SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
ลักษณะของวงดนตรีสากล
เราจะแบ่งลักษณะของวงดนตรีสากลออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันดังนี้
1. วง Orchestra
2. วง Band
1. วง Orchestra หรือ วงดุริยางค์เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทหนึ่งที่ใช้
เครื่องดนตรีประเภท เครื่องสาย (String) เป็นหลัก หรือเป็นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทมาก
ที่สุด สาคัญที่สุดมากกว่าเครื่องดนตรีกลุ่มอื่น ๆ

6
2. วง Band เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทที่ใช้เครื่องดนตรีประเภท
เครื่องเป่าเป็นหลัก เป็นเอกหรือเป็นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทมากที่สุด
ประเภทของวง Orchestra
1. Symphony Orchestra เป็นวงดนตรีขนาดใหญ่มากประกอบด้วย
เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม คือ
1. เครื่องสาย
2. เครื่องเป่าลมไม้
3. เครื่องเป่าลมทองเหลือง
4. เครื่องตี
ไวโอลิน แซกโซโฟน คลาริเน็ต
7
ขนาดของวง
วงเล็ก Small Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 60-80 คน
วงกลาง Medium Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 80-100 คน
วงใหญ่ Full Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 100 คนขึ้นไป
2. Orchestra for accompaniments for opera วงดุริยางค์ประเภทนี้ใช้บรรเลง
ประกอบการแสดงโอเปรา คล้ายกับละครหรือลิเกของไทยที่ต้องมีดนตรีบรรเลง
ประกอบด้วย ใช้นักดนตรีประมาณ 60 คนหรือมากกว่า
3. Chamber Orchestra วงดุริยางค์ประเภทนี้เป็นวงเล็ก ๆ มีผู้เล่นไม่เกิน
20 คน บางครั้งเราเรียกวงดนตรีประเภทนี้ว่า Chamber Music เพราะวงประเภทนี้ตั้งขึ้น
เพื่อร่วมกันเล่นหรือบรรเลง สาหรับการผ่อนคลายอารมณ์และพบปะสังสรรค์ยามว่าง
เพลงที่เล่นก็เป็นเพลงง่าย ๆ และผู้เล่นอาจมีตั้งแต่ 2 คนถึง 9 คน
8
ดูเอ็ด ทรีโอ
ควินเต็ต ควอร์เต็ต
ถ้ามีผู้เล่น 2 คน เรียกว่า “วงดูโอ” Duo
ถ้ามีผู้เล่น 3 คน เรียกว่า “วงทรีโอ” Trio
ถ้ามีผู้เล่น 4 คน เรียกว่า “วงควอเต็ต” Quartet
ถ้ามีผู้เล่น 5 คน เรียกว่า “วงควินเต็ต” Quintet
ถ้ามีผู้เล่น 6 คน เรียกว่า “วงเซ็กซ์เต็ต” sextet
ถ้ามีผู้เล่น 7 คน เรียกว่า “วงเซ็ปเต็ต” Septet
ถ้ามีผู้เล่น 8 คน เรียกว่า “วงอ๊อกเต็ต” Octet
ถ้ามีผู้เล่น 9 คน เรียกว่า “วงโนเน็ต” Nonet
ประเภทของวง Band
1. Symphonic Band เป็นวงที่มีเครื่องเป่าเป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญ
ประกอบด้วย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลมทองเหลือง เครื่องตีและดับเบิ้ลเบส กลุ่ม
เครื่องเป่าลมไม้จะมีคลาริเนท เป็นจานวนมากเปรียบเสมือนกับไวโอลินของวง
Orchestra
2. Military Band (วงโยธวาทิต) ตามมาตรฐานวงดนตรีชนิดนี้จะมีผู้เล่นอยู่
ราว 54 คน ประกอบด้วย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลมทองเหลือง เครื่องตี แต่จะไม่ใช้
ดับเบิ้ลเบส วงดนตรีประเภทนี้จะใช้ในพิธีสวนสนามของทหารหรือขบวนแห่ต่าง ๆ
9
แซ็กโซโฟนควอเต็ต
3. Brass Band วงดนตรีชนิดนี้คล้ายกับวงโยธวาทิตต่างกันก็ตรงที่ไม่มีเครื่อง
เป่าลมไม้และเครื่องสายใด ๆ เลย
4. Jazz Band (วงแจ๊ส) วงดนตรีแบบนี้เกิดขึ้นในกลุ่มนิโกรเป็นครั้งแรกและ
ในปัจจุบันนี้วงแจ๊สส่วนใหญ่ก็ยังเจริญอยู่กับพวกนิโกร วงดนตรีประเภทนี้ประกอบด้วย
กลุ่มแซกโซโฟน ซึ่งมีโซปราโนแซกโซโฟน อัลโตแซกโซโฟน เทนเนอร์แซกโซโฟน
บาริโทนแซกโซโฟน คลาริเนท ทรัมเป็ท ทรอมโบน ดับเบิ้ลเบส เปียโน และ
เครื่อง Percussion ตามความเหมาะสม เช่น กลองชุด ทอมบ้า บองโก้มารากัส เป็นต้น
