SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
32
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรศึกษำ
การสารวจความพึงพอใจในการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งท่าช้าง
อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจที่มีต่อ
งานโครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง
(โครงการต่อเนื่อง) งานโครงการรักษาความสะอาดถนนสายหลักสายรองและการคัดแยกขยะ
ในครัวเรือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหาร
ส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง งานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บภาษี และงานโครงการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ มีรายละเอียด ดังนี้
1.รูปแบบกำรดำเนินกำรศึกษำ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลกับ
ผู้ใช้บริการ ในกิจกรรมและภารกิจ จานวน 5 งาน ได้แก่ โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายใน
เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยแก่
ประชาชน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริการส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง โครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บภาษี และโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ
ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ
2.ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
2.1 ประชากรที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชน หน่วยงานรัฐ หน่วยงาน
เอกชน ที่ได้รับบริการจากองค์การบริหารส่วนทุ่งท่ำช้ำง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี จานวน 550 คน
จาแนกตามกิจกรรมและภารกิจ จานวน 5 งานดังนี้
1. โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง
จานวน 150 คน
2. โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยแก่ประชาชน จานวน 100 คน
3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริการส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง
จานวน 100 คน
4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บภาษี จานวน 100 คน
5. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ จานวน 100 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชน หน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน ที่ได้รับบริการจากองค์การ
บริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี จานวน 550 คน ซึ่งจานวนที่เก็บรวบรวม
ได้จริง จานวน 240 คน โดยกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากสูตรของยามาเน่ย์ (Yamane.1973:725)
ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05
33
n =
N
1+Ne2
เมื่อN = ขนาดของประชากร
e = ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้
n = ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
แทนสูตรได้ดังนี้
n =
550
1+550 (0.05) 2
n =
550
2.375
= 231.58
จากนั้นทาการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ซึ่งเป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่
คานึงถึงความเป็นไปได้ทางสถิติ โดยทาการแบ่งชั้นภูมิตามลักษณะของผู้ใช้บริการในแต่ละงาน
ตามสัดส่วนของผู้ใช้บริการในแต่ละงาน (Probability proportionate to size sampling) จานวน
231.58 คน รวมทั้งสิ้นจานวนกลุ่มตัวอย่างที่เก็บจริง จานวน 240 คน โดยสามารถสรุปเป็นตารางได้
ดังนี้
ประเภทงำน
จำนวน
ประชำกร
กลุ่ม
ตัวอย่ำง
ตำมสัดส่วน
กลุ่ม
ตัวอย่ำง
ที่เก็บจริง
1. โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ(รีไซเคิล)ภายในเขตพื้นที่
องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง
150 63.15 64
2. โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกัน
ภัยแก่ประชาชน
100 42.11 44
3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การ
บริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง
100 42.11 44
4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการ
จัดเก็บภาษี
5. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ
ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ
100
100
42.11
42.11
44
44
รวม 550 231.58 240
3.เครื่องมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
3.1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นเครื่องมือในการสารวจความพึงพอใจการให้บริการของ
องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งท่าช้างอาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 5 ฉบับ
34
ได้แก่ 1) โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง
2) โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยแก่ประชาชน 3) โครงการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริการส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง 4) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บ
ภาษี และ 5) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ซึ่งแต่ละฉบับมี
รายละเอียดดังนี้
3.1.1 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปส่วนนี้มีวัตถุประสงค์จะนาเสนอและพรรณนาลักษณะ
ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับบริการ ทาให้เห็นลักษณะและธรรมชาติของกลุ่มตัวอย่าง อันจะเป็นประโยชน์
ต่อการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการบริการ ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ
(Check list) ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ และประเภทผู้รับบริการ
3.1.2 ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อกิจกรรมการ
บริการ ส่วนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอระดับความพึงพอใจการให้บริการในแต่ละกิจกรรม
ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ ด้านช่องทางการให้บริการ
ด้านเจ้าหน้าที่/บุคลากรให้บริการ ด้านสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก ด้านผลการปฏิบัติงาน โดย
ผู้ศึกษาได้กาหนด ลักษณะของแบบสอบถามตามวิธีการวัดทัศนคติแบบลิเคิร์ต (Likert’s scale) ดังนี้
1) ระดับความพึงพอใจมากที่สุด คะแนน เท่ากับ 5
2) ระดับความพึงพอใจมาก คะแนน เท่ากับ 4
3) ระดับความพึงพอใจปานกลาง คะแนน เท่ากับ 3
4) ระดับความพึงพอใจน้อย คะแนน เท่ากับ 2
5) ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด คะแนน เท่ากับ 1
3.1.3 ตอนที่ 3 จุดเด่นจุดที่ควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะต่อการปรับปรุงการให้บริการ
ของหน่วยงานซึ่งมีลักษณะเป็นข้อคาถามปลายเปิด
3.2การสร้างเครื่องมือมีขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ดังนี้
3.2.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ความพึงพอใจของการ
ให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งท่าช้าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี และแนวคิดการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น
3.2.2 นาข้อมูลที่ได้มาสร้างกรอบการวัดความพึงพอใจ พร้อมทั้งนิยามเชิงทฤษฎี และ
นิยามเชิงปฏิบัติการ
3.2.3 สร้างเครื่องมือตามนิยามเชิงปฏิบัติการของความพึงพอใจในการให้บริการ
3.2.4 ตรวจสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามความพึงพอใจการ
ให้บริการ และพัฒนาปรับปรุงแบบสอบถาม
3.2.5 กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย
3.2.6 นาแบบสอบถามที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตาม
ประเด็นที่สารวจ
3.2.7 นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลตามประเด็นและความต้องการที่ต้องการ
3.2.8 สรุปผลการศึกษา และเสนอแนะเพื่อพัฒนาการให้บริการขององค์การ
4.กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
35
ในการเก็บรวมรวมข้อมูลการสารวจความพึงพอใจในการให้บริการในครั้งนี้ คณะผู้ศึกษา
ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่างในแต่ละประเภทงานที่ให้บริการ
ตามจานวนกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้
5.กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
การวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่สาคัญ ดังนี้
5.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
5.2 ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามวัดความพึงพอใจด้านต่าง ๆ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ในส่วนของระดับความพึงพอใจ เกณฑ์ที่นามาใช้แปลความหมายของค่าเฉลี่ย ผู้ศึกษาได้
กาหนดเกณฑ์ไว้ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 100)
1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อยที่สุด
1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อย
2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ปานกลาง
3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก
4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด

More Related Content

Similar to 015

คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIAคู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIAOxygenfox Pay
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
12.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 812.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 8Junior Bush
 
Policy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailandPolicy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailandimdnmu
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุpyopyo
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3Nadeewittaya School
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 

Similar to 015 (20)

3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ
3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ
3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ
 
T6
T6T6
T6
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIAคู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
12.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 812.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 8
 
T5
T5T5
T5
 
Paper1
Paper1Paper1
Paper1
 
Policy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailandPolicy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailand
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
 
Single plan
Single planSingle plan
Single plan
 
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
 
4 page1
4 page14 page1
4 page1
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
Ple
PlePle
Ple
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
016
016016
016
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 

More from ssuser6a206b1 (20)

024
024024
024
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
022
022022
022
 
021
021021
021
 
012
012012
012
 
011
011011
011
 
010
010010
010
 
0101
01010101
0101
 
0203
02030203
0203
 
0202
02020202
0202
 
0201
02010201
0201
 
020
020020
020
 
010
010010
010
 
O14 3
O14  3O14  3
O14 3
 

015

  • 1. 32 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ การสารวจความพึงพอใจในการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งท่าช้าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจที่มีต่อ งานโครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง (โครงการต่อเนื่อง) งานโครงการรักษาความสะอาดถนนสายหลักสายรองและการคัดแยกขยะ ในครัวเรือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหาร ส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง งานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บภาษี และงานโครงการ พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ มีรายละเอียด ดังนี้ 1.รูปแบบกำรดำเนินกำรศึกษำ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลกับ ผู้ใช้บริการ ในกิจกรรมและภารกิจ จานวน 5 งาน ได้แก่ โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายใน เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยแก่ ประชาชน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริการส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง โครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บภาษี และโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ 2.ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 2.1 ประชากรที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชน หน่วยงานรัฐ หน่วยงาน เอกชน ที่ได้รับบริการจากองค์การบริหารส่วนทุ่งท่ำช้ำง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี จานวน 550 คน จาแนกตามกิจกรรมและภารกิจ จานวน 5 งานดังนี้ 1. โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง จานวน 150 คน 2. โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยแก่ประชาชน จานวน 100 คน 3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริการส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง จานวน 100 คน 4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บภาษี จานวน 100 คน 5. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ จานวน 100 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชน หน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน ที่ได้รับบริการจากองค์การ บริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี จานวน 550 คน ซึ่งจานวนที่เก็บรวบรวม ได้จริง จานวน 240 คน โดยกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากสูตรของยามาเน่ย์ (Yamane.1973:725) ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05
