SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
การทางานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้
o การทางานเอกสารที่ซ้าๆ ได้อย่างรวดเร็ว
o การคานวณตัวเลข ถูกต้อง แม่นยา
o สามารถเก็บข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ได้โดยง่าย
o การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฐานข้อมูล แล้วสืบค้นได้
o การติดต่อสื่อสาร เพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อบันเทิง
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนาคอมพิวเตอร์
มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ส่งผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคนก็ได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ คือ
1. ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที
2. ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มีข้อผิดพลาด และ
ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
3. ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอหากผลของ
การคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่โปรแกรม
4.เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะมี
ที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะ
สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร
5.ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดยใช้การติดต่อสื่อสารผ่าน
ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยัง
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information Superhighway
ประเภทของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ที่ใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการใช้งานกันมาก
ทั้งที่บ้าน ที่ทางาน ตลอดจนในสถานศึกษาต่างๆ ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด
เล็ก แต่มีประสิทธิภาพในการทางานที่สูงกว่าเครื่องขนาดใหญ่ในสมัยก่อนเสียอีก อย่างไรก็ดี
แม้ว่าไมโครคอมพิวเตอร์จะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็ยังมีข้อจากัดบางประการที่ทาไม่
สามารถทางานที่ใหญ่ และมีความซับซ้อนได้ เช่น งานของระบบธนาคารหรืออุตสาหกรรมซึ้งมี
ปริมาณมากและมีความซับซ้อนจะเป็นงานที่จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่ทางานได้ดีกว่าเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ซอฟต์แวร์ (Sofeware)
บุคลากร (Peopleware)
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
กระบวนการทางาน (Procedure)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
• อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้
(รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการ
ทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วย
แสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทางาน
แตกต่างกัน
ซอฟต์แวร์ (Sofeware)
• ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) คือชุดคำสั่งที่เป็นระบบปฏิบัติกำรต่ำงๆที่ทำงำนควบคู่กับระบบต่ำงๆภำยใน
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ หรือจะกล่ำวง่ำยๆนั่นก็คือ Windows Mac หรือแม้แต่ Linux และนอกจำกนี้ยังรวมถึง
โปรแกรมที่เขียนในภำษำคอมพิวเตอร์อย่ำง C C# Java Pascal พวกนี้เองก็เป็นหนึ่งในกำรช่วยให้ ซอฟต์แวร์นั้นมีระบบที่
สมบูรณ์มำกยิ่งขึ้น
• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) มันคือ โปรแกรมที่ถูกออกแบบ ถูกทำมำให้กับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ
ให้สำมำรถสั่งงำนเพื่อตอบสนองรูปแบบกำรทำงำนอย่ำง เครื่องคิดเลข โปรแกรมแต่งรูป หรือแม้แต่ โปรแกรมแชทต่ำงๆ
เองก็เป็นโปรแกรมพื้นฐำนที่ทุกเครื่องต้องมีนอกจำกนี้ยังรวมถึง ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมที่ออกแบบ
มำเพื่องำนนั้นๆ เช่น โปรแกรมบริหำรต่ำงๆ โปรแกรมออกแบบบ้าน หรือ โปรแกรมPOS เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมเหล่ำนี้
สำมำรถดัดแปลงแก้ไขให้ตรงกับควำมต้องกำรของธุรกิจได้ นอกจำกนี้ยังมี ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป เป็นโปรแกรมที่
พร้อมในกำรใช้งำนโดยไม่ต้องทำกำรเขียนเอง แต่เรำจะไม่สำมำรถปรับหรือแก้ไขตัวโปรแกรมได้ เช่น MS Office Adobe IE
และ เกมส์ต่ำงๆ เป็นต้น
บุคลากร (Peopleware)
บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้ าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับ
ระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่
นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User)
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถ
ทางานได้ตามที่ต้องการ
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล
คานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูล
บุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่งอาจนามา
จาแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้ าของ
บ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้ า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชาระ
ให้กับการไฟฟ้ าฯ
กระบวนการทางาน (Procedure)
• กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่ง
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง
• รับข้อมูลเข้า (Input) คอมพิวเตอร์จะทาหน้าที่รับข้อมูลเพื่อนาไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลได้แก่
แป้ นพิมพ์ เมาส์
• ประมวลผล (Process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้ว จะทาการประมวลผลตามโปรแกรมคาสั่งที่กาหนดไว้
• แสดงผล (Output) คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปยังหน่วยแสดงผล อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่
แสดงผล ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์
• จัดเก็บข้อมูล (Storage) คอมพิวเตอร์จะทาการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสเก็ต
วิดีโอเกี่ยวข้อง
https://www.youtube.com/watch?v=WnZcAir48mk
สมาชิก
นางสาว ธนกฤตา รัตนชยมร เลขที่ 23 ม.5/3 นางสาว อุษามาศ สายรักษา เลขที่25 ม.5/3

