SlideShare a Scribd company logo
ก
ข
1. อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรของคนไทยช่วงสั้น ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2310 -
2325 ระยะเวลา 15 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครองเพียงพระองค์เดียว คือ สมเด็จ
พระเจ้ากรุงธนบุรี ภายหลังอาณาจักรอยุธยาล่มสลายไปพร้อมกับการเสียกรุงศรีอยุธยา
ครั้งที่สอง ทว่า ในเวลาต่อมา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็น
พระมหากษัตริย์ และทรงย้ายเมืองหลวงไปยังฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา คือ
กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน
การกอบกู้เอกราช
เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีรับราชการเป็นพระยาตากในระหว่างสงคราม
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองพระยาตากได้ถอนตัวจากการป้องกันพระนครพร้อมกับ
ทหารจานวนหนึ่งเพื่อไปตั้งตัว โดยนาทัพผ่านบ้านโพสามหาร บ้านบางดง หนองไม้ทรุง
เมืองนครนายก เมืองปราจีนบุรี พัทยา สัตหีบ ระยอง โดยกลุ่มผู้สนับสนุนพระยาตากได้
ยกย่องให้ให้เป็น "เจ้าชาย"และตีได้เมืองจันทบุรีและตราด เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.
2310
การรวมชาติและการขยายตัว
ครั้นเมื่อพระเจ้ามังระแห่งอาณาจักรพม่าทรงทราบข่าวเรื่องการกอบกู้เอกราช
ของไทย พระองค์จึงมีพระบรมราชโองการให้เจ้าเมืองทวายคุมกองทัพมาดูสถานการณ์
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้เปลี่ยนเป้าหมายไปยังชุมนุมเจ้าพิมาย เนื่องจากทรง
เห็นว่าควรจะปราบชุมนุมขนาดเล็กเสียก่อน กรมหมื่นเทพพิพิธสู้ไม่ได้ ทรงจับตัวมายัง
กรุงธนบุรี และถูกประหารระหว่างเดือนตุลาคม-เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2311
ในปี พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงมีศุภอักษรไปยังสมเด็จพระ
นารายณ์ราชา เจ้ากรุงเขมร โดยให้ส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายตามประเพณี
การสิ้นสุด การสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
หลักฐานส่วนใหญ่กล่าวว่า เกิดเหตุจลาจลในปลายรัชกาลของสมเด็จพระเจ้า
ตากสินมหาราช คือ พระยาสรรค์ได้ตั้งตัวเป็นกบฏ ได้บุกมาแล้วบังคับให้พระองค์ผนวช
ขณะนั้น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกทรงทาศึกอยู่ที่กัมพูชา ทรงทราบข่าวจึงได้
เสด็จกลับมายังกรุง ได้ปราบปรามจลาจลแล้ว สืบสวนหารือควรสาเร็จโทษสมเด็จพระ
เจ้ากรุงธนบุรี
2. สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 – 3)
ขณะเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขึ้นครองราชย์นั้น
บ้านเมืองยังอยู่ในสภาพทรุดโทราเสียหายมาก หลังจากพระองค์ตัดสินพระทัยย้ายราช
ธานี มาตั้งใหม่ที่บางกอก ทางฝั่งตรงข้ามของแม่น้าเจ้าพระยาก็โปรดให้สร้างกาแพง
เมืองและป้อมปราการแข็งแรงมั่นคงสาหรับป้องกันข้าศึก และทรงสร้างวัดพระศรี
รัตนศาสนดารามขึ้นในบริเวณพระบรมมหาราชวังเป็นหลักพระนคร
สงครามเก้าทัพ
ในช่วงก่อร่างสร้างเมืองนี้สยามยังต้องผจญกับศึกสงครามรอบบ้านอยู่เสมอ
รวมทั้งสงครามครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์การรบระหว่างสยามกับพม่าด้วย นั่นคือ
ศึกที่เรียกว่า"สงครามเก้าทัพ" ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าประดุง แห่งหงสาวดี
กองทัพสยามสามารถขับไล่ทัพพม่าออกไปได้ในที่สุด หลังสงครามเก้าทัพพม่าต้อง
เผชิญหน้ากับประเทศนักล่าอาณานิคมอย่างอังกฤษ ทาให้สยามว่างเว้นศึกสงคราม
ใหญ่ไปนาน รัชกาลที่1 มีพระราชดาริให้ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมครั้งใหญ่ รวมทั้งการ
รวบรวทตารับตาราจากหัวเมืองต่างๆ ที่รอดพ้นจากการถูกพม่าเผาเมื่อ ปี พ.ศ.2310
มาเก็บไว้ที่กรุงเทพฯ
วรรณกรรม
ราชสานักจัดว่าเป็นศูนย์กลางของวรรณกรรมและเป็นที่ชุมนุมของกวี
สมัยรัชกาลที่ 1 วรรณคดีที่สาคัญ ได้แก่ รามเกียรติ์ ราชาธิราช และสาม
ก๊ก
เรื่อง รามเกียรติ์ สามก๊ก
สมัยรัชกาลที่ 2 ทรงเป็นกวี พระราชนิพนธ์ที่ได้รับการยกย่องมากที่สุด คือ
อิเหนา กวีเอกคนสาคัญในสมัยนี้คือ สุนทรภู่ ผลงานที่เด่นชัดที่สุด คือ เรื่องพระอภัย
มณี
สถาปัตยกรรมและจิตรกรรม
สถาปัตยกรรม แบบอย่างของสถาปัตยกรรม ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
โดยเฉพาะสมัยรัชกาลที่ 1 และ รัชกาลที่ 2 ได้เจริญรอยตามแบบอย่างสถาปัตยกรรม
สมัยกรุงศรีอยุธยาเกือบทั้งหมด ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 3 นิยมศิลปะการก่อสร้างแบบจีน
โดยเฉพาะรูปแบบการสร้างวัด
งานจิตรกรรม ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ส่วนใหญ่เป็นจิตรกรรมฝาผนัง
และเลียนแบบอย่างมาจากกรุงศรีอยุธยา จิตรกรรมฝาผนังรุ่งเรืองมากที่สุดในสมัย
รัชกาลที่ 3 และมีลักษณะศิลปะแบบจีนเข้ามาปะปนอยู่ด้วย จิตรกรรมที่สาคัญและมี
ชื่อเสียง
สนธิสัญญาเบอร์นี
สนธิสัญญาเบอร์นีฉบับนี้ นับเป็นสนธิสัญญาโดยสมบูรณ์ฉบับแรกในสมัยกรุง
รัตนโกสินทร์ เรียกกันโดยทั่วไปว่า สนธิสัญญาเบอร์นี มีสาระสาคัญ ดังนี้
(1) ไทยกับอังกฤษจะมีไมตรีอันดีต่อกัน ไม่คิดร้ายหรือรุกรานดินแดนซึ่งกัน
และกัน
(2) เมื่อเกิดคดีความขึ้นภายในอาณาเขตประเทศไทย ก็ให้ไทยตัดสินตาม
กฎหมายและขนบธรรมเนียมและประเพณีของไทย
(3) ทั้งสองฝ่ายจะอานวยความสะดวกในด้านการค้าซึ่งกันและ และ
อนุญาตให้ฝ่ายตรงข้ามเช่าที่ดินเพื่อตั้งโรงสินค้า ร้านค้า หรือบ้านเรือนได้
สนธิสัญญาเบอร์นี (ต่อ)
(4) อังกฤษยอมรับว่าดินแดนไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู เประ เป็นของไทย
และมีสนธิสัญญาต่อท้ายเป็นสนธิสัญญาทางการค้า มีสาระสาคัญดังนี้
(1) ห้ามนาฝิ่นเข้ามาขายในไทย และห้ามนาข้าวสาร ข้าวเปลือกออกนอกประเทศไทย
(2) อาวุธและกระสุนดินดาที่อังกฤษนามาต้องขายให้แก่รัฐบาลไทยแต่ผู้เดียว ถ้ารัฐบาลไม่ต้องการ
ต้องนาออกไป
(3) เรือสินค้าที่เข้ามาต้องเสียภาษีเบิกร่องหรือภาษีปากเรือ
(4) อนุญาตให้พ่อค้าอังกฤษขายสินค้าทั่วราชอาณาจักร
(5) ถ้าพ่อค้าหรือคนในบังคับของอังกฤษ พูดจาดูหมิ่นหรือไม่เคารพขุนนางไทย อาจถูกไล่ออกนอก
ประเทศไทยได้ทันที

More Related Content

What's hot

ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 

What's hot (17)

ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 

งานนำเสนอ1