SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที่ 2
การจัดการสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมของมนุษย์เริ่มส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมนับตั้งแต่
ประชากรมนุษย์เริ่มมีมากขึ้น จึงทาให้มีผลกระทบต่อสิ่งต่าง ๆทาง
ธรรมชาติ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมกาลังทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วใน
ปัจจุบัน ทาให้นักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการที่เกี่ยวข้องต้องหาทางแก้ไข
ปัญหาอย่างรวดเร็ว จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ถ้าไม่มี
การจัดการแล้ว ปัญหาสิ่งแวดล้อมจะส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของ
มนุษย์มากขึ้น จากปัญหาต่าง ๆ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
นักวิทยาศาสตร์ให้ความสาคัญและให้ความเห็นว่าการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
รัฐบาลกับการดาเนินการจัดการสิ่งแวดล้อม
การประกาศใช้พระราชบัญญัติการส่งเสริมและการรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติในปีเดียวกัน รัฐบาลได้สร้างแนวทางผสมผสาน 2
ลักษณะ คือ
1. ระดับโครงการ
2. ระดับพื้นที่
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ความรุนแรงของปัญหาสิ่งแวดล้อมของไทย ทั้งปัญหา
ทรัพยากรธรรมชาติที่ลดลง ปัญหาการเพิ่มขึ้นของภาวะมลพิษ ปัญหาความ
แปรปรวนของดินฟ้ าอากาศ ปัญหาเหล่านี้ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
คุณภาพชีวิตของมนุษย์ สาเหตุของปัญหาดังกล่าวเกิดจากการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ที่ขาการประเมินผลกระทบหรือการ
คาดคะเนผลเสียและผลดีที่จะเกิดขึ้นกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ความหมายของการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หมายถึง กิจกรรมในการ
จาแนก และการคาดคะเน ผลกระทบก่อนการดาเนินการโครงการการ
พัฒนา โดยการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจะทาให้แนวทางในการ
แก้ไขผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนระบบติดตามการ
ตรวจสอบเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
ความเป็นมาของการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การศึกษาประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเริ่มใช้ในประเทศ
สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2512 สาหรับประเทศไทย มีนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่เริ่ม
กาหนดในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 แต่เป็นกฎหมายที่เป็นเพียงแนวทางให้ฝ่ายบริหาร
กาหนดนโยบาย และให้ฝ่ายนิติบัญญัติตรากฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
ต่อมามีการประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับ
แรก คือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518
และได้กาหนดให้มีการจัดทารายงานการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมEIA อย่าง
จริงจัง ในปี 2524 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
และคุณค่าต่าง ๆ ท่าอาจจะถูกกระทบจากโครงการหรือกิจการที่พัฒนานั้น
ขนาดโครงการที่ต้องทาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมได้กาหนด
ประเภทและขนาดของโครงการพัฒนาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงในการใช้ทรัพยากร และอาจก่อให้เกิดปัญหามลพิษ
สิ่งแวดล้อม โดยกาหนดในโครงการมีขนาดใหญ่ที่ต้องการทารายงาน
การศึกษาถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม เช่น การชลประทาน เขื่อนเก็บน้าหรือ
อ่างเก็บน้า สนามบินพาณิชย์โรงแรงหรือสถานที่พักตากอากาศ ระบบทาง
พิเศษ การทาเหมืองแร่ นิคมอุตสาหกรรม ท่าเรือพาณิชย์โรงไฟฟ้าพลังงาน
ความร้อน การอุตสาหกรรม เป็นต้น
การจัดการสิ่งแวดล้อม
การจัดการสิ่งแวดล้อม หมายถึง การดาเนินการต่อสิ่งแวดล้อม
อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สิ่งแวดล้อมสามารถเอื้ออานวยประโยชน์ต่อ
มนุษย์ได้ตลอดไป โดยไม่ขาดแคลน และไม่มีปัญหาใด ๆ แนวคิดในการ
จัดการสิ่งแวดล้อม ดังนี้
1. การสงวน Preservation
2. การอนุรักษ์ Conservation
3. การพัฒนา Development
