SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
1. ทางานได้รวดเร็ว คอมพิวเตอร์มีการประมวลผลรวดเร็วกว่ามนุษย์หลาย
เท่า จึงนิยมนามาใช้คิดคานวณเพื่อลดระยะเวลาการทางาน ทาให้การทางาน
ต่างๆ รวดเร็วขึ้น
2. ทางานได้ถูกต้องแม่นยา การประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีความผิดพลาด
ต่า หรือแทบจะไม่มีความผิดพลาดเลย จุดเด่นนี้ คอมพิวเตอร์จึงถูกนามาใช้ใน
การคานวณต่างๆ เช่น ข้อมูลด้านการเงิน บัญชี ฐานข้อมูลวิศวกรรม การ
ควบคุมอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ต้องการความละเอียด แม่นยาสูง เช่น การ
ผ่าตัดดวงตา การผ่าตัดสมอง
3. ทางานได้อย่างต่อเนื่อง จุดเด่นนี้ ทาให้คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้ในงา นอุต
สาหกรรม ซึ่งต้องการทางานอย่างต่อเนื่อง ไม่มีการหยุดพัก เพื่อให้ได้ผลผลิต
ตามต้องการ
4. ทางานที่มีความเสี่ยง ลักษณะงานที่มีความเสี่ยง อันตราย สกปรก งานที่
เป็นภัยต่อสุขภาพ ถึงมักใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานแทนมนุษย์ เช่น
เก็บกู้ระเบิด เครื่องบินเล็กสอดแนม
5. ทางานที่ซับซ้อนหรือยุ่งยากได้ คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้งานในลักษณะงาน
ที่ซับซ้อน แทนมนุษย์เพื่อเหตุผลของการลดต้นทุนในการจ้างงาน ทาให้การ
ทางานดังกล่าวเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ลดต้นทุนการผลิตได้
6. ทางานได้อเนกประสงค์ คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายอัน
เนื่องมาจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สนองความต้องการของผู้ใช้งาน
7. ทางานระยะไกลได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่าย
ได้ทั่วโลก ทาให้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดของโลกใบนี้ ก็สามารถสั่งงานผ่านคอมพิวเต
อร์ได้
8. ทางานได้อย่างตรงไปตรงมา เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีการ
ประมวลผลที่แน่นอน ทางานตามโปรแกรมที่ตั้งไว้เท่านั้น
คอมพิวเตอร์จึงถูกนามาใช้ในการตัดสินใจแทนมนุษย์
]
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
1
ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คุณลักษณะเด่นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
1. ความเร็ว
2. ความถูกต้อง แม่นยา
3. ความน่าเชื่อถือ
4. การจัดเก็บข้อมูล
5. การติดต่อสื่อสาร
6. ความเป็นอัตโนมัติ
วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็นคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์นั้นมีวิวัฒนาการที่รวดเร็วมาก ตั้งแ ต่ยุคสมัยดึกดาบรรพ์เป็นต้นมา มนุษย์เรามีความพยายาม
ที่จะคิดค้นเครื่องมือให้มาช่วยในการคานวณและการนับ ตั้งแต่เริ่มต้นใช้นิ้วมือนับ จนมาใช้ก้อนกรวด หิน
มนุษย์จึงคิดค้นวิธีการที่ง่ายกว่านี้ จนกลายมาเป็นกลไกที่ใช้ในการคานวณ จนวิวัฒนาการมาเป็น
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 4 ยุค
1.ยุคก่อนเครื่องจักรกล
2.ยุคเครื่องจักรกล
3.ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์
4. ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
วิวัฒนาการของเครื่องมือช่วยนับและการคานวณในยุคก่อนเครื่องจักรกล ( Premechanical)
เมื่อวิวัฒนาการทางสังคมของมนุษย์มีความเจริญมากขึ้น การใช้นิ้วมือหรือก้อนหินมาช่วยนับนั้นมี
ข้อจากัดอยู่เช่นกัน เนื่องจากไม่สามารถนับหรือคานวณหาค่าตัวเลขที่มาก ๆ ได้ มนุษย์จึงได้มีความพยายาม
คิดค้นเครื่องมือช่วยนับที่ดีกว่าเดิมด้วยการสร้างระ บบตัวเลขขึ้ นมา ซึ่งพอจะยกตัวอย่างเครื่องมือในยุคนี้
ได้แก่ แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis Tablet) ลูกคิด ( Abacus) แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s
bone) ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule)
วิวัฒนาการของเครื่องมือคานวณในยุคเครื่องจักรกล (Mechanical)
เมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการการผลิตเครื่องไม้เครื่องมือต่าง ๆ ที่ดีขึ้น จึงก่อให้เกิดแนวคิดการสร้างเครื่องจักรกล
โดยอาศัยการทางานของฟันเฟืองเข้ามาช่วยอานวยความสะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการคานวณที่
ยุ่งยากและซับซ้อนมาก ๆ ซึ่งขอยกตัวอย่างเครื่องที่อยู่ในยุคสมัยเครื่องจักรกลได้ดังนี้ นาฬิกาคานวณ (
Calculating Clock) เครื่องคานวณของปาสคาล ( Pascaline Calculator) เครื่องคานวณของไลบ์นิช ( Leibniz
Wheel) เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด ( Jacquard’s loom) เครื่อง Difference Engine
เครื่อง Analytical Engine
วิวัฒนาการของเครื่องมือในการคานวณยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( Electromechanical)
ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical)ในยุคนี้ตัวเครื่องจะใช้เครื่องจักรกลปบ
กับระบบกระแสไฟฟ้าในการทางาน มีการประมวลผลโดย อาศัยวงจรที่ประกอบด้วยหลอดสุญญากาศ (
Vacuum tube) แต่ก็ทาให้เปลืองต้นทุนในการบารุงรักษามากพอสมควร เพราะหลอดสุญญากาศนี้มีอายุการ
ใช้งานที่สั้นและต้องมีการเปลี่ยนหลอดอยู่บ่อย ๆ คอมพิวเตอร์ในยุคนี้แรก ๆ ได้มีการนาเอาไปใช้ในการ
ทางานของภาครัฐและรวมถึงภารกิจทางด้านการทหาร นอกจากนั้นก็จะอยู่ในแวดวงของการศึกษาใน
ระดับสูง ตัวอย่างของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ มีดังนี้ เครื่อง Tabulating Machine เครื่อง ABC (Atanasoff
– Berry – Computer) เครื่อง Colossus เครื่อง Mark l หรือ IBM Automatic Sequence Controlled
Calculator
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ในยุคอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Machine)
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้มีการประดิษฐ์ให้สามารถคานวณและหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็วมากยิ่ง มี
การนาเอาไปใช้ประโยชน์อย่างมากมายทั้งในแวดวงการทหารและการศึกษาระดับสูงทั่วไป จากนั้นจึงได้
พัฒนาเข้าสู่การใช้งานในเชิงพาณิชย์มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างของคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ เครื่อง ENIAC
(Electronics Numerical Integrator and Computer) เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic
Calculator ) เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer) เครื่อง UNIVAC
(UNIversal Automatic Computer
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ ( Transistor)
เนื่องจากหลอดสูญญากาศมีอายุการใช้งานค่อนข้างสั้นและมีขนาดใหญ่เกินไป จึงได้มีการพัฒนา
อุปกรณ์ที่เรียกว่า “ ทรานซิสเตอร์ (Transistor)” ขึ้นเพื่อใช้งานแทน โดยนักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการ
เบล ( Bell laboratory) แห่งสหรัฐอเมริกา 3 คน ประกอบด้วย วิลเลียม ช็อคเลย์ (William Shockley) จอห์น
บาร์ดีน (John Bardeen) และวอลเตอร์ แบรทเทน (Walter Brattain) ซึ่งอุปกรณ์นี้มีขนาดเล็กกว่าหลอด
สุญญากาศมาก นอกจากนั้นยังใช้กระแสไฟฟ้าที่น้อยกว่า จึงทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้นในยุคนี้มี
ขนาดที่เล็กและมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้นกว่าเดิม แต่ในช่วงแรก ๆ การใช้งานยังไม่ค่อยแพร่หลายมาก
นัก จนกระทั่ง 10 ปีให้หลังจึงได้มีการพัฒนาและเริ่มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยมีการประดิษฐ์อุปกรณ์
ประเภทอื่น ๆ ตามมาอีก เช่น จานแม่เหล็ก (magnetic disk) สาหรับเก็บและบันทึกข้อมูล คีย์บอร์ดสาหรับ
การป้ อนข้อมูลเข้าเครื่องโดยตรงแทนบัตรเจาะรู เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นในยุคนี้ ได้แก่ IBM 1401,
CDC 6600, NCR 315 เป็นต้น
ทีมงานพัฒนาทรานซิสเตอร์ ( transistor) แห่งห้องปฏิบัติการเบล
ในยุคนี้เองที่ได้มีการนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย
ภาควิชาสถิติ คณะพณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับมอบเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
ใหญ่มากในยุคนั้นชื่อว่า IBM 1620 จากบริษัทผู้ผลิต มูลค่าประมาณ 2 ล้านบาทเศษ เมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อ
นามาใช้ประโยชน์สาห รับงานด้านการศึกษา จึงถือได้ว่า “IBM 1620” เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่นาเข้า
มาใช้ในประเทศไทย (ปัจจุบันหมดอายุการใช้งานไปนานแล้ว)
ต่อจากนั้นจึงได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เพื่อช่วยงานประมวลผลด้านต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น เช่น
สานักงานสถิติแห่งชาติได้ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานอีกเป็นเครื่องที่สอง มีชื่อว่า IBM 1401 ซึ่งมี
มูลค่าเกือบ 8 ล้านบาท เพื่อใช้งานด้านสามะโนประชากร และก็ได้แพร่ขยายการใช้งานไปยังหน่วยงานอื่น
ๆ ทั้งของรัฐบาลและเอกชนในเวลาต่อมา
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม (IC)
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม (IC) เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมาได้รับการพัฒนาให้มีขีด
ความสามารถที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ แต่การผลิตเครื่องโดยใช้ทรานซิสเตอร์แยกเป็นตัว ๆ ทาให้ต้นทุนในการผลิตสูง
มาก ต่อมาจึงได้มีการเปลี่ยนมาใช้แผงวงจรรวมหรือที่เรียกว่า IC (Integrated Curcuit) ที่ประกอบด้วย
ทรานซิสเตอร์นับพันตัวรวมกันขึ้นในปี ค.ศ.1965
แผงวงจรรวมหรือ IC (Integrated curcuit)
IC แต่ละตัวสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากถึงกว่า 1,000 ตัว ทาให้ลดต้นทุนในการผลิตเครื่อง
คอมพิวเตอร์ลงไปได้มาก อีทั้งยัง คานวณงานที่ซับซ้อนขึ้นได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้มีการผลิตเครื่องเพื่อ
จาหน่ายอย่างแพร่หลาย โดยตัวเครื่องมีขนาดที่เล็กลง หรือที่นิยมเรียกว่า “ มินิคอมพิวเตอร์”
(Minicomputer) ซึ่งใช้กระแสไฟฟ้าน้อยกว่าเดิม ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ ได้แก่ IBM 360, PDP1,
CDC 3300, BURROUGH 7500 เป็นต้น
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI และ LVSI)
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI และ LVSI) ในยุคนี้คือปลายศตวรรษ 1970 มี
การนาไมโครโปรเซสเซอร์ ( microprocessor) ซึ่งเป็นวงจรรวมขนาดใหญ่ที่ผลิตโดยอาศัยเทคโนโลยีที่
เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) เข้ามาแทนแผงวงจรรวม
หรือ IC แบบเดิม เนื่องจากสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่า โดยบรรจุวงจรทรานซิสเตอร์นับหมื่น
แสน หรือล้านตัว ลงในชิ้นสารซิลิกอน (silicon) เล็ก ๆ ไมโครโปรเซสเซอร์นี้คิดค้นขึ้นโดยบริษัทอินเทล
(Intel) ซึ่งยังเป็นผู้ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ชั้นนาในปัจจุบันและทาให้ เกิดการผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
สาหรับการใช้งานทั่วไปที่เรียกว่า “ ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)” ซึ่งได้รับความนิยมแพร่หลายไป
ทั่วโลกในเวลาต่อมา
VLSI (Very Large Scale Integrated)
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network)
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network) การใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยามอย่าง
แพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเท ศไทยด้วย มีการออกแบบและพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็ก
ลงพร้อม ๆ กับประสิทธิภาพในการใช้งานที่มุ่งเน้นให้เกิดการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย (Network) มากยิ่งขึ้น
บริษัทหรือองค์กรธุรกิจได้นาเอาไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวมาเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันใน
บริเวณใกล้หรือในสานักงานเดียวกัน เรียกว่า “ เครือข่ายเฉพาะที่” หรือ LAN (Local Area Network) จากนั้น
ก็ได้พัฒนาให้
การเชื่อมต่อเข้าหากันได้มากขึ้นโดยกระจายบริเวณออกไปในระยะที่กว้างกว่าเดิม เรียกว่า “ เครือข่าย
ระยะไกล” หรือ WAN (Wide Area Network) และในที่สุดก็พัฒนาไปสู่การเชื่อมต่อกันโดยไม่จากัด
ระยะทางไปยังผู้ใช้งานทั่วโลกที่เรียกว่า “ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต” (Internet) ในที่สุด
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
สาหรับประเทศไทยเองโดยเฉพาะในปี พ.ศ.2546 ได้รับ
การส่งเสริมจากรัฐบาลให้คนไทยมีคอมพิวเตอร์ใช้กัน
แทบทุกครัวเรือน หรือที่เรียกว่า “ โครงการคอมพิวเตอร์
เอื้ออาทร” ส่งผลให้จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปใน
ประเทศสูงขึ้นอย่างมาก ซึ่งแต่เดิมการใช้งานคอมพิวเตอร์
มักจะอยู่ในวงแคบ ๆ และจากัดเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้สูงเพียงเท่านั้น เมื่อได้รับการส่ งเสริมจาก
ภาครัฐ ประกอบกับราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ในตลาดที่ถูกลงมากอย่างเห็นได้ชัด กลุ่มผู้ใช้
คอมพิวเตอร์จึงได้แผ่ขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้นไปสู่กลุ่มผู้มีรายได้น้อยและปานกลางด้วย
นอกจากนี้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันยังไม่ได้จากัดการใช้งานอยู่เพียงสถานที่ที่ใด
สถานที่หนึ่งอีกต่อไป เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า เครือข่ายไร้สาย(Wirel ess LAN และ
Wireless network ) ได้เกิดขึ้นแล้วในยุคนี้และได้ติดตามผลการแข่งขันกีฬา รับชมรายการ
โทรทัศน์ เป็นต้น โดยอาศัยการทางานผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาที่มีขนาดเล็กลงนั่นเอง
1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มี
ความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้าน
วิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัย
ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ
เป็นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามขนาดและความสามารถของเครื่อง
จาแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการ
เก็บข้อมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจาและ
ความเร็วน้อยลงสามารถใช้ข้อมูลและคาสั่งของเครื่องรุ่น
อื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได้ โดยไม่ต้องดัดแปลง
แก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทางานในระบบเครือข่าย
(Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไป ยัง
อุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จานวนมาก
ได้ สามารถทางานได้พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking)
และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (Multi User) ปกติเครื่อง
ชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่ มีราคาตั้งแต่สิบล้าน
บาทไปจนถึงหลายร้อยล้านบาท ตัวอย่างของเครื่อง
เมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคาร
ที่เชื่อมต่อไปยังตู้ ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศ
นั่นเอง
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จาเป็นต้องใช้
คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มี
ขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่า เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะพิเศษในการทางาน
ร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิด
แข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงาน
และบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม
โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของ
หน่วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าใน
สมัยก่อนมาก อาจเท่ากับหรือมากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเป็น
ที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้านเรือน บริษัท
ที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจาหน่ายจนประสบความสาเร็จเป็ นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิ ล
คอมพิวเตอร์
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
- แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทางาน (Desktop Computer)
- แบบเคลื่อนย้ายได้(Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก
ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่
การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และนามาใช้กับงานที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จากที่
แต่เดิมบางหน่วยงานเอาคอมพิวเตอร์เ เพื่อมาช่วยสาหรับงานประมวลผลเล็กๆเท่านั้น เช่น งานการจัดพิมพ์
เอกสารหรืองานสานักงาน ซึ่งยังไม่ค่อยสนับสนุนไนเรื่องของการเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายมากนัก แต่
ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทั่วถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องซึ่งสามารถโอนถ่าย
