             ่




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 15
                            ั
SCAN (Cont.)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 16
                            ั
C-SCAN (circular)

                    เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับแบบ SCAN แต่จะเริ่ม
                    เคลื่อนย้ายหัวอ่านจากปลายขอบของดิสก์ด้านใดด้าน
                    หนึ่งแล้วเคลื่อนไปอีกด้านหนึ่งโดยให้บริการใน
                    ระหว่างที่เคลื่อนย้าย เมื่อหัวอ่านเคลื่อนไปจนถึงสุด
                    ขอบของดิสก์อกด้านหนึ่งจึงย้อนกลับมาตั้งหลักที่จุด
                                    ี
                    เริ่มต้นใหม่อกครั้งโดยไม่ให้บริการในระหว่างทางที่
                                  ี
                    เคลื่อนหัวอ่าน
                    C-SCAN เป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับขั้นตอนวิธที่จัดการ
                                                               ี
                    cylinders เป็นวง ซึ่งล้อมรอบจาก cylinders สุดท้าย
                    ไป cylinders



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 17
                            ั
C-SCAN (Cont.)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 18
                            ั
C-LOOK

                    เป็น Version ในทางปฏิบัติของ C-SCAN
                    โดยปกติแล้วแขนของหัวอ่านจะเคลื่อนที่ไปด้านใด
                    ด้านหนึ่งในระยะทางที่ไกลเท่าที่มีการขอใช้บริการ
                    จากไซลินเดอร์เท่านั้น และจะเคลื่อนที่กลับไปอีกด้าน
                    หนึ่งทันทีโดยไม่จำาเป็นต้องเคลือนไปให้สุดขอบของ
                                                   ่
                    ดิสก์




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 19
                            ั
C-LOOK (Cont.)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 20
                            ั
Selecting a Disk-Scheduling
                                       Algorithm

                    SSTF ใช้กันโดยทั่วไปและเป็นธรรมชาติ
                    SCAN และ C-SCAN สามารถรองรับงานได้ดีที่สุดใน
                    สภาพแวดล้อมที่มีการใช้งานดิสก์อย่างหนัก สามารถ
                    ลดการเกิดภาวะงูกินหรือรออย่างไม่รู้จบได้
                    ประสิทธิภาพย่อมขึ้นอยู่กับจำานวนและชนิดของการ
                    ร้องขอ
                    วิธีการจัดสรรแฟ้ม (file allocation method) มีผล
                    โดยตรงต่อประสิทธิภาพของ disk-scheduling
                    OS ควรมีหลายทางเลือกในการใช้ disk-scheduling
                    เพื่อปรับให้เหมาะสมกับการร้องขอรูปแบบต่างๆ ได้
                    ควรใช้แบบ SSTF หรือแบบ LOOK เป็นพื้นฐาน


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 21
                            ั
การจัด การดิส ก์
                                                Disk Management

                    Low-level formatting, หรือ physical formatting —
                    กระบวนการจัดรูปแบบ track และ sectors เพือที่ disk
                                                                 ่
                    controller ใช้ในการอ่านและเขียน
                    ในการที่ OS จะใช้ดสก์จัดเก็บำาฟล์ จำาเป็นต้องบันทึกค่า
                                       ิ
                    ต่างๆ ของโครงสร้างข้อมูลบนดิสก์ก่อน โดย
                       partition คือการแบ่งพื้นที่ดิสก์ออกเป็นหนึงกลุ่มหรือหลายกลุ่ม
                                                                  ่
                           ไซลินเดอร์ เพื่อแยกพื้นที่ทางตรรกะบนดิสก์ออกจากกัน
                          Logical formatting หรือ “การสร้างระบบแฟ้ม”
                    Boot block ในการเริ่มต้นระบบ
                          The bootstrap จัดเก็บใน ROM
                          Bootstrap loader program
                    sector sparing Methods ใช้ในการจัดการ bad blocks




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 22
                            ั
MS-DOS Disk Layout




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 23
                            ั
Booting from a Disk in Windows
                2000