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศOwat
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นnutty_npk
 
งานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้นงานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้นnutty_npk
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นnutty_npk
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นPhicha Pintharong
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารmonthiraqq
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดคำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดelfinspiritap
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 

What's hot (16)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
งานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้นงานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้น
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดคำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันkanit087
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpgเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.JpgArm'Physics Sonsern-Srichai
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Tarinee Bunkloy
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นnutty_npk
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นnutty_npk
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นnutty_npk
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1katuckkt
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Min Jidapa
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Jaohjaaee
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1ninjung
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tata Sisira
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1galswen
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 

Similar to คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2 (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpgเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Mindmap5
Mindmap5Mindmap5
Mindmap5
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 

More from tnkieta

เมาส์2
เมาส์2เมาส์2
เมาส์2tnkieta
 
Junjangg
JunjanggJunjangg
Junjanggtnkieta
 
คอม งานที่5 ธนกฤตา 5 3 24
คอม งานที่5  ธนกฤตา 5 3 24คอม งานที่5  ธนกฤตา 5 3 24
คอม งานที่5 ธนกฤตา 5 3 24tnkieta
 
Jubjangg
JubjanggJubjangg
Jubjanggtnkieta
 
Jubjangg
JubjanggJubjangg
Jubjanggtnkieta
 
ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24
ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24
ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24tnkieta
 

More from tnkieta (8)

Slide
SlideSlide
Slide
 
เมาส์2
เมาส์2เมาส์2
เมาส์2
 
Com
ComCom
Com
 
Junjangg
JunjanggJunjangg
Junjangg
 
คอม งานที่5 ธนกฤตา 5 3 24
คอม งานที่5  ธนกฤตา 5 3 24คอม งานที่5  ธนกฤตา 5 3 24
คอม งานที่5 ธนกฤตา 5 3 24
 
Jubjangg
JubjanggJubjangg
Jubjangg
 
Jubjangg
JubjanggJubjangg
Jubjangg
 
ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24
ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24
ใบงานที่ 4 ธนกฤตา ม.5 3 24
 