5. Combo Band (วงคอมโบ) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก มุ่งประกอบการขับร้อง
เป็นส่วนใหญ่ นิยมนาไปบรรเลงตามร้านอาหาร ไนท์คลับ หรือตามสถานที่เริงรมย์
ต่าง ๆ วงดนตรีประเภทนี้มีจานวนนักดนตรีและเครื่องดนตรีไม่แน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่
ความสะดวกในการจัดวง แต่ส่วนมากมักประกอบด้วยเครื่องดนตรีคือ Trumpet Tenor
Saxophone AltoSaxophone Trombone Piano กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุด เครื่อง
ประกอบจังหวะอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีวงดนตรีที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่อีกหลายชนิด ซึ่งวงที่
เกิดขึ้นใหม่นี้ก็อาศัย ดัดแปลง ปรับปรุง แก้ไข จากของเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ
ความเป็นอยู่ของมนุษย์ปัจจุบันที่ต้องการความง่าย ๆ สะดวก สบาย รวดเร็ว
6. Shadow (วงชาโดว์) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก สะดวกในการขนย้ายไปแสดง
ในที่ต่าง ๆ ใช้บรรเลงประกอบการขับร้อง และบางครั้งบรรเลงเฉพาะดนตรีอย่างเดียว
เครื่องดนตรีที่ใช้มี กีตาร์โซโล่ กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุดและเครื่องประกอบ
จังหวะอื่น ๆ
7. String combo วงดนตรีประเภทนี้ดัดแปลงมาจากวงคอมโบ และวงชาโดว์
คือ นาเอาเครื่องดนตรีในวงชาโดว์ผสมกับวงคอมโบ แต่ยังคงให้เครื่องดนตรีประเภท
กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่มีความสาคัญกว่าเครื่องดนตรีอื่น ๆ
10
8. Folk Song (วงโฟล์คซอง) เป็นวงดนตรีขนาดเล็กที่สุด มีผู้เล่นไม่เกินวงละ
3 คน แต่ที่นิยมมากที่สุดนิยมเพียงคนเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้กีตาร์โปร่งเพียงอย่างเดียว
โดยที่ผู้เล่นกีตาร์จะร้องและเล่นกีตาร์ไปด้วย
9. String Band เป็นวงดนตรีที่ปรับปรุงจากวงคอมโบ โดยเพิ่มไวโอลิน
มาร่วมบรรเลงด้วยประมาณ 6-10 คัน เพื่อให้ไวโอลินเหล่านี้เล่นเป็นทานอง และ Back
Ground ทาให้เพลงที่บรรเลงมีความไพเราะยิ่งขึ้นหนักแน่นขึ้น วงดนตรีประเภทนี้ได้รับ
ความนิยมทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น วงดารากร วงเจมส์ลาส เป็นต้น
11

More Related Content

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
love5710
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptx
ssuser5334dc
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
manasakpoto
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf (11)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
Music
MusicMusic
Music
 
05 mf
05 mf05 mf
05 mf
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptx
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 

More from pinglada

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
pinglada
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docx
pinglada
 
ประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docxประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docx
pinglada
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
pinglada
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
pinglada
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.doc
pinglada
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.doc
pinglada
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.doc
pinglada
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.doc
pinglada
 
ThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.docThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.doc
pinglada
 
ThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.docThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.doc
pinglada
 

More from pinglada (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docx
 
ประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docxประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docx
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.doc
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.doc
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.doc
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.doc
 
ThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.docThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.doc
 
ThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.docThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.doc
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf

  • 1. บทที่ 3 ลักษณะของวงดนตรีสากล เราจะแบ่งลักษณะของวงดนตรีสากลออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันดังนี้ 1. วง Orchestra 2. วง Band 1. วง Orchestra หรือ วงดุริยางค์เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทหนึ่งที่ใช้ เครื่องดนตรีประเภท เครื่องสาย (String) เป็นหลัก หรือเป็นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทมาก ที่สุด สาคัญที่สุดมากกว่าเครื่องดนตรีกลุ่มอื่น ๆ  6
  • 2. 2. วง Band เป็นลักษณะของวงดนตรีประเภทที่ใช้เครื่องดนตรีประเภท เครื่องเป่าเป็นหลัก เป็นเอกหรือเป็นเครื่องดนตรีที่มีบทบาทมากที่สุด ประเภทของวง Orchestra 1. Symphony Orchestra เป็นวงดนตรีขนาดใหญ่มากประกอบด้วย เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม คือ 1. เครื่องสาย 2. เครื่องเป่าลมไม้ 3. เครื่องเป่าลมทองเหลือง 4. เครื่องตี ไวโอลิน แซกโซโฟน คลาริเน็ต 7
  • 3. ขนาดของวง วงเล็ก Small Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 60-80 คน วงกลาง Medium Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 80-100 คน วงใหญ่ Full Orchestra ใช้ผู้บรรเลงประมาณ 100 คนขึ้นไป 2. Orchestra for accompaniments for opera วงดุริยางค์ประเภทนี้ใช้บรรเลง ประกอบการแสดงโอเปรา คล้ายกับละครหรือลิเกของไทยที่ต้องมีดนตรีบรรเลง ประกอบด้วย ใช้นักดนตรีประมาณ 60 คนหรือมากกว่า 3. Chamber Orchestra วงดุริยางค์ประเภทนี้เป็นวงเล็ก ๆ มีผู้เล่นไม่เกิน 20 คน บางครั้งเราเรียกวงดนตรีประเภทนี้ว่า Chamber Music เพราะวงประเภทนี้ตั้งขึ้น เพื่อร่วมกันเล่นหรือบรรเลง สาหรับการผ่อนคลายอารมณ์และพบปะสังสรรค์ยามว่าง เพลงที่เล่นก็เป็นเพลงง่าย ๆ และผู้เล่นอาจมีตั้งแต่ 2 คนถึง 9 คน 8 ดูเอ็ด ทรีโอ ควินเต็ต ควอร์เต็ต