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 24
                            ั
การจัด การพื้น ที่ว ่า งที่ใ ช้ใ นการสับ
                                        เปลี่ย น
                             Swap-Space Management
                    พื้นทีว่างที่ใช้ในการสับเปลี่ยน (Swap-space) – คือ
                          ่
                    Virtual memory ที่ใช้ disk space ขยาย main memory
                    เป็นกระบวนการเคลื่อนย้ายข้อมูลบนพื้นทีระหว่างดิสก์กับ
                                                             ่
                    หน่วยความจำา
                    การสับเปลี่ยนจะเกิดขึ้นในกรณีที่พนที่ว่างในหน่วยความ
                                                       ื้
                    จำาหลักเหลืออยู่นอยในระดับวิกฤติ
                                       ้
                    เทคนิคสำาคัญที่ใช้ในกระบวนการสับเปลี่ยนพื้นทีว่างได้แก่
                                                                  ่
                       หลักการสับเปลี่ยน (swapping)
                       การจัดการหน่วยความจำาเสมือน (VM management)
                       การสลับหน้า (paging)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 25
                            ั
Data Structures for Swapping on Linux
                Systems




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 26
                            ั
RAID Structure

                    RAID – การมี multiple disk drives เพื่อreliability
                    ผ่าน redundancy.

                    RAID แบ่งออกเป็น 6 ระดับ




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 27
                            ั
RAID (cont)

                    Several improvements in disk-use techniques
                    involve the use of multiple disks working
                    cooperatively.

                    Disk striping uses a group of disks as one
                    storage unit.

                    RAID schemes improve performance and
                    improve the reliability of the storage system by
                    storing redundant data.
                       Mirroring or shadowing keeps duplicate of each disk.
                       Block interleaved parity uses much less redundancy.


วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 28
                            ั
RAID Levels




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 29
                            ั
RAID LEVEL 0: Non-Redundant
                Stripping




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 30
                            ั
RAID LEVEL 1




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 31
                            ั
RAID LEVEL 2




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 32
                            ั
RAID LEVEL 3




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 33
                            ั
RAID LEVEL 4




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 34
                            ั
RAID LEVEL 5




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 35
                            ั
RAID LEVEL 6




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 36
                            ั
RAID (0 + 1) and (1 + 0)




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 37
                            ั
การติด ตั้ง ดิส ก์
                                                  Disk Attachment
                     การติดตั้งดิสก์สามารถทำาได้ 2 ทาง

              1. หน่ว ยเก็บ ที่ต ิด ตั้ง อยู่ก ับ โฮสต์ (Host attached
                     Storage) ผ่าน I/O port

              2. หน่ว ยเก็บ ที่ต ิด อยู่ก ับ เครือ ข่า ย (Network
                     attached storage) ผ่าน network connection




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 38
                            ั
Network-Attached Storage




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 39
                            ั
Storage-Area Network




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 40
                            ั
Operating System Issues

                    งานหลักของ OS การจัดการอุปกรณ์เชิงกายภาพ
                    และการแสดง (virtual machine abstraction) ไปยัง
                    แอพพลิเคชัน
                    สำาหรับ hard disks, OS จัดหา abstraction 2
                    ประการ
                       Raw device – array ของ data blocks
                       File system – OS queues และ schedules ของการร้องขอที่
                           แทรกสลับเข้ามาจากแอพพลิเคชันต่างๆ




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 41
                            ั
Application Interface

                    OS ส่วนใหญ่จะมีการจัดการ removable disks เช่นเดียว
                    fixed disks ทั่วไป – ดิสก์ชุดใหม่ๆ จะมีการจัดระเบียบ
                    (formatted) และสร้าง file system มาให้แล้ว
                    Tapes จัดเป็นสื่อแบบ raw storage medium และ
                    แอพพลิเคชันจะไม่เปิดไฟล์จากเทปโดยตรง แต่จะเปิด
                    เนือหาของไฟล์ทั้งหมดเหมือนเป็นไดรฟ์แบบ raw device
                       ้
                    โดยปกติ tape drive จะสงวนไว้สำาหรับการใช้งานแบบ
                    เอกสิทธิ์ (exclusive use) ของ application นั้น
                    บางครั้ง OS อาจไม่ได้บริการต่างๆ ระบบไฟล์ที่เพียงพอ ดัง
                    นั้นapplication จะต้องตัดสินเองว่าจะใช้ array of blocks
                    อย่างไร
                    ส่วนเทป ทุกๆ application จะสามารถเรียกใช้งานได้ มีวิธี
                    จัดการ และเรียกใช้งานข้อมูลทั้งหมดจากเทปได้จาก
                    โปรแกรมทีสร้างขึ้น
                                ่



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 42
                            ั
ความเร็ว
                                                                 Speed

                    มีประเด็นสำาคัญ 2 ประการในการตัดสินใจเลือก
                    ประเภทหน่วยเก็บ ได้แก่ bandwidth และ latency.