ข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็วภายใต้ระบบการสื่อสารที่ดีขึ้น โดยเฉพาะบทบาทของเทคโนโลยีทางด้าน
อินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบันที่ทาให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่อยู่ต่างที่กัน สามารถทาได้อย่างง่ายดาย รูปลักษณ์ของไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไปรวมถึง
คอมพิวเตอร์มือถือที่เราอาจพบเห็นหรือหามาใช้งานได้ พอจะจาแนกออกได้เป็นหลายกลุ่ม ดังนี้
เดสก์ท็อป (Desktop)
เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะที่ใช้ในสานักงานหรือตามบ้าน
ทั่วไป นิยมใช้สาหรับการประมวลผล เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง
ท่องอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกม เป็นต้น ตัวเครื่องและจอภาพ
สามารถจัดวางเพื่อทางานบนโต๊ะอย่างสบายซึ่งปัจจุบันจะมีการ
ผลิตที่เน้นให้มีความสวยงาม น่าใช้มากยิ่งขึ้น และได้รับความ
นิยมในการใช้งานมากเนื่องจากมีราคาที่ถูกลง
โน้ตบุ๊ค (Notebook)
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คนั้นที่คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับเครื่องพีซี แต่จะมีขนาดเล็กและบาง
ลง มีน้าหนักเบาสามารถพกพาได้สะดวกมากขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ
โน้ตบุ๊คจะมีแบตเตอรี่ไว้ใช้สาหรับการทางานด้วย ที่สาคัญคือราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อน
นี้มาก แต่ก็ยังถือว่ามีราคาแพงกว่าเครื่องพีซีธรรมดาอยู่ดี
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อีกประเภทหนึ่งที่มีคุณสมบัติการทางานใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊คโดยทั่วไป
แต่คุณสมบัติก็แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดก็คือ ผู้ใช้สามารถป้ อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขียนบนจอภาพ
เหมือนกับการเขียนข้อความลงไปในสมุดโน้ต และเครื่องสามารถที่จะแปลข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นเก็บไว้ได้ ทั้งนี้ก็
ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของเครื่องและโปรแกรมในแต่ละรุ่นด้วย (ยังไม่รองรับภาษาไทย) และบางเครื่องยังสามารถ
พลิกหน้าจอได้2แบบ คือ เหมือนกับการใช้งานแบบโน้ตบุ๊คหรือเหมือนกับกระดานรองเขียนก็ได้ แท็บเล็ตพีซียัง
ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาข่อนข้างแพงเมื่อเทียบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน
อย่างเช่น โน้ตบุ๊คและเดสก์โน้ต
คอมพิวเตอร์เน๊ตบุ๊ค (Netbook Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีขนาดเล็กมาก บางมาก และ
น้าหนักเบามาก เหมาะแก่การพกพาไปใช้ในสถานที่ต่างๆ
สามารถใช้กับไฟฟ้ ามาตรฐานทั่วไปและแบตเตอรี่ ซึ่งจะใช้
พลังงานน้อย ทาให้สามารถใช้งานได้นาน เนื่องจาก CPU จะ
ใช้เป็นรุ่นที่ประหยัดพลังงานโดยเฉพาะ (Ultra Low Voltage)
เดสก์โน้ต (Desknote)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาอีกแบบหนึ่งที่คล้ายๆกับเครื่อง
โน้ตบุ๊ค แต่ต่างกันตรงที่เดสก์โน้ตนั้นไม่มีแบตเตอรี่ที่คอยจ่ายไฟให้
จึงต้องเสียบปลั๊กตลอดเวลาที่ใช้อีกทั้งราคาสูงกว่าโน้ตบุ๊ค เหมาะกับ
ผู้ใช้ที่มีสานักงานหลายๆที่ และเดินทางไปมาบ่อยๆ เครื่อง
คอมพิวเตอร์แบบนี้จะมีคุณสมบัติต่างๆเหมือนกับเครื่องโน้ตบุ๊ค
เพียงแต่ตัวเครื่องจะมีขนาดที่หนากว่าโน้ตบุ๊คเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)เป็นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีดความสามารถให้มีการทางานได้ไกล้เคียงกับพีดี
เอเป็นอย่างมากคุณสมบัติโดยรวมแล้วจะคล้ายๆกับพีดีเอ แต่สมาร์ทโฟนสามารถที่จะใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์ไปใน
ตัวได้อีกต่างหากรวมถึงความสามารถอื่นๆ เช่น กล้องถ่ายรูป การใช้งานอินเทอร์เน็ต เป็นต้น คุณสมบัติต่างๆเหล่านี้
ก็ขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการที่ใช้ด้วยเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดีเครื่องคอมพิวเตอร์แบบสมาร์ทโฟนก็ยังมีราคาแพงกว่า
เครื่องโทรศัพท์มือถือธรรมดาอยู่พอสมควร
พีดีเอโฟน (PDA Phone)
PDA Phone เป็นคืออุปกรณ์ที่รวมเอาความสามารถของ PDA อย่าง Palm
หรือ Pocket PC มาผสมผสานกับความสามารถทางด้านการติดต่อสื่อสาร
อย่างโทรศัพท์มือถือ ซึ่งจะทาให้ผู้ใช้สะดวกทั้งในด้านประโยชน์ใช้สอย,
การพกพา หรือแม้กระทั่งการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายได้ทุกที่ทุก
เวลา ในช่วงก่อนที่อุปกรณ์ประเภท PDA Phone จะถือกาเนิดขึ้นมานั้น
ผู้ใช้งานกลุ่มนี้จาเป็ นจะต้องใช้อุปกรณ์ทั้งสองตัวคือ PDA และ
โทรศัพท์มือถือร่วมกันเพื่อให้การทางานในเชิง Online นั้นเกิดขึ้นได้ แต่
เมื่อมี PDA Phone แล้ว ผู้ใช้ไม่จาเป็นจะต้องจับอุปกรณ์สองตัวมาเชื่อมต่อ
กันอีกต่อไป นอกจากนี้ PDA Phone รุ่นใหม่ๆที่กาลังเดินหน้าออกสู่ตลาด
อย่างไม่ขาดสายก็ยังรวมเอาความสามารถ ทางด้านการเชื่อมต่อแบบไร้สาย
อย่าง Bluetooth หรือ Wireless LAN (Wi-Fi) รวมเข้าไว้ในตัวเครื่องอีกด้วย
จึงทาให้การทางานสะดวกขึ้นอีกหลายอย่าง
ศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้เข้ามา
มีบทบาทในการสร้างปัญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมอง
ของมนุษย์ซึ่งในงานหลายๆด้านก็มีการประยุกต์เอาคอมพิวเตอร์
เข้าไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดี เช่น
-ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) เป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง
ของปัญญาประดิษฐ์ที่นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งาน
เพื่อเก็บรวบรวมความรู้ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้สาหรับงานใด
งานหนึ่งให้อยู่ตลอดไปในหน่วยงานโดยไม่ขึ้นกับบุคคล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสินใจ
ต่างๆ ได้อย่างแม่นยา เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์
เพื่อวินิจฉัยโรค
-ระบบหุ่นยนต์ (robotics) นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้
เพื่อให้ทางานร่วมกับเครื่องจักรและอุปกรณ์บังคับบางชนิด
เกิดเป็น “หุ่นยนต์” (robot) สามารถทางานทดแทนแรงงานคน
ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับลักษณะงานที่มีความเสี่ยง
ต่ออันตรายมากๆ อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัย
การทางานของโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อเลียนแบบ
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต และสามารถนามาใช้งานได้จริง เช่น
หุ่นยนต์สุนัข เป็นต้น
-ภาษาธรรมชาติ (natural language)การเข้าใจภาษาธรรมชาติ
ของมนุษย์เป็นการนาเอาความสามารถของของคอมพิวเตอร์เข้า
มาช่วยในการสื่อสารกับมนุษย์ให้สะดวกขึ้น ตัวอย่างที่พบเห็น
มากที่สุด เช่น การใช้ระบบรับรู้และจาเสียงพูดของมนุษย์หรือที่
เรียกว่า speech recognition ที่คอมพิวเตอร์สามารถแยกแยะเสียง
ได้ทาให้ลดระยะเวลาในการทางานของผู้ใช้ลงได้มากทีเดียว
คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ปัญหาและข้อจากัดของการใช้งาน
ปัญหา
- ความรู้ไม่ทันเทคโนโลยี ของผู้ใช้ที่ขาดทักษะบางประการ
- ปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่เพิ่มขึ้น
- การหลอกลวงข้อมูล
- การขโมยทรัพย์สินทางปัญญา
- การละเมิดความเป็นส่วนตัว
- การขาดการวางแผนที่ดีพอ ในเรื่องของการจัดการความเสี่ยง
- การนาเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน
- การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง
ข้อจากัด
- ไม่สามารถเข้ามาแทนที่มนุษย์ได้ทั้งหมด เพราะมนุษย์ต้องคอยเป็นผู้ควบคุมและสร้างคาสั่ง
ให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อยู่ดี
- แม้จะมีความสามารถในเรื่องของการคิดและตัดสินใจแทนมนุษย์ แต่เป็นเพียงบางเรื่องหรือ
บางกรณีเท่านั้น
- ได้รับข้อมูลอย่างไรก็ประมวลผลไปตามนั้น
- ความกลัวการเปลี่ยนแปลง
- โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ทั่วถึง
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการ
นาบทเรียน การผลิตสื่อการสอน การใช้ซีดีรอมสาหรับการเรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษาหรือ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความสนุกสนานบันเทิง เช่น เล่นเกม
ฟังเพลงชมภาพยนต์
3.ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก - ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM การโอนเงินด้วย
ระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยผ่านระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ การดูข้อมูลตลาดหุ้นการทากราฟแสดงยอดขาย
4.ด้านการสื่อสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต สื่อสาร
ถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์การคมนาคมทางเรือ เครื่องบิน
และรถไฟฟ้า
5.ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรูปการ์ตูนออกแบบ
งานและการสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพในคอมพิ
วเตอร์
6.ด้านการแพทย์ปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน
เช่น การเก็บประวัติคนไข้การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ในการตรวจ
เลือก ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การ
ควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์การตรวจคลื่อนสมองคลื่นหัวใจ เป็นต้น
7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคานวณสูตรทาง
วิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคานวณเกี่ยวกับระบบสุริยะ
จักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ
คอมพิวเตอร์กับการใช้งานภาครัฐ
คอมพิวเตอร์ช่วยในการทาทะเบียนราษฎร์ ช่วยในการนับคะแนนการเลือกตั้งและ
รวบรวมเพื่อประกาศผลการคิดภาษาอากร การบริหารทั่วไป การสวัสดิการต่างๆ การรวบรวม
ข้อมูลและสถิติ การบริหารงาน การทาสาธารณูปโภค ในการทหารอาจจะใช้ควบคุมการยิงจรวด
นาวิถี การยิงปืนใหญ่ การเดินเรือรบ เป็นต้น
คอมพิวเตอร์กับการใช้ทางด้านธุรกิจทั่วไป
ในการทาธุรกิจนั้นได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการทางาน เพื่อความสะดวก
รวดเร็วในการจัดการงานต่างๆ เช่น การจัดการงานด้านบุคลากร งานด้านบัญชีของ
บริษัท งานด้านการออกแบบ งานธุรการต่างๆ เป็นต้น เพื่อให้การจัดการธุรกิจของ
องค์กรนั้นๆ ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการทาธุรกิจที่มีการลงทุนน้อย แต่ผล
กาไรได้รับนั้นสูงกว่าในอดีตที่ยังไม่มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในองค์กร
คอมพิวเตอร์กับงานสายการบิน
สายการบินทั่วโลก นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการให้กับลูกค้าหรือผู้โดยสาร
เช่น การสารองที่นั่งตารางเที่ยวบิน นอกจากนี้ยังใช้ในการควบคุมการบินต่างๆ ได้อีก
ด้วย เช่น ระบบควบคุมการเจรจาทางอากาศที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดระเบียบ
ของเครื่องบินที่บินต่างเวลา ต่างความสูงหรือต่างทิศทางกันของเครื่องบิน และใช้
ควบคุมในหอบังคับการบินด้วย
คอมพิวเตอร์กับธุรกิจการนาเข้าและส่งออกสินค้า
ระบบเทรดเน็ต (Tradenet) ใช้เป็นสื่อสาหรับจัดส่งเอกสารเกี่ยวกับการนาเข้าและ
ส่งออก
การเก็บวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนไว้ใช้ในการผลิตเป็นจานวนมาก ๆ การบันทึกรายการ
วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนนี้กระทาด้วยมือซึ่งผิดพลาดเคลื่อนได้ง่าย หากเก็บไว้น้อยจนกว่าจะ
ได้ชิ้นส่วนนั้นมาใช่ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อการผลิตและการส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า
คอมพิวเตอร์ช่วยแก่ปัญหานี้ได้โดยการบันทึกเก็บข้อมูลชิ้นส่วนและวัตถุดิบจานวนมาก
ได้อย่างถูกต้องสามารถแก้ไขและตรวจสอบข้อมูลของชิ้นส่วนและวัตถุดิบได้อย่าง
รวดเร็ว
คอมพิวเตอร์กับธุรกิจธนาคาร
การนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานธนาคารนั้น ถือว่ามีบทบาทเป็นอย่างมาก เพราะใน
ปัจจุบันธนาคารต่างๆ มีกรแข่งขันค่อนข้างสูง ในการการบริการต่างๆ เพื่อให้ลูกค้า
ได้รับความพึงพอใจอย่างสูงสุด ดังนั้นในแต่ละธนาคารจึงต้องมีการพัฒนางานด้าน
ต่างๆ ให้ทันสมัยพอที่จะรองรับความต้องการของลูกค้าได้อย่างเต็มที่ ทาให้เกิดความ
สะดวกรวดเร็วและถูกต้องในด้านข้อมูลต่างๆ เช่น การฝาก – ถอนเงิน มีการนาเอา
ATM (Automatic Teller Machine) หรือระบบการบริหารการเงินสดอัตโนมัติมาใช้
เหล่านี้ เป็นต้น
คอมพิวเตอร์กับงานท้างด้านการศึกษา
คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในสถานศึกษาอย่างแพร่หลาย อาจแบ่งออกเป็นการใช้
งานเพื่อใช้ในการจัดการการศึกษา และใช้ในการเรียนการสอน
คอมพิวเตอร์กับธุรกิจกับงานทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
การใช้คอมพิวเตอร์ในงานแพทย์นั้น มีหลายด้านที่จาเป็นต้องนาเข้ามาใช้งานแต่ละ
ฝ่าย เช่น การนาเข้ามาใช้ในงานธุรการ ใช้บันทึกและค้นหาทะเบียนประวัติผู้ป่วย ตาราง
ในการนัดผู้ป่วย การรับจ่ายยา และข้อมูลทางด้านบัญชีและการเงิน นอกจากนี้
คอมพิวเตอร์ยังสามารถช่วยในการตรวจโรค เช่น การตรวจคลื่นสมอง บันทึกการเต้น
ของหัวใน การเอกซเรย์ด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยในเรื่องข้อมูลในการรักษาโรคมะเร็ง
ข้อมูลประกอบการผ่าตัด การสั่งยา เป็นต้น ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้จะสามารถเชื่อมโยงถึงกัน
ทาให้มีความสะดวกและรวดเร็วในการรักษาผู้ป่วย นอกจากนั้น ยังใช้คอมพิวเตอร์มา
ช่วยในการตรวจรักษาผู้ป่วย ในรูปแบบของหุ่นยนต์(Robot) มาช่วยในการผ่าตัดสมอง
ซึ่งหุ่นยนต์สามารถคานวณและเคลื่อนไหวเพื่อผ่าตัดสมองหรือกะโหลกศีรษะ การนา
หุ่นยนต์มาช่วยในการทาศัลยกรรม ให้มีความปลอดภัยและสะดวกรวดเร็วขึ้น การใช้
คอมพิวเตอร์ในการตรวจสุขภาพร่างกาย เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันนี้เครื่องมือแพทย์
สมัยใหม่ล้วนแต่ควบคุมด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์
แบ่งตามลักษณะการใช้งานได้4 ประเภทด้วยกันคือ
1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)
คอมพิวเตอร์ประเภทซูเปอร์คอมพิวเตอร์ นั้น ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็ว
มาก ๆและก็มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในแต่ละประเภท เมื่อมีประสิทธิภาพสูง เรื่อง
ของขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภท Supercomputer ก็มีขนาดใหญ่เช่นกัน แล้ว
เรื่องราคาก็สูงตามไปเช่นกันอีกด้วย การใช้งานของประเภท SuperComputer ส่วน
ใหญ่จะใช้กับ งานทางด้านวิทยาศาสตร์และด้านวิศวกรรมศาสตร์ เช่น การพยากรณ์
อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อม
เป็นต้น
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
ประเภท เมนเฟรมคอมพิวเตอร์นี้ ความสามารถจะน้อยกว่าประเภท ซูเปอร์
คอมพิวเตอร์มากพอสมควร แต่ยังมีความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่า
มินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภท เมนเฟรมนนี้
ส่วนใหญ่จะใช้งานด้าน ธนาคาร ซึ่งคอมพิวเตอร์ประเภทนี้สามารถให้บริการ
ให้บริการผู้ใช้จานวนหลายคนพร้อม ๆ ได้เช่น เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์
ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบ
อัตโนมัติ (automatic teller machine) เป็น ซึ่งเครื่องเมนเฟรมจะเหมือนเครื่องเซฟ
เวอร์ ที่ทาหน้าที่ให้บริการอัพตโนมัติของธนาคารนั้นเอง
3. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)
เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทมินิคอมพิวเตอร์ นั้นก็จะคล้ายๆ
กับ ประเภท เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่ด้านความสามารถ
ในการประมวลผลนั้น จะไม่สามารถเทียบเท่ากับ ประเภท
เมนเฟรมได้แต่ก็ยัง สามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคน
พร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้
ในจานวนที่เทียบเท่าเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
ประเภทนี้มักจะใช้กับ องค์กรขนาด กลาง จนถึง ขนาดเล็ก
หรือ อาจจะใช้เป็นหน่วยย่อยๆขององค์กรใหญ่ๆ ก็ได้
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี
(personal computer หรือ PC )
ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop
computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น อาทิเช่น notebook ,
netbook และ Tablet เมื่อปีพ.ศ. 2518 เริมมีการนา
คอมพิวเตอร์ประเภทนี้เข้ามาใช้และได้รับการนิยมมาก
จนถึงปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ จะมีขนาดเล็ก เหมาะ
สาหรับการใช้งาน ประเภทส่วนบุคคลทั่วๆไป เช่น ดูหนัง
ฟังเพลง เล่นเกมส์ ทางานเอกสาร และอื่นๆอีกตามสเปก
ของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ราคาของคอมพิวเตอร์
ประเภทนี้ก็จะไม่แพงมากนัก ก็ยังคงขึ้นอยู่กับสเปกของแต่
ละเครื่องไป

More Related Content

What's hot

โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
Beerza Kub
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
dollar onohano
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
Wangwiset School
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Arm'Physics Sonsern-Srichai
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
peter dontoom
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ThanThai Sangwong
 

What's hot (15)

โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
it-01-25
it-01-25it-01-25
it-01-25
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-word3-46
เทคโนโลยีสารสนเทศ-word3-46เทคโนโลยีสารสนเทศ-word3-46
เทคโนโลยีสารสนเทศ-word3-46
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 

Viewers also liked (7)

Alimentos
AlimentosAlimentos
Alimentos
 
框英语 (13)
框英语 (13)框英语 (13)
框英语 (13)
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
Evaluacion sexto d
Evaluacion sexto  dEvaluacion sexto  d
Evaluacion sexto d
 
Anuncio 2
Anuncio 2Anuncio 2
Anuncio 2
 
Power Poin Sistem Imun
Power Poin Sistem ImunPower Poin Sistem Imun
Power Poin Sistem Imun
 
认知与语言
认知与语言认知与语言
认知与语言
 

Similar to บทที่ 1

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
okbeer
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
Sakonwan947
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
Sakonwan947
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
Sakonwan947
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
Sakonwan947
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
Sakonwan947
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
kanit087
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
PongPang
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
WinNie Sjr
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
WinNie Sjr
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
peter dontoom
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
pui3327
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
Nantawoot Imjit
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 

Similar to บทที่ 1 (20)

ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

More from ninjung (6)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
test upload
test uploadtest upload
test upload
 