  • 4. ถ้ามีผู้เล่น 2 คน เรียกว่า “วงดูโอ” Duo ถ้ามีผู้เล่น 3 คน เรียกว่า “วงทรีโอ” Trio ถ้ามีผู้เล่น 4 คน เรียกว่า “วงควอเต็ต” Quartet ถ้ามีผู้เล่น 5 คน เรียกว่า “วงควินเต็ต” Quintet ถ้ามีผู้เล่น 6 คน เรียกว่า “วงเซ็กซ์เต็ต” sextet ถ้ามีผู้เล่น 7 คน เรียกว่า “วงเซ็ปเต็ต” Septet ถ้ามีผู้เล่น 8 คน เรียกว่า “วงอ๊อกเต็ต” Octet ถ้ามีผู้เล่น 9 คน เรียกว่า “วงโนเน็ต” Nonet ประเภทของวง Band 1. Symphonic Band เป็นวงที่มีเครื่องเป่าเป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญ ประกอบด้วย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลมทองเหลือง เครื่องตีและดับเบิ้ลเบส กลุ่ม เครื่องเป่าลมไม้จะมีคลาริเนท เป็นจานวนมากเปรียบเสมือนกับไวโอลินของวง Orchestra 2. Military Band (วงโยธวาทิต) ตามมาตรฐานวงดนตรีชนิดนี้จะมีผู้เล่นอยู่ ราว 54 คน ประกอบด้วย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลมทองเหลือง เครื่องตี แต่จะไม่ใช้ ดับเบิ้ลเบส วงดนตรีประเภทนี้จะใช้ในพิธีสวนสนามของทหารหรือขบวนแห่ต่าง ๆ 9 แซ็กโซโฟนควอเต็ต
  • 5. 3. Brass Band วงดนตรีชนิดนี้คล้ายกับวงโยธวาทิตต่างกันก็ตรงที่ไม่มีเครื่อง เป่าลมไม้และเครื่องสายใด ๆ เลย 4. Jazz Band (วงแจ๊ส) วงดนตรีแบบนี้เกิดขึ้นในกลุ่มนิโกรเป็นครั้งแรกและ ในปัจจุบันนี้วงแจ๊สส่วนใหญ่ก็ยังเจริญอยู่กับพวกนิโกร วงดนตรีประเภทนี้ประกอบด้วย กลุ่มแซกโซโฟน ซึ่งมีโซปราโนแซกโซโฟน อัลโตแซกโซโฟน เทนเนอร์แซกโซโฟน บาริโทนแซกโซโฟน คลาริเนท ทรัมเป็ท ทรอมโบน ดับเบิ้ลเบส เปียโน และ เครื่อง Percussion ตามความเหมาะสม เช่น กลองชุด ทอมบ้า บองโก้มารากัส เป็นต้น 5. Combo Band (วงคอมโบ) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก มุ่งประกอบการขับร้อง เป็นส่วนใหญ่ นิยมนาไปบรรเลงตามร้านอาหาร ไนท์คลับ หรือตามสถานที่เริงรมย์ ต่าง ๆ วงดนตรีประเภทนี้มีจานวนนักดนตรีและเครื่องดนตรีไม่แน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่ ความสะดวกในการจัดวง แต่ส่วนมากมักประกอบด้วยเครื่องดนตรีคือ Trumpet Tenor Saxophone AltoSaxophone Trombone Piano กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุด เครื่อง ประกอบจังหวะอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีวงดนตรีที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่อีกหลายชนิด ซึ่งวงที่ เกิดขึ้นใหม่นี้ก็อาศัย ดัดแปลง ปรับปรุง แก้ไข จากของเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ ความเป็นอยู่ของมนุษย์ปัจจุบันที่ต้องการความง่าย ๆ สะดวก สบาย รวดเร็ว 6. Shadow (วงชาโดว์) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก สะดวกในการขนย้ายไปแสดง ในที่ต่าง ๆ ใช้บรรเลงประกอบการขับร้อง และบางครั้งบรรเลงเฉพาะดนตรีอย่างเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้มี กีตาร์โซโล่ กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุดและเครื่องประกอบ จังหวะอื่น ๆ 7. String combo วงดนตรีประเภทนี้ดัดแปลงมาจากวงคอมโบ และวงชาโดว์ คือ นาเอาเครื่องดนตรีในวงชาโดว์ผสมกับวงคอมโบ แต่ยังคงให้เครื่องดนตรีประเภท กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่มีความสาคัญกว่าเครื่องดนตรีอื่น ๆ 10
  • 6. 8. Folk Song (วงโฟล์คซอง) เป็นวงดนตรีขนาดเล็กที่สุด มีผู้เล่นไม่เกินวงละ 3 คน แต่ที่นิยมมากที่สุดนิยมเพียงคนเดียว เครื่องดนตรีที่ใช้กีตาร์โปร่งเพียงอย่างเดียว โดยที่ผู้เล่นกีตาร์จะร้องและเล่นกีตาร์ไปด้วย 9. String Band เป็นวงดนตรีที่ปรับปรุงจากวงคอมโบ โดยเพิ่มไวโอลิน มาร่วมบรรเลงด้วยประมาณ 6-10 คัน เพื่อให้ไวโอลินเหล่านี้เล่นเป็นทานอง และ Back Ground ทาให้เพลงที่บรรเลงมีความไพเราะยิ่งขึ้นหนักแน่นขึ้น วงดนตรีประเภทนี้ได้รับ ความนิยมทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น วงดารากร วงเจมส์ลาส เป็นต้น 11