                    Bandwidth วัดในหน่วย bytes per second
                       แบนด์วิทด์ที่ยงยืน (Sustained bandwidth) – เป็นค่าเฉลี่ยข้อมูล
                                      ั่
                        ระหว่างการรับ-ส่งในปริมาณมาก วัดโดย จำานวน bytes/transfer
                        time
                        เป็นอัตราข้อมูล (Data rate) เมื่อสายข้อมูลไหลผ่านจริงๆ
                       แบนด์วิทด์ที่มประสิทธิภาพ (Effective bandwidth) – ค่าเฉลี่ย
                                        ี
                        ของI/O time ทังหมด, รวมทั้ง การค้นหา (seek) หรือการหา
                                          ้
                        ตำาแหน่งที่อยู่ (locate), และ cartridge switching
                        เป็นอัตราข้อมูลของทุกไดรฟ์




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 43
                            ั
Speed (Cont.)
                     Access latency – จำานวนเวลาที่ใช้ในการค้นหา
                     ข้อมูลที่ต้องการ
                       Access time สำาหรับดิสก์ – การเลื่อนแขนอ่านไปยัง cylinder
                        ที่เลือก และรอ rotational latency; ใช้เวลาน้อย 35
                        milliseconds
                       Access on tape เป็นระยะเวลาในการหมุนม้วนเทปจนกระทัง     ่
                        หัวอ่านเทปอยู่บนบล็อกทีต้องการ ใช้เวลาประมาณ 10-1000
                                                ่
                        วินาที
                       กล่าวได้ว่า เวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงแบบสุ่มบนเทปจะช้ากว่าบน
                        ดิสก์ประมาณพันเท่า
                     ต้นทุนที่ตำ่ากว่าของอุปกรณ์หน่วยเก็บประเภทเทป
                     และสื่อบางชนิด คือความสามารถในการใช้ชุด
                     ไดรฟ์ร่วมกันกับสื่อหลายชุด จึงทำาให้ประหยัดลงได้




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 44
                            ั
ความเชือ ถือ ได้
                                                               ่
                                                         Reliability
                    fixed disk drive จะมีความเชื่อถือได้สูงกว่า
                    removable disk หรือ tape drive

                    optical cartridge จะมีความเชื่อถือได้สูงกว่า
                    magnetic disk หรือ tape

                    head crash ใน fixed hard disk จะทำาลายข้อมูล
                    บริเวณนั้น ในขณะที่ ความขัดข้อง (failure) ของ
                    tape drive หรือ optical disk drive มักไม่ทำาความ
                    เสียหายของข้อมูลบน cartridge



วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 45
                            ั
ค่า ใช้จ ่า ย
                                                                   Cost

                    Main memory มีคาใช้จ่ายแพงกว่า disk storage มาก
                                   ่

                    cost per megabyte ของ hard disk storage ราคาพอๆ
                    กับ magnetic tape แต่ละชุด (ถ้ารวมไดรฟ์ดวย)
                                                            ้

                    tape drives และ disk drives จัดเป็นหน่วยเก็บที่มต้นทุน
                                                                    ี
                    ต่อหน่วยถูกที่สุดในหลายปีที่ผานมา
                                                 ่

                    เหตุที่เทปประหยัดค่าใช้จ่ายก็มาจากการใช้ชุดเทปไดรฟ์
                    เพียงชุดเดียวกับเทปได้หลายกล่อง




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 46
                            ั
Price per Megabyte of DRAM, From 1981 to
                                     2000




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 47
                            ั
Price per Megabyte of Magnetic Hard Disk, From 1981 to
                                       2000




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 48
                            ั
Price per Megabyte of a Tape Drive, From
                                     1984-2000




วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 49
                            ั