บทที่ 1

  • 2. ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 1. ทางานได้รวดเร็ว คอมพิวเตอร์มีการประมวลผลรวดเร็วกว่ามนุษย์หลาย เท่า จึงนิยมนามาใช้คิดคานวณเพื่อลดระยะเวลาการทางาน ทาให้การทางาน ต่างๆ รวดเร็วขึ้น 2. ทางานได้ถูกต้องแม่นยา การประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีความผิดพลาด ต่า หรือแทบจะไม่มีความผิดพลาดเลย จุดเด่นนี้ คอมพิวเตอร์จึงถูกนามาใช้ใน การคานวณต่างๆ เช่น ข้อมูลด้านการเงิน บัญชี ฐานข้อมูลวิศวกรรม การ ควบคุมอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ต้องการความละเอียด แม่นยาสูง เช่น การ ผ่าตัดดวงตา การผ่าตัดสมอง 3. ทางานได้อย่างต่อเนื่อง จุดเด่นนี้ ทาให้คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้ในงา นอุต สาหกรรม ซึ่งต้องการทางานอย่างต่อเนื่อง ไม่มีการหยุดพัก เพื่อให้ได้ผลผลิต ตามต้องการ 4. ทางานที่มีความเสี่ยง ลักษณะงานที่มีความเสี่ยง อันตราย สกปรก งานที่ เป็นภัยต่อสุขภาพ ถึงมักใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานแทนมนุษย์ เช่น เก็บกู้ระเบิด เครื่องบินเล็กสอดแนม 5. ทางานที่ซับซ้อนหรือยุ่งยากได้ คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้งานในลักษณะงาน ที่ซับซ้อน แทนมนุษย์เพื่อเหตุผลของการลดต้นทุนในการจ้างงาน ทาให้การ ทางานดังกล่าวเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ลดต้นทุนการผลิตได้ 6. ทางานได้อเนกประสงค์ คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายอัน เนื่องมาจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สนองความต้องการของผู้ใช้งาน 7. ทางานระยะไกลได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่าย ได้ทั่วโลก ทาให้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดของโลกใบนี้ ก็สามารถสั่งงานผ่านคอมพิวเต อร์ได้ 8. ทางานได้อย่างตรงไปตรงมา เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีการ ประมวลผลที่แน่นอน ทางานตามโปรแกรมที่ตั้งไว้เท่านั้น คอมพิวเตอร์จึงถูกนามาใช้ในการตัดสินใจแทนมนุษย์ ] คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
  • 3. คุณลักษณะเด่นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน 1. ความเร็ว 2. ความถูกต้อง แม่นยา 3. ความน่าเชื่อถือ 4. การจัดเก็บข้อมูล 5. การติดต่อสื่อสาร 6. ความเป็นอัตโนมัติ วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็นคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์นั้นมีวิวัฒนาการที่รวดเร็วมาก ตั้งแ ต่ยุคสมัยดึกดาบรรพ์เป็นต้นมา มนุษย์เรามีความพยายาม ที่จะคิดค้นเครื่องมือให้มาช่วยในการคานวณและการนับ ตั้งแต่เริ่มต้นใช้นิ้วมือนับ จนมาใช้ก้อนกรวด หิน มนุษย์จึงคิดค้นวิธีการที่ง่ายกว่านี้ จนกลายมาเป็นกลไกที่ใช้ในการคานวณ จนวิวัฒนาการมาเป็น คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 4 ยุค 1.ยุคก่อนเครื่องจักรกล 2.ยุคเครื่องจักรกล 3.ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4. ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
  • 4. วิวัฒนาการของเครื่องมือช่วยนับและการคานวณในยุคก่อนเครื่องจักรกล ( Premechanical) เมื่อวิวัฒนาการทางสังคมของมนุษย์มีความเจริญมากขึ้น การใช้นิ้วมือหรือก้อนหินมาช่วยนับนั้นมี ข้อจากัดอยู่เช่นกัน เนื่องจากไม่สามารถนับหรือคานวณหาค่าตัวเลขที่มาก ๆ ได้ มนุษย์จึงได้มีความพยายาม คิดค้นเครื่องมือช่วยนับที่ดีกว่าเดิมด้วยการสร้างระ บบตัวเลขขึ้ นมา ซึ่งพอจะยกตัวอย่างเครื่องมือในยุคนี้ ได้แก่ แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis Tablet) ลูกคิด ( Abacus) แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s bone) ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule) วิวัฒนาการของเครื่องมือคานวณในยุคเครื่องจักรกล (Mechanical) เมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการการผลิตเครื่องไม้เครื่องมือต่าง ๆ ที่ดีขึ้น จึงก่อให้เกิดแนวคิดการสร้างเครื่องจักรกล โดยอาศัยการทางานของฟันเฟืองเข้ามาช่วยอานวยความสะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการคานวณที่ ยุ่งยากและซับซ้อนมาก ๆ ซึ่งขอยกตัวอย่างเครื่องที่อยู่ในยุคสมัยเครื่องจักรกลได้ดังนี้ นาฬิกาคานวณ ( Calculating Clock) เครื่องคานวณของปาสคาล ( Pascaline Calculator) เครื่องคานวณของไลบ์นิช ( Leibniz Wheel) เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด ( Jacquard’s loom) เครื่อง Difference Engine เครื่อง Analytical Engine
  • 5. วิวัฒนาการของเครื่องมือในการคานวณยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( Electromechanical) ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical)ในยุคนี้ตัวเครื่องจะใช้เครื่องจักรกลปบ กับระบบกระแสไฟฟ้าในการทางาน มีการประมวลผลโดย อาศัยวงจรที่ประกอบด้วยหลอดสุญญากาศ ( Vacuum tube) แต่ก็ทาให้เปลืองต้นทุนในการบารุงรักษามากพอสมควร เพราะหลอดสุญญากาศนี้มีอายุการ ใช้งานที่สั้นและต้องมีการเปลี่ยนหลอดอยู่บ่อย ๆ คอมพิวเตอร์ในยุคนี้แรก ๆ ได้มีการนาเอาไปใช้ในการ ทางานของภาครัฐและรวมถึงภารกิจทางด้านการทหาร นอกจากนั้นก็จะอยู่ในแวดวงของการศึกษาใน ระดับสูง ตัวอย่างของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ มีดังนี้ เครื่อง Tabulating Machine เครื่อง ABC (Atanasoff – Berry – Computer) เครื่อง Colossus เครื่อง Mark l หรือ IBM Automatic Sequence Controlled Calculator วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ในยุคอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Machine) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้มีการประดิษฐ์ให้สามารถคานวณและหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็วมากยิ่ง มี การนาเอาไปใช้ประโยชน์อย่างมากมายทั้งในแวดวงการทหารและการศึกษาระดับสูงทั่วไป จากนั้นจึงได้ พัฒนาเข้าสู่การใช้งานในเชิงพาณิชย์มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างของคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator ) เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer) เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic Computer
  • 6. เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ ( Transistor) เนื่องจากหลอดสูญญากาศมีอายุการใช้งานค่อนข้างสั้นและมีขนาดใหญ่เกินไป จึงได้มีการพัฒนา อุปกรณ์ที่เรียกว่า “ ทรานซิสเตอร์ (Transistor)” ขึ้นเพื่อใช้งานแทน โดยนักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการ เบล ( Bell laboratory) แห่งสหรัฐอเมริกา 3 คน ประกอบด้วย วิลเลียม ช็อคเลย์ (William Shockley) จอห์น บาร์ดีน (John Bardeen) และวอลเตอร์ แบรทเทน (Walter Brattain) ซึ่งอุปกรณ์นี้มีขนาดเล็กกว่าหลอด สุญญากาศมาก นอกจากนั้นยังใช้กระแสไฟฟ้าที่น้อยกว่า จึงทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้นในยุคนี้มี ขนาดที่เล็กและมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้นกว่าเดิม แต่ในช่วงแรก ๆ การใช้งานยังไม่ค่อยแพร่หลายมาก นัก จนกระทั่ง 10 ปีให้หลังจึงได้มีการพัฒนาและเริ่มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยมีการประดิษฐ์อุปกรณ์ ประเภทอื่น ๆ ตามมาอีก เช่น จานแม่เหล็ก (magnetic disk) สาหรับเก็บและบันทึกข้อมูล คีย์บอร์ดสาหรับ การป้ อนข้อมูลเข้าเครื่องโดยตรงแทนบัตรเจาะรู เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นในยุคนี้ ได้แก่ IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 เป็นต้น
  • 7. ทีมงานพัฒนาทรานซิสเตอร์ ( transistor) แห่งห้องปฏิบัติการเบล ในยุคนี้เองที่ได้มีการนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย ภาควิชาสถิติ คณะพณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับมอบเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่มากในยุคนั้นชื่อว่า IBM 1620 จากบริษัทผู้ผลิต มูลค่าประมาณ 2 ล้านบาทเศษ เมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อ นามาใช้ประโยชน์สาห รับงานด้านการศึกษา จึงถือได้ว่า “IBM 1620” เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่นาเข้า มาใช้ในประเทศไทย (ปัจจุบันหมดอายุการใช้งานไปนานแล้ว) ต่อจากนั้นจึงได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เพื่อช่วยงานประมวลผลด้านต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น เช่น สานักงานสถิติแห่งชาติได้ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานอีกเป็นเครื่องที่สอง มีชื่อว่า IBM 1401 ซึ่งมี มูลค่าเกือบ 8 ล้านบาท เพื่อใช้งานด้านสามะโนประชากร และก็ได้แพร่ขยายการใช้งานไปยังหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งของรัฐบาลและเอกชนในเวลาต่อมา เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม (IC) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม (IC) เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมาได้รับการพัฒนาให้มีขีด ความสามารถที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ แต่การผลิตเครื่องโดยใช้ทรานซิสเตอร์แยกเป็นตัว ๆ ทาให้ต้นทุนในการผลิตสูง มาก ต่อมาจึงได้มีการเปลี่ยนมาใช้แผงวงจรรวมหรือที่เรียกว่า IC (Integrated Curcuit) ที่ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์นับพันตัวรวมกันขึ้นในปี ค.ศ.1965
  • 8. แผงวงจรรวมหรือ IC (Integrated curcuit) IC แต่ละตัวสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากถึงกว่า 1,000 ตัว ทาให้ลดต้นทุนในการผลิตเครื่อง คอมพิวเตอร์ลงไปได้มาก อีทั้งยัง คานวณงานที่ซับซ้อนขึ้นได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้มีการผลิตเครื่องเพื่อ จาหน่ายอย่างแพร่หลาย โดยตัวเครื่องมีขนาดที่เล็กลง หรือที่นิยมเรียกว่า “ มินิคอมพิวเตอร์” (Minicomputer) ซึ่งใช้กระแสไฟฟ้าน้อยกว่าเดิม ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ ได้แก่ IBM 360, PDP1, CDC 3300, BURROUGH 7500 เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI และ LVSI) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI และ LVSI) ในยุคนี้คือปลายศตวรรษ 1970 มี การนาไมโครโปรเซสเซอร์ ( microprocessor) ซึ่งเป็นวงจรรวมขนาดใหญ่ที่ผลิตโดยอาศัยเทคโนโลยีที่ เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) เข้ามาแทนแผงวงจรรวม หรือ IC แบบเดิม เนื่องจากสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่า โดยบรรจุวงจรทรานซิสเตอร์นับหมื่น แสน หรือล้านตัว ลงในชิ้นสารซิลิกอน (silicon) เล็ก ๆ ไมโครโปรเซสเซอร์นี้คิดค้นขึ้นโดยบริษัทอินเทล (Intel) ซึ่งยังเป็นผู้ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ชั้นนาในปัจจุบันและทาให้ เกิดการผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก สาหรับการใช้งานทั่วไปที่เรียกว่า “ ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)” ซึ่งได้รับความนิยมแพร่หลายไป ทั่วโลกในเวลาต่อมา
  • 9. VLSI (Very Large Scale Integrated) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network) การใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยามอย่าง แพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเท ศไทยด้วย มีการออกแบบและพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็ก ลงพร้อม ๆ กับประสิทธิภาพในการใช้งานที่มุ่งเน้นให้เกิดการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย (Network) มากยิ่งขึ้น บริษัทหรือองค์กรธุรกิจได้นาเอาไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวมาเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันใน บริเวณใกล้หรือในสานักงานเดียวกัน เรียกว่า “ เครือข่ายเฉพาะที่” หรือ LAN (Local Area Network) จากนั้น ก็ได้พัฒนาให้ การเชื่อมต่อเข้าหากันได้มากขึ้นโดยกระจายบริเวณออกไปในระยะที่กว้างกว่าเดิม เรียกว่า “ เครือข่าย ระยะไกล” หรือ WAN (Wide Area Network) และในที่สุดก็พัฒนาไปสู่การเชื่อมต่อกันโดยไม่จากัด ระยะทางไปยังผู้ใช้งานทั่วโลกที่เรียกว่า “ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต” (Internet) ในที่สุด
  • 10. การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน สาหรับประเทศไทยเองโดยเฉพาะในปี พ.ศ.2546 ได้รับ การส่งเสริมจากรัฐบาลให้คนไทยมีคอมพิวเตอร์ใช้กัน แทบทุกครัวเรือน หรือที่เรียกว่า “ โครงการคอมพิวเตอร์ เอื้ออาทร” ส่งผลให้จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปใน ประเทศสูงขึ้นอย่างมาก ซึ่งแต่เดิมการใช้งานคอมพิวเตอร์ มักจะอยู่ในวงแคบ ๆ และจากัดเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้สูงเพียงเท่านั้น เมื่อได้รับการส่ งเสริมจาก ภาครัฐ ประกอบกับราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ในตลาดที่ถูกลงมากอย่างเห็นได้ชัด กลุ่มผู้ใช้ คอมพิวเตอร์จึงได้แผ่ขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้นไปสู่กลุ่มผู้มีรายได้น้อยและปานกลางด้วย นอกจากนี้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันยังไม่ได้จากัดการใช้งานอยู่เพียงสถานที่ที่ใด สถานที่หนึ่งอีกต่อไป เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า เครือข่ายไร้สาย(Wirel ess LAN และ Wireless network ) ได้เกิดขึ้นแล้วในยุคนี้และได้ติดตามผลการแข่งขันกีฬา รับชมรายการ โทรทัศน์ เป็นต้น โดยอาศัยการทางานผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาที่มีขนาดเล็กลงนั่นเอง
  • 11. 1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มี ความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้าน วิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัย ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามขนาดและความสามารถของเครื่อง จาแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการ เก็บข้อมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้ 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจาและ ความเร็วน้อยลงสามารถใช้ข้อมูลและคาสั่งของเครื่องรุ่น อื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได้ โดยไม่ต้องดัดแปลง แก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทางานในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไป ยัง อุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จานวนมาก ได้ สามารถทางานได้พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (Multi User) ปกติเครื่อง ชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่ มีราคาตั้งแต่สิบล้าน บาทไปจนถึงหลายร้อยล้านบาท ตัวอย่างของเครื่อง เมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคาร ที่เชื่อมต่อไปยังตู้ ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศ นั่นเอง 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จาเป็นต้องใช้ คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มี ขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่า เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะพิเศษในการทางาน ร่วมกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจุสูงชนิด แข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงาน และบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
  • 12. 4.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของ หน่วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าใน สมัยก่อนมาก อาจเท่ากับหรือมากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเป็น ที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้านเรือน บริษัท ที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจาหน่ายจนประสบความสาเร็จเป็ นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิ ล คอมพิวเตอร์ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ - แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทางาน (Desktop Computer) - แบบเคลื่อนย้ายได้(Portable Computer) สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
  • 13. คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และนามาใช้กับงานที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จากที่ แต่เดิมบางหน่วยงานเอาคอมพิวเตอร์เ เพื่อมาช่วยสาหรับงานประมวลผลเล็กๆเท่านั้น เช่น งานการจัดพิมพ์ เอกสารหรืองานสานักงาน ซึ่งยังไม่ค่อยสนับสนุนไนเรื่องของการเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายมากนัก แต่ ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทั่วถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องซึ่งสามารถโอนถ่าย ข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็วภายใต้ระบบการสื่อสารที่ดีขึ้น โดยเฉพาะบทบาทของเทคโนโลยีทางด้าน อินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบันที่ทาให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่อยู่ต่างที่กัน สามารถทาได้อย่างง่ายดาย รูปลักษณ์ของไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไปรวมถึง คอมพิวเตอร์มือถือที่เราอาจพบเห็นหรือหามาใช้งานได้ พอจะจาแนกออกได้เป็นหลายกลุ่ม ดังนี้ เดสก์ท็อป (Desktop) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะที่ใช้ในสานักงานหรือตามบ้าน ทั่วไป นิยมใช้สาหรับการประมวลผล เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ท่องอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกม เป็นต้น ตัวเครื่องและจอภาพ สามารถจัดวางเพื่อทางานบนโต๊ะอย่างสบายซึ่งปัจจุบันจะมีการ ผลิตที่เน้นให้มีความสวยงาม น่าใช้มากยิ่งขึ้น และได้รับความ นิยมในการใช้งานมากเนื่องจากมีราคาที่ถูกลง โน้ตบุ๊ค (Notebook) คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คนั้นที่คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับเครื่องพีซี แต่จะมีขนาดเล็กและบาง ลง มีน้าหนักเบาสามารถพกพาได้สะดวกมากขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ โน้ตบุ๊คจะมีแบตเตอรี่ไว้ใช้สาหรับการทางานด้วย ที่สาคัญคือราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อน นี้มาก แต่ก็ยังถือว่ามีราคาแพงกว่าเครื่องพีซีธรรมดาอยู่ดี
  • 14. แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อีกประเภทหนึ่งที่มีคุณสมบัติการทางานใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊คโดยทั่วไป แต่คุณสมบัติก็แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดก็คือ ผู้ใช้สามารถป้ อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขียนบนจอภาพ เหมือนกับการเขียนข้อความลงไปในสมุดโน้ต และเครื่องสามารถที่จะแปลข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นเก็บไว้ได้ ทั้งนี้ก็ ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของเครื่องและโปรแกรมในแต่ละรุ่นด้วย (ยังไม่รองรับภาษาไทย) และบางเครื่องยังสามารถ พลิกหน้าจอได้2แบบ คือ เหมือนกับการใช้งานแบบโน้ตบุ๊คหรือเหมือนกับกระดานรองเขียนก็ได้ แท็บเล็ตพีซียัง ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาข่อนข้างแพงเมื่อเทียบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน อย่างเช่น โน้ตบุ๊คและเดสก์โน้ต คอมพิวเตอร์เน๊ตบุ๊ค (Netbook Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีขนาดเล็กมาก บางมาก และ น้าหนักเบามาก เหมาะแก่การพกพาไปใช้ในสถานที่ต่างๆ สามารถใช้กับไฟฟ้ ามาตรฐานทั่วไปและแบตเตอรี่ ซึ่งจะใช้ พลังงานน้อย ทาให้สามารถใช้งานได้นาน เนื่องจาก CPU จะ ใช้เป็นรุ่นที่ประหยัดพลังงานโดยเฉพาะ (Ultra Low Voltage) เดสก์โน้ต (Desknote) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาอีกแบบหนึ่งที่คล้ายๆกับเครื่อง โน้ตบุ๊ค แต่ต่างกันตรงที่เดสก์โน้ตนั้นไม่มีแบตเตอรี่ที่คอยจ่ายไฟให้ จึงต้องเสียบปลั๊กตลอดเวลาที่ใช้อีกทั้งราคาสูงกว่าโน้ตบุ๊ค เหมาะกับ ผู้ใช้ที่มีสานักงานหลายๆที่ และเดินทางไปมาบ่อยๆ เครื่อง คอมพิวเตอร์แบบนี้จะมีคุณสมบัติต่างๆเหมือนกับเครื่องโน้ตบุ๊ค เพียงแต่ตัวเครื่องจะมีขนาดที่หนากว่าโน้ตบุ๊คเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
  • 15. สมาร์ทโฟน (Smart Phone)เป็นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีดความสามารถให้มีการทางานได้ไกล้เคียงกับพีดี เอเป็นอย่างมากคุณสมบัติโดยรวมแล้วจะคล้ายๆกับพีดีเอ แต่สมาร์ทโฟนสามารถที่จะใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์ไปใน ตัวได้อีกต่างหากรวมถึงความสามารถอื่นๆ เช่น กล้องถ่ายรูป การใช้งานอินเทอร์เน็ต เป็นต้น คุณสมบัติต่างๆเหล่านี้ ก็ขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการที่ใช้ด้วยเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดีเครื่องคอมพิวเตอร์แบบสมาร์ทโฟนก็ยังมีราคาแพงกว่า เครื่องโทรศัพท์มือถือธรรมดาอยู่พอสมควร พีดีเอโฟน (PDA Phone) PDA Phone เป็นคืออุปกรณ์ที่รวมเอาความสามารถของ PDA อย่าง Palm หรือ Pocket PC มาผสมผสานกับความสามารถทางด้านการติดต่อสื่อสาร อย่างโทรศัพท์มือถือ ซึ่งจะทาให้ผู้ใช้สะดวกทั้งในด้านประโยชน์ใช้สอย, การพกพา หรือแม้กระทั่งการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายได้ทุกที่ทุก เวลา ในช่วงก่อนที่อุปกรณ์ประเภท PDA Phone จะถือกาเนิดขึ้นมานั้น ผู้ใช้งานกลุ่มนี้จาเป็ นจะต้องใช้อุปกรณ์ทั้งสองตัวคือ PDA และ โทรศัพท์มือถือร่วมกันเพื่อให้การทางานในเชิง Online นั้นเกิดขึ้นได้ แต่ เมื่อมี PDA Phone แล้ว ผู้ใช้ไม่จาเป็นจะต้องจับอุปกรณ์สองตัวมาเชื่อมต่อ กันอีกต่อไป นอกจากนี้ PDA Phone รุ่นใหม่ๆที่กาลังเดินหน้าออกสู่ตลาด อย่างไม่ขาดสายก็ยังรวมเอาความสามารถ ทางด้านการเชื่อมต่อแบบไร้สาย อย่าง Bluetooth หรือ Wireless LAN (Wi-Fi) รวมเข้าไว้ในตัวเครื่องอีกด้วย จึงทาให้การทางานสะดวกขึ้นอีกหลายอย่าง
  • 16. ศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้เข้ามา มีบทบาทในการสร้างปัญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมอง ของมนุษย์ซึ่งในงานหลายๆด้านก็มีการประยุกต์เอาคอมพิวเตอร์ เข้าไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดี เช่น -ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) เป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง ของปัญญาประดิษฐ์ที่นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งาน เพื่อเก็บรวบรวมความรู้ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้สาหรับงานใด งานหนึ่งให้อยู่ตลอดไปในหน่วยงานโดยไม่ขึ้นกับบุคคล ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสินใจ ต่างๆ ได้อย่างแม่นยา เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ เพื่อวินิจฉัยโรค -ระบบหุ่นยนต์ (robotics) นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้ทางานร่วมกับเครื่องจักรและอุปกรณ์บังคับบางชนิด เกิดเป็น “หุ่นยนต์” (robot) สามารถทางานทดแทนแรงงานคน ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับลักษณะงานที่มีความเสี่ยง ต่ออันตรายมากๆ อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัย การทางานของโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อเลียนแบบ พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต และสามารถนามาใช้งานได้จริง เช่น หุ่นยนต์สุนัข เป็นต้น -ภาษาธรรมชาติ (natural language)การเข้าใจภาษาธรรมชาติ ของมนุษย์เป็นการนาเอาความสามารถของของคอมพิวเตอร์เข้า มาช่วยในการสื่อสารกับมนุษย์ให้สะดวกขึ้น ตัวอย่างที่พบเห็น มากที่สุด เช่น การใช้ระบบรับรู้และจาเสียงพูดของมนุษย์หรือที่ เรียกว่า speech recognition ที่คอมพิวเตอร์สามารถแยกแยะเสียง ได้ทาให้ลดระยะเวลาในการทางานของผู้ใช้ลงได้มากทีเดียว คอมพิวเตอร์ในอนาคต
  • 17. ปัญหาและข้อจากัดของการใช้งาน ปัญหา - ความรู้ไม่ทันเทคโนโลยี ของผู้ใช้ที่ขาดทักษะบางประการ - ปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่เพิ่มขึ้น - การหลอกลวงข้อมูล - การขโมยทรัพย์สินทางปัญญา - การละเมิดความเป็นส่วนตัว - การขาดการวางแผนที่ดีพอ ในเรื่องของการจัดการความเสี่ยง - การนาเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน - การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง ข้อจากัด - ไม่สามารถเข้ามาแทนที่มนุษย์ได้ทั้งหมด เพราะมนุษย์ต้องคอยเป็นผู้ควบคุมและสร้างคาสั่ง ให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อยู่ดี - แม้จะมีความสามารถในเรื่องของการคิดและตัดสินใจแทนมนุษย์ แต่เป็นเพียงบางเรื่องหรือ บางกรณีเท่านั้น - ได้รับข้อมูลอย่างไรก็ประมวลผลไปตามนั้น - ความกลัวการเปลี่ยนแปลง - โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ทั่วถึง
  • 18. ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการ นาบทเรียน การผลิตสื่อการสอน การใช้ซีดีรอมสาหรับการเรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษาหรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความสนุกสนานบันเทิง เช่น เล่นเกม ฟังเพลงชมภาพยนต์ 3.ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก - ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM การโอนเงินด้วย ระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ การดูข้อมูลตลาดหุ้นการทากราฟแสดงยอดขาย 4.ด้านการสื่อสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต สื่อสาร ถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์การคมนาคมทางเรือ เครื่องบิน และรถไฟฟ้า
  • 19. 5.ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรูปการ์ตูนออกแบบ งานและการสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพในคอมพิ วเตอร์ 6.ด้านการแพทย์ปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน เช่น การเก็บประวัติคนไข้การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ในการตรวจ เลือก ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การ ควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์การตรวจคลื่อนสมองคลื่นหัวใจ เป็นต้น 7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคานวณสูตรทาง วิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคานวณเกี่ยวกับระบบสุริยะ จักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ คอมพิวเตอร์กับการใช้งานภาครัฐ คอมพิวเตอร์ช่วยในการทาทะเบียนราษฎร์ ช่วยในการนับคะแนนการเลือกตั้งและ รวบรวมเพื่อประกาศผลการคิดภาษาอากร การบริหารทั่วไป การสวัสดิการต่างๆ การรวบรวม ข้อมูลและสถิติ การบริหารงาน การทาสาธารณูปโภค ในการทหารอาจจะใช้ควบคุมการยิงจรวด นาวิถี การยิงปืนใหญ่ การเดินเรือรบ เป็นต้น
  • 20. คอมพิวเตอร์กับการใช้ทางด้านธุรกิจทั่วไป ในการทาธุรกิจนั้นได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการทางาน เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการจัดการงานต่างๆ เช่น การจัดการงานด้านบุคลากร งานด้านบัญชีของ บริษัท งานด้านการออกแบบ งานธุรการต่างๆ เป็นต้น เพื่อให้การจัดการธุรกิจของ องค์กรนั้นๆ ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการทาธุรกิจที่มีการลงทุนน้อย แต่ผล กาไรได้รับนั้นสูงกว่าในอดีตที่ยังไม่มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในองค์กร คอมพิวเตอร์กับงานสายการบิน สายการบินทั่วโลก นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการให้กับลูกค้าหรือผู้โดยสาร เช่น การสารองที่นั่งตารางเที่ยวบิน นอกจากนี้ยังใช้ในการควบคุมการบินต่างๆ ได้อีก ด้วย เช่น ระบบควบคุมการเจรจาทางอากาศที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดระเบียบ ของเครื่องบินที่บินต่างเวลา ต่างความสูงหรือต่างทิศทางกันของเครื่องบิน และใช้ ควบคุมในหอบังคับการบินด้วย
  • 21. คอมพิวเตอร์กับธุรกิจการนาเข้าและส่งออกสินค้า ระบบเทรดเน็ต (Tradenet) ใช้เป็นสื่อสาหรับจัดส่งเอกสารเกี่ยวกับการนาเข้าและ ส่งออก การเก็บวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนไว้ใช้ในการผลิตเป็นจานวนมาก ๆ การบันทึกรายการ วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนนี้กระทาด้วยมือซึ่งผิดพลาดเคลื่อนได้ง่าย หากเก็บไว้น้อยจนกว่าจะ ได้ชิ้นส่วนนั้นมาใช่ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อการผลิตและการส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า คอมพิวเตอร์ช่วยแก่ปัญหานี้ได้โดยการบันทึกเก็บข้อมูลชิ้นส่วนและวัตถุดิบจานวนมาก ได้อย่างถูกต้องสามารถแก้ไขและตรวจสอบข้อมูลของชิ้นส่วนและวัตถุดิบได้อย่าง รวดเร็ว คอมพิวเตอร์กับธุรกิจธนาคาร การนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานธนาคารนั้น ถือว่ามีบทบาทเป็นอย่างมาก เพราะใน ปัจจุบันธนาคารต่างๆ มีกรแข่งขันค่อนข้างสูง ในการการบริการต่างๆ เพื่อให้ลูกค้า ได้รับความพึงพอใจอย่างสูงสุด ดังนั้นในแต่ละธนาคารจึงต้องมีการพัฒนางานด้าน ต่างๆ ให้ทันสมัยพอที่จะรองรับความต้องการของลูกค้าได้อย่างเต็มที่ ทาให้เกิดความ สะดวกรวดเร็วและถูกต้องในด้านข้อมูลต่างๆ เช่น การฝาก – ถอนเงิน มีการนาเอา ATM (Automatic Teller Machine) หรือระบบการบริหารการเงินสดอัตโนมัติมาใช้ เหล่านี้ เป็นต้น
  • 22. คอมพิวเตอร์กับงานท้างด้านการศึกษา คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในสถานศึกษาอย่างแพร่หลาย อาจแบ่งออกเป็นการใช้ งานเพื่อใช้ในการจัดการการศึกษา และใช้ในการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์กับธุรกิจกับงานทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ การใช้คอมพิวเตอร์ในงานแพทย์นั้น มีหลายด้านที่จาเป็นต้องนาเข้ามาใช้งานแต่ละ ฝ่าย เช่น การนาเข้ามาใช้ในงานธุรการ ใช้บันทึกและค้นหาทะเบียนประวัติผู้ป่วย ตาราง ในการนัดผู้ป่วย การรับจ่ายยา และข้อมูลทางด้านบัญชีและการเงิน นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ยังสามารถช่วยในการตรวจโรค เช่น การตรวจคลื่นสมอง บันทึกการเต้น ของหัวใน การเอกซเรย์ด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยในเรื่องข้อมูลในการรักษาโรคมะเร็ง ข้อมูลประกอบการผ่าตัด การสั่งยา เป็นต้น ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้จะสามารถเชื่อมโยงถึงกัน ทาให้มีความสะดวกและรวดเร็วในการรักษาผู้ป่วย นอกจากนั้น ยังใช้คอมพิวเตอร์มา ช่วยในการตรวจรักษาผู้ป่วย ในรูปแบบของหุ่นยนต์(Robot) มาช่วยในการผ่าตัดสมอง ซึ่งหุ่นยนต์สามารถคานวณและเคลื่อนไหวเพื่อผ่าตัดสมองหรือกะโหลกศีรษะ การนา หุ่นยนต์มาช่วยในการทาศัลยกรรม ให้มีความปลอดภัยและสะดวกรวดเร็วขึ้น การใช้ คอมพิวเตอร์ในการตรวจสุขภาพร่างกาย เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันนี้เครื่องมือแพทย์ สมัยใหม่ล้วนแต่ควบคุมด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น
  • 23. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งานได้4 ประเภทด้วยกันคือ 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) คอมพิวเตอร์ประเภทซูเปอร์คอมพิวเตอร์ นั้น ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็ว มาก ๆและก็มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในแต่ละประเภท เมื่อมีประสิทธิภาพสูง เรื่อง ของขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภท Supercomputer ก็มีขนาดใหญ่เช่นกัน แล้ว เรื่องราคาก็สูงตามไปเช่นกันอีกด้วย การใช้งานของประเภท SuperComputer ส่วน ใหญ่จะใช้กับ งานทางด้านวิทยาศาสตร์และด้านวิศวกรรมศาสตร์ เช่น การพยากรณ์ อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อม เป็นต้น 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) ประเภท เมนเฟรมคอมพิวเตอร์นี้ ความสามารถจะน้อยกว่าประเภท ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์มากพอสมควร แต่ยังมีความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่า มินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภท เมนเฟรมนนี้ ส่วนใหญ่จะใช้งานด้าน ธนาคาร ซึ่งคอมพิวเตอร์ประเภทนี้สามารถให้บริการ ให้บริการผู้ใช้จานวนหลายคนพร้อม ๆ ได้เช่น เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบ อัตโนมัติ (automatic teller machine) เป็น ซึ่งเครื่องเมนเฟรมจะเหมือนเครื่องเซฟ เวอร์ ที่ทาหน้าที่ให้บริการอัพตโนมัติของธนาคารนั้นเอง
  • 24. 3. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทมินิคอมพิวเตอร์ นั้นก็จะคล้ายๆ กับ ประเภท เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่ด้านความสามารถ ในการประมวลผลนั้น จะไม่สามารถเทียบเท่ากับ ประเภท เมนเฟรมได้แต่ก็ยัง สามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคน พร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ ในจานวนที่เทียบเท่าเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้มักจะใช้กับ องค์กรขนาด กลาง จนถึง ขนาดเล็ก หรือ อาจจะใช้เป็นหน่วยย่อยๆขององค์กรใหญ่ๆ ก็ได้ 4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC ) ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น อาทิเช่น notebook , netbook และ Tablet เมื่อปีพ.ศ. 2518 เริมมีการนา คอมพิวเตอร์ประเภทนี้เข้ามาใช้และได้รับการนิยมมาก จนถึงปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ จะมีขนาดเล็ก เหมาะ สาหรับการใช้งาน ประเภทส่วนบุคคลทั่วๆไป เช่น ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมส์ ทางานเอกสาร และอื่นๆอีกตามสเปก ของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ราคาของคอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ก็จะไม่แพงมากนัก ก็ยังคงขึ้นอยู่กับสเปกของแต่ ละเครื่องไป