  • 2. 33 n = N 1+Ne2 เมื่อN = ขนาดของประชากร e = ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ n = ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ แทนสูตรได้ดังนี้ n = 550 1+550 (0.05) 2 n = 550 2.375 = 231.58 จากนั้นทาการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ซึ่งเป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่ คานึงถึงความเป็นไปได้ทางสถิติ โดยทาการแบ่งชั้นภูมิตามลักษณะของผู้ใช้บริการในแต่ละงาน ตามสัดส่วนของผู้ใช้บริการในแต่ละงาน (Probability proportionate to size sampling) จานวน 231.58 คน รวมทั้งสิ้นจานวนกลุ่มตัวอย่างที่เก็บจริง จานวน 240 คน โดยสามารถสรุปเป็นตารางได้ ดังนี้ ประเภทงำน จำนวน ประชำกร กลุ่ม ตัวอย่ำง ตำมสัดส่วน กลุ่ม ตัวอย่ำง ที่เก็บจริง 1. โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ(รีไซเคิล)ภายในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง 150 63.15 64 2. โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกัน ภัยแก่ประชาชน 100 42.11 44 3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การ บริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง 100 42.11 44 4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการ จัดเก็บภาษี 5. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ 100 100 42.11 42.11 44 44 รวม 550 231.58 240 3.เครื่องมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นเครื่องมือในการสารวจความพึงพอใจการให้บริการของ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งท่าช้างอาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 5 ฉบับ
  • 3. 34 ได้แก่ 1) โครงการรณรงค์คัดแยกขยะ (รีไซเคิล) ภายในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง 2) โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยแก่ประชาชน 3) โครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริการส่วนตาบลทุ่งท่าช้าง 4) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการจัดเก็บ ภาษี และ 5) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ซึ่งแต่ละฉบับมี รายละเอียดดังนี้ 3.1.1 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปส่วนนี้มีวัตถุประสงค์จะนาเสนอและพรรณนาลักษณะ ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับบริการ ทาให้เห็นลักษณะและธรรมชาติของกลุ่มตัวอย่าง อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการบริการ ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ และประเภทผู้รับบริการ 3.1.2 ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อกิจกรรมการ บริการ ส่วนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอระดับความพึงพอใจการให้บริการในแต่ละกิจกรรม ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ ด้านช่องทางการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่/บุคลากรให้บริการ ด้านสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก ด้านผลการปฏิบัติงาน โดย ผู้ศึกษาได้กาหนด ลักษณะของแบบสอบถามตามวิธีการวัดทัศนคติแบบลิเคิร์ต (Likert’s scale) ดังนี้ 1) ระดับความพึงพอใจมากที่สุด คะแนน เท่ากับ 5 2) ระดับความพึงพอใจมาก คะแนน เท่ากับ 4 3) ระดับความพึงพอใจปานกลาง คะแนน เท่ากับ 3 4) ระดับความพึงพอใจน้อย คะแนน เท่ากับ 2 5) ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด คะแนน เท่ากับ 1 3.1.3 ตอนที่ 3 จุดเด่นจุดที่ควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะต่อการปรับปรุงการให้บริการ ของหน่วยงานซึ่งมีลักษณะเป็นข้อคาถามปลายเปิด 3.2การสร้างเครื่องมือมีขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ดังนี้ 3.2.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ความพึงพอใจของการ ให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งท่าช้าง อาเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี และแนวคิดการ ปกครองส่วนท้องถิ่น 3.2.2 นาข้อมูลที่ได้มาสร้างกรอบการวัดความพึงพอใจ พร้อมทั้งนิยามเชิงทฤษฎี และ นิยามเชิงปฏิบัติการ 3.2.3 สร้างเครื่องมือตามนิยามเชิงปฏิบัติการของความพึงพอใจในการให้บริการ 3.2.4 ตรวจสอบความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามความพึงพอใจการ ให้บริการ และพัฒนาปรับปรุงแบบสอบถาม 3.2.5 กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย 3.2.6 นาแบบสอบถามที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตาม ประเด็นที่สารวจ 3.2.7 นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลตามประเด็นและความต้องการที่ต้องการ 3.2.8 สรุปผลการศึกษา และเสนอแนะเพื่อพัฒนาการให้บริการขององค์การ 4.กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
  • 4. 35 ในการเก็บรวมรวมข้อมูลการสารวจความพึงพอใจในการให้บริการในครั้งนี้ คณะผู้ศึกษา ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่างในแต่ละประเภทงานที่ให้บริการ ตามจานวนกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้ 5.กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่สาคัญ ดังนี้ 5.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.2 ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามวัดความพึงพอใจด้านต่าง ๆ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในส่วนของระดับความพึงพอใจ เกณฑ์ที่นามาใช้แปลความหมายของค่าเฉลี่ย ผู้ศึกษาได้ กาหนดเกณฑ์ไว้ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 100) 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อยที่สุด 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ปานกลาง 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด