SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
(1)
ชื่อสารนิพนธ์ : บทบาทพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา
อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง
ผู้วิจัย : พระครูบวรศีลวัฒน์ (อำานวย สีลธโร)
ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเชิงพุทธ)
คณะกรรมการควบคุมสารนิพนธ์
: ผศ.ดร.เติมศักดิ์ ทองอินทร์ พธ.บ., M.A.,
Ph.D. (Pol. Sc.)
: อาจารย์ ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี พธ.บ., พธ.ม.
พธ.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)
วันที่สำาเร็จการศึกษา : ๓๑๑มีนาคม
๒๕๕๘
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (๑) เพื่อศึกษาบทบาทของ
พระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสม
ทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง (๒) เพื่อศึกษา
เปรียบเทียบบทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง
จังหวัดระยอง โดยจำาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (๓) เพื่อศึกษา
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการกำาหนดบทบาทของพระ
สงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสม
ทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง
การวิจัยเรื่องนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed
Research Methodology) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ (Quantitative and Qualitative Researches) ซึ่งเก็บ
ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) โดยกลุ่มตัวอย่างที่
ใช้ในการวิจัยได้แก่ ประชาชนที่เป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์
วัดหนองกันเกรา ตำาบลทางเกวียน อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง ที่
เป็นกลุ่มตัวอย่างจำานวน ๒๓๔ คน จากจำานวนประชากรทั้งหมด
๕๖๑ คน โดยการใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่
ระดับความเชื่อมั่น ๙๕% และความคลาดเคลื่อนของการสุ่ม
ตัวอย่างที่ระดับ ๐.๐๕ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีลักษณะ
(2)
เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ โดยมีค่า
สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .๙๖๗ สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปเพื่อการวิจัยทาง
สังคมศาสตร์ โดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) ในการอธิบายลักษณะข้อมูลทั่วไป เพื่อทดสอบ
สมมติฐานระหว่างตัวแปรที่ทำาการศึกษาว่า มีความสัมพันธ์กันหรือ
ไม่ โดยการใช้การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบค่าเอฟ (F-
Test) ด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way
ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างจึงทาการเปรียบเทียบความแตกต่าง
รายคู่โดยวิธีผลต่างนัยสำาคัญน้อยที่สุด (Least Significant
Difference : LSD)
การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กำาหนดผู้ให้
ข้อมูลหลัก (Key informants) ๙ ท่าน โดยเลือกแบบเจาะจงจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือในการเก็บข้อมูลได้แก่แบบ
สัมภาษณ์เชิงลึกที่มีโครงสร้าง( structured in-depth-interview)
เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview)
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนาความ (descriptive
interpretation)
ผลการวิจัย พบว่า
๑. ความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ที่มีต่อ
บทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัด
ระยอง โดยภาพรวมทั้ง ๔ ด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน (= ๓.๖๙,
S.D.= ๐.๖๓) เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า สมาชิกกลุ่มสัจจะ
สะสมทรัพย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน
๒. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่มสัจจะ
สะสมทรัพย์ที่มีต่อบทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอ
แกลง จังหวัดระยอง โดยจำาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ
อายุ วุฒิการศึกษา อาชีพ และรายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือน พบว่า
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพที่ทำาให้ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิด
เห็นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕
๓. ปัญหาในการกำาหนดบทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเก
(3)