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2

  • 2. การทางานของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้ o การทางานเอกสารที่ซ้าๆ ได้อย่างรวดเร็ว o การคานวณตัวเลข ถูกต้อง แม่นยา o สามารถเก็บข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ได้โดยง่าย o การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฐานข้อมูล แล้วสืบค้นได้ o การติดต่อสื่อสาร เพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อบันเทิง
  • 3. คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ส่งผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคนก็ได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ คือ 1. ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที 2. ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มีข้อผิดพลาด และ ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย 3. ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอหากผลของ การคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่โปรแกรม
  • 4. 4.เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะมี ที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะ สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร 5.ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดยใช้การติดต่อสื่อสารผ่าน ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information Superhighway
  • 5. ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการใช้งานกันมาก ทั้งที่บ้าน ที่ทางาน ตลอดจนในสถานศึกษาต่างๆ ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด เล็ก แต่มีประสิทธิภาพในการทางานที่สูงกว่าเครื่องขนาดใหญ่ในสมัยก่อนเสียอีก อย่างไรก็ดี แม้ว่าไมโครคอมพิวเตอร์จะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็ยังมีข้อจากัดบางประการที่ทาไม่ สามารถทางานที่ใหญ่ และมีความซับซ้อนได้ เช่น งานของระบบธนาคารหรืออุตสาหกรรมซึ้งมี ปริมาณมากและมีความซับซ้อนจะเป็นงานที่จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่ทางานได้ดีกว่าเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์
  • 6. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Sofeware) บุคลากร (Peopleware) ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) กระบวนการทางาน (Procedure)
  • 7. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการ ทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วย แสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทางาน แตกต่างกัน
  • 8. ซอฟต์แวร์ (Sofeware) • ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) คือชุดคำสั่งที่เป็นระบบปฏิบัติกำรต่ำงๆที่ทำงำนควบคู่กับระบบต่ำงๆภำยใน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ หรือจะกล่ำวง่ำยๆนั่นก็คือ Windows Mac หรือแม้แต่ Linux และนอกจำกนี้ยังรวมถึง โปรแกรมที่เขียนในภำษำคอมพิวเตอร์อย่ำง C C# Java Pascal พวกนี้เองก็เป็นหนึ่งในกำรช่วยให้ ซอฟต์แวร์นั้นมีระบบที่ สมบูรณ์มำกยิ่งขึ้น • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) มันคือ โปรแกรมที่ถูกออกแบบ ถูกทำมำให้กับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่ำงๆ ให้สำมำรถสั่งงำนเพื่อตอบสนองรูปแบบกำรทำงำนอย่ำง เครื่องคิดเลข โปรแกรมแต่งรูป หรือแม้แต่ โปรแกรมแชทต่ำงๆ เองก็เป็นโปรแกรมพื้นฐำนที่ทุกเครื่องต้องมีนอกจำกนี้ยังรวมถึง ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมที่ออกแบบ มำเพื่องำนนั้นๆ เช่น โปรแกรมบริหำรต่ำงๆ โปรแกรมออกแบบบ้าน หรือ โปรแกรมPOS เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมเหล่ำนี้ สำมำรถดัดแปลงแก้ไขให้ตรงกับควำมต้องกำรของธุรกิจได้ นอกจำกนี้ยังมี ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป เป็นโปรแกรมที่ พร้อมในกำรใช้งำนโดยไม่ต้องทำกำรเขียนเอง แต่เรำจะไม่สำมำรถปรับหรือแก้ไขตัวโปรแกรมได้ เช่น MS Office Adobe IE และ เกมส์ต่ำงๆ เป็นต้น
  • 9. บุคลากร (Peopleware) บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน ตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้ าหมายของหน่วยงาน 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับ ระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่ นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้ 4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถ ทางานได้ตามที่ต้องการ
  • 10. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล คานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูล บุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่งอาจนามา จาแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้ าของ บ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้ า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชาระ ให้กับการไฟฟ้ าฯ
  • 11. กระบวนการทางาน (Procedure) • กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่ง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง • รับข้อมูลเข้า (Input) คอมพิวเตอร์จะทาหน้าที่รับข้อมูลเพื่อนาไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลได้แก่ แป้ นพิมพ์ เมาส์ • ประมวลผล (Process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้ว จะทาการประมวลผลตามโปรแกรมคาสั่งที่กาหนดไว้ • แสดงผล (Output) คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปยังหน่วยแสดงผล อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ แสดงผล ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ • จัดเก็บข้อมูล (Storage) คอมพิวเตอร์จะทาการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสเก็ต
  • 13. สมาชิก นางสาว ธนกฤตา รัตนชยมร เลขที่ 23 ม.5/3 นางสาว อุษามาศ สายรักษา เลขที่25 ม.5/3