More Related Content

What's hot

8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
Sasichay Sritep
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
Nuth Otanasap
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
Krissana Manoping
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
Phatthira Thongdonmuean
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
การวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎี
การวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎีการวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎี
การวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎีบอง สลัน เนียง
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
Nuth Otanasap
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
Nuth Otanasap
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์tugkrung
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 
01 ma
01 ma01 ma

What's hot (20)

8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
8 ca-file system implementation (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
การวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎี
การวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎีการวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎี
การวิเคราะห์เว็บไซต์และการศึกษาทฤษฎี
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
01 ma
01 ma01 ma
01 ma
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 

Viewers also liked

สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
panisa thepthawat
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
Power BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPower BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in Thai
PanaEk Warawit
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Natcha Wannakot
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structurekrissapat
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
panisa thepthawat
 

Viewers also liked (11)

สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
Power BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPower BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in Thai
 
Ict
IctIct
Ict
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structure
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to 10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)

7 ca-file-system management
7 ca-file-system management7 ca-file-system management
7 ca-file-system managementkrissapat
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
Thanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
Thanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
Thanaporn Singsuk
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
Database Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-LearningDatabase Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-Learning
Denpong Soodphakdee
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structurekrissapat
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwaresa
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1ninewnilubon
 
การจัดการหน่วยความจำ
การจัดการหน่วยความจำการจัดการหน่วยความจำ
การจัดการหน่วยความจำ
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Orapan Chamnan
 
Chapter3 processing unit
Chapter3 processing unitChapter3 processing unit
Chapter3 processing unit
Adul Yimngam
 

Similar to 10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17) (18)

7 ca-file-system management
7 ca-file-system management7 ca-file-system management
7 ca-file-system management
 
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
6 ca-virtual memory structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Database Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-LearningDatabase Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-Learning
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
 
การจัดการหน่วยความจำ
การจัดการหน่วยความจำการจัดการหน่วยความจำ
การจัดการหน่วยความจำ
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Chapter3 processing unit
Chapter3 processing unitChapter3 processing unit
Chapter3 processing unit
 

10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)

  • 1. โครงสร้า งระบบหน่ว ย เก็บ Mass-Storage Structure
  • 2. Mass-Storage Systems Overview of Mass Storage Structure Disk Structure Disk Attachment Disk Scheduling Disk Management Swap-Space Management RAID Structure Disk Attachment Stable-Storage Implementation Tertiary Storage Devices Operating System Issues Performance Issues วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 2 ั
  • 3. Learning Objectives เพื่อศึกษาถึงโครงสร้างการหน่วยเก็บมวลสูง (mass- storage structure) เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการทำางานของหน่วยเก็บมวลสูง ประเภทดิสก์ เพื่อให้เข้าใจถึงขั้นตอนวิธีการจัดตารางของดิสก์ การ เพิ่มประสิทธิภาพการทำางาน การจัดระเบียบดิสก์ การ จัดการบล็อกเริ่ม บล็อกที่เสียหาย และการสับเปลี่ยน พื้นที่ว่างชั่วคราว โครงสร้างหน่วยความจำาสำารอง วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 3 ั
  • 4. โครงสร้า งจานแม่เ หล็ก หรือ ดิส ก์ (disk structure) เป็นอุปกรณ์ประเภทที่สามารถเข้าถึงข้อมูลโดยตรงหรือ แบบสุ่มได้ (direct-access storage devices: DASD) มีความโดดเด่นในด้านความเร็ว ขนาด และต้นทุน ส่วนประกอบสำาคัญ  หัวอ่าน-เขียน (read-write head) ซึ่งฝังติดอยู่บนแขนดิสก์ (disk arm) จะลอยอยู่เหนือพื้นผิวเรียบๆ ของดิสก์  ร่อง (track) เป็นการแบ่งส่วนของพื้นผิวออกเป็นร่องวงกลม ซึ่ง สามารถแบ่งเป็นส่วนย่อยๆ ขนาดที่เท่ากันได้ เรียกว่า เซกเตอร์ (sector)  ไซลินเดอร์ (cylinder) คือแต่ละร่อง (track) ที่อยู่ในแนวเดียวกัน ของทุกแผ่นดิสก์  รอบต่อนาที (rpm-round per minute) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 4 ั
  • 5. (disk structure) (cont.) ความเร็วของดิสก์มาจาก 2 ส่วน  transfer rate มีหน่วยวัดเป็นเมกะบิตต่อวินาที (megabit per second)  positioning time หรือ random access time มีหน่วยวัดเป็นมิลลิวินาที (millisecond) ประกอบด้วย  seek time เป็นเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนหัวอ่านไปยังร่อง (track) ที่ ต้องการ  rotational latency เป็นเวลาที่ใช้ในการค้นหาเซกเตอร์ที่ต้องการ ถ้าพื้นผิวเสียหาย เรียกว่า แผ่นพัง (disk crash) ส่วนหัวอ่าน- เขียนเสียหายเรียกว่า หัวพัง (head crash) Drive ส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ผ่าน I/O bus  เช่น EIDE, ATA, SATA, USB, Fibre Channel, SCSI  Host controller หรือ disk controller ใช้กับ disk array หน่วยที่เล็กที่สุดทางตรรกะในการอ้างอิงถึงพื้นที่บนดิสก์เรียกว่า บล็อกทางตรรกะ (logical block) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 5 ั
  • 6. Moving-head Disk Machanism วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 6 ั
  • 7. Disk Attachment SCSI เป็นบัสชนิดหนึ่ง สามารถเชื่อมต่อได้ถึง 16 อุปกรณ์บนสายเคเบิ้ล เพียงเส้นเดียว SCSI initiator requests operation และ SCSI targets perform tasks  แต่ละ target สามารถเพิ่มได้ถึง 8 logical units (disks attached ไปยัง device controller) FC คือ high-speed serial architecture  สามารถ switched fabric ด้วย 24-bit address space – เป็นพื้น ฐานของ storage area networks (SANs) สำาหรับหลาย hosts attach ที่ต่อไปยังหลาย storage units  สามารถมี arbitrated loop (FC-AL) ถึง 126 devices วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 7 ั
  • 8. Network-Attached Storage Network-attached storage (NAS) เป็นหน่วยเก็บเชิงตรรกะทีใช้งาน ่ ผ่านเครือข่ายมากกว่าจะเชื่อมต่อผ่านบัสเดียวกันจริงๆ ใช้ NFS และ CIFS เป็น protocols ใช้งานผ่าน remote procedure calls (RPCs) between ระหว่าง host กับ storage New iSCSI เป็น protocol ใหม่ใช้ IP network กับ SCSI protocol วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 8 ั
  • 9. Storage Area Network ใช้กันแพร่หลายในสภาพแวดล้อมของหน่วยเก็บขนาดใหญ่ มีหลาย hosts attached กับหลาย storage arrays - ยืดหยุน ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 9 ั
  • 10. การจัด ตารางดิส ก์ Disk Scheduling หน้าที่ของ OS อย่างหนึ่งที่มีต่อจานแม่เหล็กก็คือ การ ใช้จานแม่เหล็กอย่างมีประสิทธิภาพ สำาหรับดิสก์ ประสิทธิภาพหมายถึงความเร็วในการเข้าถึงและแบนด์ วิดท์ของจานแม่เหล็ก จุดประสงค์คือการลดเวลา seek time Seek time ≈ seek distance Disk bandwidth เป็นเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการถ่ายโอน ข้อมูลที่จัดเก็บบนดิสก์ไปยังหน่วยความจำา หาได้จาก จำานวนรวมของไบต์ที่โอนย้าย หารด้วยเวลาตั้งแต่การ ร้องขอสำาหรับบริการแรกจนกระทังการโอนย้ายเสร็จ ่ เรียบร้อย วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 10 ั
  • 11. Disk Scheduling (Cont.) มีหลาย algorithms ในการ schedule disk I/O requests ตัวอย่าง a request queue (0-199). 98, 183, 37, 122, 14, 124, 65, 67 Head pointer 53 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 11 ั
  • 12. มาก่อ นได้ก ่อ น FCFS: First-Come First-Serve จากภาพแสดงจำานวนรวมของการเคลื่อนที่หวอ่านจำานวน 640 cylinders ั วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 12 ั
  • 13. เวลาเวลาสัน สุด ได้ก ่อ น ้ SSTF: Shortest –seek-time-first หัวอ่านจะเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ที่ใกล้ที่สุดหรือสั้น สุดก่อน ถึงจะเคลื่อนที่ไปยังไซลินเดอร์ต่อไป SSTF scheduling จัดเป็นรูปแบบของการจัดตาราง แบบงานสั้นที่สุดได้ก่อน (Shortest-job-first : SJF) อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการรอคอยอย่างไม่รู้จบ (starvation) ของการร้องขอบางอย่างได้ มีการเคลือนย้ายหัวอ่านรวม 236 cylinders ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 13 ั
  • 14. SSTF (Cont.) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 14 ั
  • 15. SCAN หัวอ่านจะเริ่มอ่านจากที่ด้านใดด้านหนึ่งของดิสก์และ จะเคลื่อนทีไปอีกสุดขอบของอีกด้านหนึ่ง โดยจะให้ ่ บริการก็ต่อเมื่อหัวอ่านเคลื่อนที่ไปถึงที่ไซลินเดอร์นั้น บางครั้งเรียกว่า elevator algorithm มีการเคลือนย้ายหัวอ่านรวม 208 cylinders ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 15 ั
  • 16. SCAN (Cont.) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 16 ั
  • 17. C-SCAN (circular) เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับแบบ SCAN แต่จะเริ่ม เคลื่อนย้ายหัวอ่านจากปลายขอบของดิสก์ด้านใดด้าน หนึ่งแล้วเคลื่อนไปอีกด้านหนึ่งโดยให้บริการใน ระหว่างที่เคลื่อนย้าย เมื่อหัวอ่านเคลื่อนไปจนถึงสุด ขอบของดิสก์อกด้านหนึ่งจึงย้อนกลับมาตั้งหลักที่จุด ี เริ่มต้นใหม่อกครั้งโดยไม่ให้บริการในระหว่างทางที่ ี เคลื่อนหัวอ่าน C-SCAN เป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับขั้นตอนวิธที่จัดการ ี cylinders เป็นวง ซึ่งล้อมรอบจาก cylinders สุดท้าย ไป cylinders วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 17 ั
  • 18. C-SCAN (Cont.) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 18 ั
  • 19. C-LOOK เป็น Version ในทางปฏิบัติของ C-SCAN โดยปกติแล้วแขนของหัวอ่านจะเคลื่อนที่ไปด้านใด ด้านหนึ่งในระยะทางที่ไกลเท่าที่มีการขอใช้บริการ จากไซลินเดอร์เท่านั้น และจะเคลื่อนที่กลับไปอีกด้าน หนึ่งทันทีโดยไม่จำาเป็นต้องเคลือนไปให้สุดขอบของ ่ ดิสก์ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 19 ั
  • 20. C-LOOK (Cont.) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 20 ั
  • 21. Selecting a Disk-Scheduling Algorithm SSTF ใช้กันโดยทั่วไปและเป็นธรรมชาติ SCAN และ C-SCAN สามารถรองรับงานได้ดีที่สุดใน สภาพแวดล้อมที่มีการใช้งานดิสก์อย่างหนัก สามารถ ลดการเกิดภาวะงูกินหรือรออย่างไม่รู้จบได้ ประสิทธิภาพย่อมขึ้นอยู่กับจำานวนและชนิดของการ ร้องขอ วิธีการจัดสรรแฟ้ม (file allocation method) มีผล โดยตรงต่อประสิทธิภาพของ disk-scheduling OS ควรมีหลายทางเลือกในการใช้ disk-scheduling เพื่อปรับให้เหมาะสมกับการร้องขอรูปแบบต่างๆ ได้ ควรใช้แบบ SSTF หรือแบบ LOOK เป็นพื้นฐาน วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 21 ั
  • 22. การจัด การดิส ก์ Disk Management Low-level formatting, หรือ physical formatting — กระบวนการจัดรูปแบบ track และ sectors เพือที่ disk ่ controller ใช้ในการอ่านและเขียน ในการที่ OS จะใช้ดสก์จัดเก็บำาฟล์ จำาเป็นต้องบันทึกค่า ิ ต่างๆ ของโครงสร้างข้อมูลบนดิสก์ก่อน โดย  partition คือการแบ่งพื้นที่ดิสก์ออกเป็นหนึงกลุ่มหรือหลายกลุ่ม ่ ไซลินเดอร์ เพื่อแยกพื้นที่ทางตรรกะบนดิสก์ออกจากกัน  Logical formatting หรือ “การสร้างระบบแฟ้ม” Boot block ในการเริ่มต้นระบบ  The bootstrap จัดเก็บใน ROM  Bootstrap loader program sector sparing Methods ใช้ในการจัดการ bad blocks วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 22 ั
  • 23. MS-DOS Disk Layout วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 23 ั
  • 24. Booting from a Disk in Windows 2000 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 24 ั
  • 25. การจัด การพื้น ที่ว ่า งที่ใ ช้ใ นการสับ เปลี่ย น Swap-Space Management พื้นทีว่างที่ใช้ในการสับเปลี่ยน (Swap-space) – คือ ่ Virtual memory ที่ใช้ disk space ขยาย main memory เป็นกระบวนการเคลื่อนย้ายข้อมูลบนพื้นทีระหว่างดิสก์กับ ่ หน่วยความจำา การสับเปลี่ยนจะเกิดขึ้นในกรณีที่พนที่ว่างในหน่วยความ ื้ จำาหลักเหลืออยู่นอยในระดับวิกฤติ ้ เทคนิคสำาคัญที่ใช้ในกระบวนการสับเปลี่ยนพื้นทีว่างได้แก่ ่  หลักการสับเปลี่ยน (swapping)  การจัดการหน่วยความจำาเสมือน (VM management)  การสลับหน้า (paging) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 25 ั
  • 26. Data Structures for Swapping on Linux Systems วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 26 ั
  • 27. RAID Structure RAID – การมี multiple disk drives เพื่อreliability ผ่าน redundancy. RAID แบ่งออกเป็น 6 ระดับ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 27 ั
  • 28. RAID (cont) Several improvements in disk-use techniques involve the use of multiple disks working cooperatively. Disk striping uses a group of disks as one storage unit. RAID schemes improve performance and improve the reliability of the storage system by storing redundant data.  Mirroring or shadowing keeps duplicate of each disk.  Block interleaved parity uses much less redundancy. วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 28 ั
  • 29. RAID Levels วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 29 ั
  • 30. RAID LEVEL 0: Non-Redundant Stripping วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 30 ั
  • 31. RAID LEVEL 1 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 31 ั
  • 32. RAID LEVEL 2 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 32 ั
  • 33. RAID LEVEL 3 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 33 ั
  • 34. RAID LEVEL 4 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 34 ั
  • 35. RAID LEVEL 5 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 35 ั
  • 36. RAID LEVEL 6 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 36 ั
  • 37. RAID (0 + 1) and (1 + 0) วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 37 ั
  • 38. การติด ตั้ง ดิส ก์ Disk Attachment การติดตั้งดิสก์สามารถทำาได้ 2 ทาง 1. หน่ว ยเก็บ ที่ต ิด ตั้ง อยู่ก ับ โฮสต์ (Host attached Storage) ผ่าน I/O port 2. หน่ว ยเก็บ ที่ต ิด อยู่ก ับ เครือ ข่า ย (Network attached storage) ผ่าน network connection วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 38 ั
  • 39. Network-Attached Storage วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 39 ั
  • 40. Storage-Area Network วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 40 ั
  • 41. Operating System Issues งานหลักของ OS การจัดการอุปกรณ์เชิงกายภาพ และการแสดง (virtual machine abstraction) ไปยัง แอพพลิเคชัน สำาหรับ hard disks, OS จัดหา abstraction 2 ประการ  Raw device – array ของ data blocks  File system – OS queues และ schedules ของการร้องขอที่ แทรกสลับเข้ามาจากแอพพลิเคชันต่างๆ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 41 ั
  • 42. Application Interface OS ส่วนใหญ่จะมีการจัดการ removable disks เช่นเดียว fixed disks ทั่วไป – ดิสก์ชุดใหม่ๆ จะมีการจัดระเบียบ (formatted) และสร้าง file system มาให้แล้ว Tapes จัดเป็นสื่อแบบ raw storage medium และ แอพพลิเคชันจะไม่เปิดไฟล์จากเทปโดยตรง แต่จะเปิด เนือหาของไฟล์ทั้งหมดเหมือนเป็นไดรฟ์แบบ raw device ้ โดยปกติ tape drive จะสงวนไว้สำาหรับการใช้งานแบบ เอกสิทธิ์ (exclusive use) ของ application นั้น บางครั้ง OS อาจไม่ได้บริการต่างๆ ระบบไฟล์ที่เพียงพอ ดัง นั้นapplication จะต้องตัดสินเองว่าจะใช้ array of blocks อย่างไร ส่วนเทป ทุกๆ application จะสามารถเรียกใช้งานได้ มีวิธี จัดการ และเรียกใช้งานข้อมูลทั้งหมดจากเทปได้จาก โปรแกรมทีสร้างขึ้น ่ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 42 ั
  • 43. ความเร็ว Speed มีประเด็นสำาคัญ 2 ประการในการตัดสินใจเลือก ประเภทหน่วยเก็บ ได้แก่ bandwidth และ latency. Bandwidth วัดในหน่วย bytes per second  แบนด์วิทด์ที่ยงยืน (Sustained bandwidth) – เป็นค่าเฉลี่ยข้อมูล ั่ ระหว่างการรับ-ส่งในปริมาณมาก วัดโดย จำานวน bytes/transfer time เป็นอัตราข้อมูล (Data rate) เมื่อสายข้อมูลไหลผ่านจริงๆ  แบนด์วิทด์ที่มประสิทธิภาพ (Effective bandwidth) – ค่าเฉลี่ย ี ของI/O time ทังหมด, รวมทั้ง การค้นหา (seek) หรือการหา ้ ตำาแหน่งที่อยู่ (locate), และ cartridge switching เป็นอัตราข้อมูลของทุกไดรฟ์ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 43 ั
  • 44. Speed (Cont.) Access latency – จำานวนเวลาที่ใช้ในการค้นหา ข้อมูลที่ต้องการ  Access time สำาหรับดิสก์ – การเลื่อนแขนอ่านไปยัง cylinder ที่เลือก และรอ rotational latency; ใช้เวลาน้อย 35 milliseconds  Access on tape เป็นระยะเวลาในการหมุนม้วนเทปจนกระทัง ่ หัวอ่านเทปอยู่บนบล็อกทีต้องการ ใช้เวลาประมาณ 10-1000 ่ วินาที  กล่าวได้ว่า เวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงแบบสุ่มบนเทปจะช้ากว่าบน ดิสก์ประมาณพันเท่า ต้นทุนที่ตำ่ากว่าของอุปกรณ์หน่วยเก็บประเภทเทป และสื่อบางชนิด คือความสามารถในการใช้ชุด ไดรฟ์ร่วมกันกับสื่อหลายชุด จึงทำาให้ประหยัดลงได้ วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 44 ั
  • 45. ความเชือ ถือ ได้ ่ Reliability fixed disk drive จะมีความเชื่อถือได้สูงกว่า removable disk หรือ tape drive optical cartridge จะมีความเชื่อถือได้สูงกว่า magnetic disk หรือ tape head crash ใน fixed hard disk จะทำาลายข้อมูล บริเวณนั้น ในขณะที่ ความขัดข้อง (failure) ของ tape drive หรือ optical disk drive มักไม่ทำาความ เสียหายของข้อมูลบน cartridge วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 45 ั
  • 46. ค่า ใช้จ ่า ย Cost Main memory มีคาใช้จ่ายแพงกว่า disk storage มาก ่ cost per megabyte ของ hard disk storage ราคาพอๆ กับ magnetic tape แต่ละชุด (ถ้ารวมไดรฟ์ดวย) ้ tape drives และ disk drives จัดเป็นหน่วยเก็บที่มต้นทุน ี ต่อหน่วยถูกที่สุดในหลายปีที่ผานมา ่ เหตุที่เทปประหยัดค่าใช้จ่ายก็มาจากการใช้ชุดเทปไดรฟ์ เพียงชุดเดียวกับเทปได้หลายกล่อง วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 46 ั
  • 47. Price per Megabyte of DRAM, From 1981 to 2000 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 47 ั
  • 48. Price per Megabyte of Magnetic Hard Disk, From 1981 to 2000 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 48 ั
  • 49. Price per Megabyte of a Tape Drive, From 1984-2000 วิเ ชษฐ์ พลายมาศ | ระบบปฏิบ ต ิก าร (OS: Operating Systems) | การจัดการหน่วยเก็บ (Storage Management) | 49 ั