รา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง ส่วนใหญ่จะเกิดจากความบกพร่อง
ควรพัฒนากลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ ด้วยหลักฆราวาสธรรม ๔ ให้มี
สัจจะ ในการออม มีทมะ ในการกู้ มีขันติ ในการส่งคืน และมีจา
คะ ในการรับสวัสดิการ-รับปันผล หลีกเลี่ยงอบายมุข มีสุขกับการ
รักษากาย วาจา โดยปกติ
๔. ผลจากการสัมภาษณ์ พบว่า ควรเน้นการดำาเนินชีวิต
ตามฆราวาสธรรม และศีลธรรม น้อมนำาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง
หลีกเลี่ยงอบายมุข เป็นสุขกับค่านิยมที่เหมาะสม เท่านั้น ต้อง
คำานึงว่า บางสิ่งแม้ถูกกฎหมาย แต่ผิดศีลธรรม ก็ไม่ควร กลุ่ม
สัจจะ จะเข้มแข็งต้องร่วมแรงพัฒนา
(4)
Research Paper Title : The Roles of Sangha
towards life quality development of the
people of Wat Nongkankraw
Saccasasomsap Saving Group in
Klaeng District, Rayong Province
Researcher : Phraskhruborwornsilawat (Amnoy
Silatharo)
Degree : Master of Arts (Buddhist Management)
Research Paper Supervisory Committee
: Asst. Prof. Dr. Termsak
Thong-in, B.A., M.A., Ph.D.(Pol. Sc.)
:Dr. Thitiwut Manmee, B.A., M.A., Ph.D.
(Pub. Admin.)
Date of Graduation : March 31, 2015
ABSTRACT
The objectives of this research were 1) to study the
Roles of Sangha towards life quality development of the
people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving
Group in Klaeng District, Rayong Province, 2) to study the
comparison of the Roles of Sangha towards life quality
development of the people of Wat Nongkankraw
Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong
Province, classified by personal factors, 3) to study the
problems, obstacles and suggestions about the Roles of
Sangha towards life quality development of the people of
Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in
Klaeng District, Rayong Province.
The research methodology was the mixed research
method between the quantitative research by qualitative
research that collected the data by questionnaires. The
sampling group of this research was the 234 people out of
561 total populations of the people of Wat Nongkankraw
(5)
Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong
Province by using the Taro Yamane’s formula with
reliability test at 95.00 percent and error test at 0.05. The
tool to use was the questionnaire with five scales with
Gemini efficient to reliability test at .967. The statistics for
data analysis was ready programme for research of social
sciences. The research had the data analysis by frequency,
percentage, mean, standard deviation; SD, t-test with two
variables and F-test by one way analysis of variance;
ANOVA with three variables, and test the differences of the
average pairing with the Least Significant Difference: LSD.
As for the qualitative research method, 7 key
informants purposefully selected from experts. The tools
used to collect data were structured in-depth-interview,
collecting data by face to face in-depth-interviewing and
analyzing data by descriptive interpretation
The findings of this research were as follows :
1. The opinions of members of Saccasasomsap
Saving Group to the Roles of Sangha towards life quality
development of the people of Wat Nongkankraw
Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District,
Rayong Province in overall for four aspects, found that it
was at high level for al ( = 3.69, S.D. = 0.63). When
considered in each side, found that the members of
Saccasasomsap Saving Group, had the opinions at high
level for all aspects.
2. The findings of comparative analysis the
opinions of members of Saccasasomsap Saving Group
to Roles of Sangha towards life quality development of
the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving
Group in Klaeng District , Rayong Province, classified by
personal factors like gender, age, education, career and
income per month , found that the personal factors made
(6)
the correspondents had the opinion differently such as
career as the significantly statistics at 0.05.
3. The findings of the study for problems, obstacle
and guidelines for the solution of the Roles of Sangha
towards life quality development of the people of Wat
Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng
District, Rayong Province as follows : for consciousness
aspect, the major problems were the drug addiction, over
enjoyment destroyed the good consciousness.
Suggestions : should use Karawasdhamma IV or
Virtues for good household life to improve the members of
promising from saving, Self controlling from borrowing,
Patience for returning and had the charity for receiving the
welfare, dividend.
For knowledge : majority of members was low educated
people, should train the addition of knowledge for high
efficiency. For morality promotion, members lacked of
mind control, lacked budget, should promote the suitable
values, add the alternative skills, cultivate the honour. For
advise, majority of people did not understand the advising
and to meet the advisors with difficulty, should open the
opportunity for people who have the problem to meet the
advisors easily for the motivation of problem solution.
4. The findings of interview : follows for mind
consciousness, should focus on the way of life according
to Karawasdhamma IV or Virtues for good household life
and sufficiency economy, avoiding from bad actions or
intoxicants. For learning, should train the knowledge from
experts only. For morality promotion, should support the
members to have the good consciousness. For advise,
should set up the temple as the learningcenter of
community.
(7)
กิตติกรรมประกาศ
สารนิพนธ์ฉบับนี้ สำาเร็จลุล่วงได้ ด้วยความเมตตานุเคราะห์
ของคณะกรรมการที่ปรึกษาสารนิพนธ์ อันประกอบด้วย ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.เติมศักดิ์ ทองอินทร์ และอาจารย์ ดร.ธิติวุฒิ
หมั่นมี ที่ได้กรุณาให้คำาปรึกษาแนะนำาในการปรับปรุงแก้ไขมาโดย
ตลอดและคณาจารย์ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาการต่างๆจนทำาให้
งานวิจัยดำาเนินไปได้อย่างราบรื่น กราบขอบพระคุณประธาน
กรรมการตรวจสอบป้องกันสารนิพนธ์ ซึ่งประกอบด้วย พระครูปุริ
มานุรักษ์ (ประสิทธิ์ ธุรสิทฺโธ), รศ.ดร. อาจารย์ ดร.มงคล คำามูล
อาจารย์ ดร.ยุทธนา ปราณีต ที่ได้เมตตาอนุเคราะห์ให้ข้อเสนอ
แนะแก้ไขสารนิพนธ์เล่มนี้เป็นอย่างดียิ่ง
ขอกราบขอบพระคุณ พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร,ดร.
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย พระครูปริยัติกิตติธำารง คณบดีคณะสังคมศาสตร์ ขอ
เจริญพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพล สุยะพรหม ผู้อำานวยการ
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ และสาขา
วิชารัฐประศาสนศาสตร์ ที่ได้กรุณาให้คำาชี้แนะแนวทาง และ
ช่วยตรวจแก้ไขในข้อที่บกพร่องต่างๆ ให้มีความชัดเจนถูกต้อง
สำาเร็จได้
ขอเจริญพรขอบคุณ ดร.พิเชฐ ทั่งโต ผศ.ดร.ธัชชนันท์ อิศร
เดช อาจารย์ ดร.ยุทธนา ปราณีต
อาจารย์ ดร.บุษกร วัฒนบุตร และอาจารย์ ดร.นพดล ดีไธสงค์ ที่
กรุณาช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องมือในการวิจัยทั้งด้าน
ภาษา และเนื้อหา
นอกจากนี้ ผู้วิจัยขอขอบคุณขอบใจผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง ๙
ท่าน ที่ได้ให้สัมภาษณ์ สมาชิกกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเก
รา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยที่ได้
ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถาม และเก็บรวบรวมข้อมูลส่งคืนผู้
วิจัยเป็นอย่างดี และสุดท้ายนี้ ผู้วิจัยขอขอบคุณ คณาจารย์ทุกรูป
ทุกท่าน และเจ้าหน้าที่ทุกคน ที่ได้ให้ความรู้ ประสิทธิ์ประสาท
วิทยาการ และประสบการณ์
รวมถึงให้ความเมตตาเอื้อเฟื้อ ถ่ายทอดความรู้ ความ
เข้าใจเป็นอย่างดียิ่ง ตลอดจนเพื่อนๆ ที่ให้ความช่วยเหลือและเป็น
(8)
กำาลังใจอย่างดีเสมอมา คุณูปการใดๆ ที่เกิดจากการทำางานวิจัยนี้ ผู้
วิจัยขอน้อมถวายเป็นสักการบูชาเป็นกตเวทิตาคุณแด่พระรัตนตรัย
บิดามารดา ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ญาติสนิทมิตรสหาย ที่เป็นกำาลัง
ใจสนับสนุนในทุกๆ เรื่อง รวมทั้งท่านเจ้าของตำารา ที่ผู้วิจัยใช้เพื่อ
การศึกษาค้นคว้า ตลอดถึงผู้มีอุปการคุณทุกท่าน ไว้ ณ ที่นี้
พระครูบวรศีลวัฒน์ (อำานวย สีลธโร)
๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

More Related Content

Similar to 3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ

สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56Ttmed Psu
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลงApichai Khuneepong
 
เทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTเทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTWebsite_SEO _Boy
 
12.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 812.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 8Junior Bush
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”นู๋หนึ่ง nooneung
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือjoongka3332
 
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...พรทิพย์ สิงหรา
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...nattasorn kamonmal
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1Aom Chamchoi
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 

Similar to 3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ (20)

สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลงการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
เทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTเทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBT
 
T4
T4T4
T4
 
20
2020
20
 
12.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 812.ส่วนที่ 8
12.ส่วนที่ 8
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
ความต้องการด้านการส่งเสริมกีฬาและสุขภาพ1
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 

3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ

  • 1. (1) ชื่อสารนิพนธ์ : บทบาทพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง ผู้วิจัย : พระครูบวรศีลวัฒน์ (อำานวย สีลธโร) ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเชิงพุทธ) คณะกรรมการควบคุมสารนิพนธ์ : ผศ.ดร.เติมศักดิ์ ทองอินทร์ พธ.บ., M.A., Ph.D. (Pol. Sc.) : อาจารย์ ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี พธ.บ., พธ.ม. พธ.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) วันที่สำาเร็จการศึกษา : ๓๑๑มีนาคม ๒๕๕๘ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (๑) เพื่อศึกษาบทบาทของ พระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสม ทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง (๒) เพื่อศึกษา เปรียบเทียบบทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง โดยจำาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (๓) เพื่อศึกษา ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการกำาหนดบทบาทของพระ สงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสม ทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง การวิจัยเรื่องนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Research Methodology) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ (Quantitative and Qualitative Researches) ซึ่งเก็บ ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) โดยกลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยได้แก่ ประชาชนที่เป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ วัดหนองกันเกรา ตำาบลทางเกวียน อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง ที่ เป็นกลุ่มตัวอย่างจำานวน ๒๓๔ คน จากจำานวนประชากรทั้งหมด ๕๖๑ คน โดยการใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่ ระดับความเชื่อมั่น ๙๕% และความคลาดเคลื่อนของการสุ่ม ตัวอย่างที่ระดับ ๐.๐๕ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีลักษณะ
  • 2. (2) เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ โดยมีค่า สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .๙๖๗ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปเพื่อการวิจัยทาง สังคมศาสตร์ โดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ในการอธิบายลักษณะข้อมูลทั่วไป เพื่อทดสอบ สมมติฐานระหว่างตัวแปรที่ทำาการศึกษาว่า มีความสัมพันธ์กันหรือ ไม่ โดยการใช้การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบค่าเอฟ (F- Test) ด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างจึงทาการเปรียบเทียบความแตกต่าง รายคู่โดยวิธีผลต่างนัยสำาคัญน้อยที่สุด (Least Significant Difference : LSD) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กำาหนดผู้ให้ ข้อมูลหลัก (Key informants) ๙ ท่าน โดยเลือกแบบเจาะจงจาก ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือในการเก็บข้อมูลได้แก่แบบ สัมภาษณ์เชิงลึกที่มีโครงสร้าง( structured in-depth-interview) เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนาความ (descriptive interpretation) ผลการวิจัย พบว่า ๑. ความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ที่มีต่อ บทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอแกลง จังหวัด ระยอง โดยภาพรวมทั้ง ๔ ด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน (= ๓.๖๙, S.D.= ๐.๖๓) เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า สมาชิกกลุ่มสัจจะ สะสมทรัพย์มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน ๒. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของสมาชิกกลุ่มสัจจะ สะสมทรัพย์ที่มีต่อบทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเกรา อำาเภอ แกลง จังหวัดระยอง โดยจำาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา อาชีพ และรายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพที่ทำาให้ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิด เห็นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ๓. ปัญหาในการกำาหนดบทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเก
  • 3. (3) รา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง ส่วนใหญ่จะเกิดจากความบกพร่อง ควรพัฒนากลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ ด้วยหลักฆราวาสธรรม ๔ ให้มี สัจจะ ในการออม มีทมะ ในการกู้ มีขันติ ในการส่งคืน และมีจา คะ ในการรับสวัสดิการ-รับปันผล หลีกเลี่ยงอบายมุข มีสุขกับการ รักษากาย วาจา โดยปกติ ๔. ผลจากการสัมภาษณ์ พบว่า ควรเน้นการดำาเนินชีวิต ตามฆราวาสธรรม และศีลธรรม น้อมนำาชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงอบายมุข เป็นสุขกับค่านิยมที่เหมาะสม เท่านั้น ต้อง คำานึงว่า บางสิ่งแม้ถูกกฎหมาย แต่ผิดศีลธรรม ก็ไม่ควร กลุ่ม สัจจะ จะเข้มแข็งต้องร่วมแรงพัฒนา
  • 4. (4) Research Paper Title : The Roles of Sangha towards life quality development of the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong Province Researcher : Phraskhruborwornsilawat (Amnoy Silatharo) Degree : Master of Arts (Buddhist Management) Research Paper Supervisory Committee : Asst. Prof. Dr. Termsak Thong-in, B.A., M.A., Ph.D.(Pol. Sc.) :Dr. Thitiwut Manmee, B.A., M.A., Ph.D. (Pub. Admin.) Date of Graduation : March 31, 2015 ABSTRACT The objectives of this research were 1) to study the Roles of Sangha towards life quality development of the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong Province, 2) to study the comparison of the Roles of Sangha towards life quality development of the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong Province, classified by personal factors, 3) to study the problems, obstacles and suggestions about the Roles of Sangha towards life quality development of the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong Province. The research methodology was the mixed research method between the quantitative research by qualitative research that collected the data by questionnaires. The sampling group of this research was the 234 people out of 561 total populations of the people of Wat Nongkankraw
  • 5. (5) Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong Province by using the Taro Yamane’s formula with reliability test at 95.00 percent and error test at 0.05. The tool to use was the questionnaire with five scales with Gemini efficient to reliability test at .967. The statistics for data analysis was ready programme for research of social sciences. The research had the data analysis by frequency, percentage, mean, standard deviation; SD, t-test with two variables and F-test by one way analysis of variance; ANOVA with three variables, and test the differences of the average pairing with the Least Significant Difference: LSD. As for the qualitative research method, 7 key informants purposefully selected from experts. The tools used to collect data were structured in-depth-interview, collecting data by face to face in-depth-interviewing and analyzing data by descriptive interpretation The findings of this research were as follows : 1. The opinions of members of Saccasasomsap Saving Group to the Roles of Sangha towards life quality development of the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong Province in overall for four aspects, found that it was at high level for al ( = 3.69, S.D. = 0.63). When considered in each side, found that the members of Saccasasomsap Saving Group, had the opinions at high level for all aspects. 2. The findings of comparative analysis the opinions of members of Saccasasomsap Saving Group to Roles of Sangha towards life quality development of the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District , Rayong Province, classified by personal factors like gender, age, education, career and income per month , found that the personal factors made
  • 6. (6) the correspondents had the opinion differently such as career as the significantly statistics at 0.05. 3. The findings of the study for problems, obstacle and guidelines for the solution of the Roles of Sangha towards life quality development of the people of Wat Nongkankraw Saccasasomsap Saving Group in Klaeng District, Rayong Province as follows : for consciousness aspect, the major problems were the drug addiction, over enjoyment destroyed the good consciousness. Suggestions : should use Karawasdhamma IV or Virtues for good household life to improve the members of promising from saving, Self controlling from borrowing, Patience for returning and had the charity for receiving the welfare, dividend. For knowledge : majority of members was low educated people, should train the addition of knowledge for high efficiency. For morality promotion, members lacked of mind control, lacked budget, should promote the suitable values, add the alternative skills, cultivate the honour. For advise, majority of people did not understand the advising and to meet the advisors with difficulty, should open the opportunity for people who have the problem to meet the advisors easily for the motivation of problem solution. 4. The findings of interview : follows for mind consciousness, should focus on the way of life according to Karawasdhamma IV or Virtues for good household life and sufficiency economy, avoiding from bad actions or intoxicants. For learning, should train the knowledge from experts only. For morality promotion, should support the members to have the good consciousness. For advise, should set up the temple as the learningcenter of community.
  • 7. (7) กิตติกรรมประกาศ สารนิพนธ์ฉบับนี้ สำาเร็จลุล่วงได้ ด้วยความเมตตานุเคราะห์ ของคณะกรรมการที่ปรึกษาสารนิพนธ์ อันประกอบด้วย ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.เติมศักดิ์ ทองอินทร์ และอาจารย์ ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี ที่ได้กรุณาให้คำาปรึกษาแนะนำาในการปรับปรุงแก้ไขมาโดย ตลอดและคณาจารย์ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาการต่างๆจนทำาให้ งานวิจัยดำาเนินไปได้อย่างราบรื่น กราบขอบพระคุณประธาน กรรมการตรวจสอบป้องกันสารนิพนธ์ ซึ่งประกอบด้วย พระครูปุริ มานุรักษ์ (ประสิทธิ์ ธุรสิทฺโธ), รศ.ดร. อาจารย์ ดร.มงคล คำามูล อาจารย์ ดร.ยุทธนา ปราณีต ที่ได้เมตตาอนุเคราะห์ให้ข้อเสนอ แนะแก้ไขสารนิพนธ์เล่มนี้เป็นอย่างดียิ่ง ขอกราบขอบพระคุณ พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร,ดร. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย พระครูปริยัติกิตติธำารง คณบดีคณะสังคมศาสตร์ ขอ เจริญพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพล สุยะพรหม ผู้อำานวยการ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ และสาขา วิชารัฐประศาสนศาสตร์ ที่ได้กรุณาให้คำาชี้แนะแนวทาง และ ช่วยตรวจแก้ไขในข้อที่บกพร่องต่างๆ ให้มีความชัดเจนถูกต้อง สำาเร็จได้ ขอเจริญพรขอบคุณ ดร.พิเชฐ ทั่งโต ผศ.ดร.ธัชชนันท์ อิศร เดช อาจารย์ ดร.ยุทธนา ปราณีต อาจารย์ ดร.บุษกร วัฒนบุตร และอาจารย์ ดร.นพดล ดีไธสงค์ ที่ กรุณาช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องมือในการวิจัยทั้งด้าน ภาษา และเนื้อหา นอกจากนี้ ผู้วิจัยขอขอบคุณขอบใจผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง ๙ ท่าน ที่ได้ให้สัมภาษณ์ สมาชิกกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์วัดหนองกันเก รา อำาเภอแกลง จังหวัดระยอง ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยที่ได้ ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถาม และเก็บรวบรวมข้อมูลส่งคืนผู้ วิจัยเป็นอย่างดี และสุดท้ายนี้ ผู้วิจัยขอขอบคุณ คณาจารย์ทุกรูป ทุกท่าน และเจ้าหน้าที่ทุกคน ที่ได้ให้ความรู้ ประสิทธิ์ประสาท วิทยาการ และประสบการณ์ รวมถึงให้ความเมตตาเอื้อเฟื้อ ถ่ายทอดความรู้ ความ เข้าใจเป็นอย่างดียิ่ง ตลอดจนเพื่อนๆ ที่ให้ความช่วยเหลือและเป็น
  • 8. (8) กำาลังใจอย่างดีเสมอมา คุณูปการใดๆ ที่เกิดจากการทำางานวิจัยนี้ ผู้ วิจัยขอน้อมถวายเป็นสักการบูชาเป็นกตเวทิตาคุณแด่พระรัตนตรัย บิดามารดา ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ญาติสนิทมิตรสหาย ที่เป็นกำาลัง ใจสนับสนุนในทุกๆ เรื่อง รวมทั้งท่านเจ้าของตำารา ที่ผู้วิจัยใช้เพื่อ การศึกษาค้นคว้า ตลอดถึงผู้มีอุปการคุณทุกท่าน ไว้ ณ ที่นี้ พระครูบวรศีลวัฒน์ (อำานวย สีลธโร) ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