4. การใช้ประโยชน์ Utilization
การวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม
1. การสารวจเบื้องต้น
2. การวางแผนเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล
3. การสารวจ / เก็บข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
5. เปรียบเทียบ / ประเมินผลการวิเคราะห์กับค่ามาตรฐาน
6. การประเมินสถานภาพของระบบทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
7. การหาปัญหา และสาเหตุของปัญหา
8. การสร้างมาตรการ
9. การสร้างแผนงาน
การจัดการสิ่งแวดล้อมในระดับสากล
แนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมมีหลายแนวทาง แต่ละประเทศ
จะมีการกาหนดกฎหมายสิ่งแวดล้อม กฎข้อบังคับ หรือมาตรฐานการจัดการ
สิ่งแวดล้อมเป็นมาตรฐานของตนเอง ซึ่งอาจมีหลักการดาเนินการบริหาร
จัดการที่แตกต่างกันไป ซึ่งอาจทาให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เท่าเทียม
กัน ด้านการค้าระหว่างประเทศ การจัดการสิ่งแวดล้อม มาตรฐานสากลที่
เกี่ยวข้องกับการผลิต และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ ดังนี้
1. มาตรฐาน ISO 9000
2. มาตรฐาน ISO 14000
การจัดการสิ่งแวดล้อมด้านพลังงาน
กระทรวงพลังงานได้ดาเนินการการจัดการสิ่งแวดล้อมด้าน
พลังงาน โดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านพลังงานจัดทาโครงการเพื่อ
ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานหลายโครงการ ดังตัวอย่างโครงการต่อไปนี้
1. กระทรวงพลังงาน โดยกรมการพัฒนาทดแทนและอนุรักษ์
พลังงาน พพ.
2. กระทรวงพลังงาน ร่วมมือกับสานักงานคณะกรรมการการสิ่ง
เสริมลงทุน บีโอไอ
3. กระทรวงพลังงาน โดยสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
สนพ.
สรุป
การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยการจัดการ เป็นแนวทางแก้ไข
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ ของกระบวนการ มาสู่
การดาเนินการอย่างมีระบบ โดยในการใช้เทคโนโลยีสะอาด Clean
Technology เป็นการผสมผสานการป้ องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีสะอาดจึงเป็นแนวทางที่ประเทศพัฒนาแล้วยอมรับว่าเป็น
เครื่องมือที่สาคัญในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
7.3 มาตรฐานด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 มาตารฐานด้านพลังงาน
บทที่ 2
ISO 50001:2011
 เป็นมาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน
 เป็ นการลดต้นทุนด้านพลังงาน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และลด
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
 สามารถทาได้กับทุกขนาดและทุกประเภทขององค์กร
 ต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตามหลักการ P-D-C-A คือ วางแผน (Plan)
ปฏิบัติ (DO) ตรวจสอบ (Check) แก้ไขและปรับปรุง (Act)
7.3 มาตรฐานด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 มาตารฐานด้านพลังงาน
บทที่ 12
หลักการของ ISO 50001
1. วางแผน (Plan) เป็ นการกาหนดวัตถุประสงค์และ
กระบวนที่จาเป็นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับโอกาสใน
การปรับปรุงสมรรถนะพลังงานและนโยบายขององค์กร
2. ปฏิบัติ(DO) การทาให้เกิดผลของกระบวนการ
3. ตรวจสอบ (Check) การเฝ้ าระวังและการวัดกระบวน
และผลิตภัณฑ์ตามนโยบายวัตถุประสงค์และรายงาน
ผลลัพธ์
4. แก้ไขและปรับปรุง (Act) การดาเนินการปรับปรุง
สมรรถนะอย่างต่อเนื่อง
7.3 มาตรฐานด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 มาตารฐานด้านพลังงาน
บทที่ 12
ประโยชน์ของ ISO 50001 ต่อ
องค์กร
1. ลดอุปสรรคทางการค้าจากนโยบายด้านพลังงาน
2. เพิ่มโอกาสในการสร้างตลาดโลกสาหรับเทคโนโลยีที่
เกี่ยวกับประสิทธิภาพพลังงาน
3. ช่วยสนับสนุนให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการพลังงาน
4. ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคด้านพลังงาน
5. ส่งเสริมความร่วมมือทางด้านวิทยาศาสตร์ และนโยบาย
ต่างๆ ให้สอดคล้องกัน

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003Thidarat Termphon
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมtanapatwangklaew
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์hoossanee
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 

บทที่ 2 การจัดการสิ่งแวดล้อม