SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
กลุ่ม ก.เอ๋ย ก.ไก่
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่
54212112 นางสาวณิชมน ศิริรักษ์
54212114 นายธีรนัย ศรีเกลี้ยง
54212129 นายสมชัย กีรติพงศ์
54212133 นายอิสระพันธ์ บานทรงกิจ
54212138 นายชาติเฉลิม วงศ์แกล้ว
54212140 นายธัญเทพ ชิณวงษ์
54212147 นางสาววาสิตา อาไพเมือง
54212153 นายโยธิน พรหมวงศา
54212119 นายพฤธ เบญจจินดา
54212118 นายปกิณกะ หมวดทองอ่อน
ชื่อเรื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
หวัดเชียงใหม่
ผู้เขียน นางสาวกานดาพันธุ์ วันทยะ
ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเมือง)
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์งานคือ ศึกษา เรียนร้ และทําความเข้าใจ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียง
และการทําเกษตรทฤษฏีใหม่ ตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และเพื่อวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของ
เกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีข้อมูลจากเกษตรกร
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 64 ราย โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive
Statistics)การใช้มาตรวัดแบบ Rating Scale การแปรความหมายระดับคะแนน เฉลี่ยตามวิธีของ Likert
และแบบจําลองโลจิท (LogitModel) ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์การประมาณภาวะความนําจะเป็นสูงสุด
)doomele im mumiaaMEaemeoemam diE(
ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า
ปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจัง
หวัดเชียงใหม่ คือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี มีผลต่อการพึ่งพา ตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ
ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.05, ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.01,
ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.05, ปัจจัยด้านจิตใจ ณ
ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.05 และปัจจัยด้านสังคม ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.10
บทที่ 1
บทนา
เนื่องจากประชาชนกว่าร้อยละ 50 ในประเทศไทย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทําให้บทบาท
ภาคการเกษตร เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสําคัญที่ช่วยให้ประเทศมีความมั่นคง แต่ระบบนิเวศในปัจจุบัน
เปลี่ยนไป เนื่องจากการกระทําต่าง ๆ ของมนุษย์ ทําให้แหล่งนํ้าตื้นเขิน เป็นปัจจัยก่อให้เกิดนํ้าท่วม
และปัญหาการขาดเเคลนนํ้าในช่วงหน้าแล้ง ส่งผลให้เกษตรกร ได้รับความเดือดร้อน ผลผลิตเสียหาย
รายได้ไม่พอเลี้ยงชีพ และเกิดปัญหาหนี้สิน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงตระหนักถึงปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้
ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” แก่พสกนิกรชาวไทย
นับตั้งแต่ปี พ .ศ.52.ศ สําหรับในด้านการพัฒนาอาชีพของประชาชนในชนบท ได้พระราชทานแนวทาง
ครั้งสําคัญเมื่อ พ.ศ .5255 ซึ่งต่อมาประชาราษฎรได้รู้จักกันอย่างดีใน นามของเกษตร "ทฤษฎีใหม่"
เศรษฐกิจพอเพียงในแนวทางการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อแก่ไขปัญหาการเกษตร
เป็นแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การบริหารงานในการทําการเกษตร
ระดับไร่นาคือที่ดินและนํ้าเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยให้มีการจัดสร้าง
แหล่งนํ้าในที่ดินสําหรับการทําการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อให้เกษตรกรมีความสามารถเลี้ยงตัวเองได้
ให้มีรายได้ไว้ใช้จ่ายและมีอาหารไว้บริโภคตลอดปี หลักการพึ่งตนเองตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยการพึ่งตนเอง 5 ด้าน คือ
1. ด้านเทคโนโลยี (Technology: T)
2. ด้านเศรษฐกิจ (Economic: E)
3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Resource: R)
4. ด้านจิตใจ (Mental: M)
5. ด้านสังคมวัฒนธรรม (Social: S)
- การผลิต
- การตลาด
- ความเป็นอยู่
- สวัสดิการ
- การศึกษา
- สังคมและศาสนา
บทที่2
กรอบแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
"เศรษฐกิจพอเพียง"
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก
ระดับพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนินไปทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง
การพอประมาณ
ความมีเหตุผลรวมถึงความจําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
หลักการพึ่งตนเอง
ด้านจิตใจ m ทําตนให้เป็นที่พึ่งตนเอง มีจิตสํานึกที่ดี เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
ด้านสังคม m แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงกัน เป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรง
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม m ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด
พร้อมทั้งหาทางเพิ่มมูลค่า
ด้านเทคโนโลยี m เลือกใช้เทคโนโลยีเฉพาะที่สอดคล้องกับความต้องการ และสภาพแวดล้อม
ด้านเศรษฐกิจ m จะต้องมุ่งลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เป็นสําคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน
พอใช้
นัยสาคัญของแนวความคิดระบบเศรษฐกิจพอเพียง
ประการแรก m เป็นระบบเศรษฐกิจที่ยึดถือหลักการที่ว่า "ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน"
โดยมุ่งเน้นการผลิตพืชผลให้เพียงพอ กับความต้องการบริโภคในครัวเรือนเป็นอันดับแรก
เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแล้ว จึงคํานึงถึงการผลิตเพื่อการค้าเป็นอันดับรองลงมา
ผลผลิตส่วนเกินที่ออกสู่ตลาดก็จะเป็นทําไรของเกษตรกร
ประการที่สอง m เศรษฐกิจพอเพียงให้ความสําคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ทั้งนี้
กลุ่มชาวบ้านจะทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ให้หลากหลาย
ครอบคลุมทั้งการเกษตรแบบผสมผสานหัตถกรรมการแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจค้าขาย
และการท่องเที่ยวระดับชุมชน
ประการที่สาม m เศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีความเมตตา
ความเอื้ออาทร และความสามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการร่วมแรงร่วมใจ เพื่อประกอบอาชีพต่างๆ
ให้บรรลุผลสําเร็จ
ความหมายเชิงทฤษฎี
ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สามารถจําแนกองค์ประกอบของหลักปรัชญาฯเป็น5 ส่วนได้แก่
กรอบแนวคิด m
ชี้แนะแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นบนพื้นฐานวิถีชีวิตดั่งเดิมของสังคมไทย
คุณลักษณะและคานิยาม m ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ คือ
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
เงื่อนไข m
การตัดสินใจในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยเงื่อนไขความรู้คว
บคู่กับเงื่อนไขคุณธรรม
ความพอเพียง m เป็นทั้งแนวทางปฏิบัติหรือวิธีการ และผลของการกระทําที่คาดว่าจะได้รับ
โดยคํานึงถึงความสมดุล บนพื้นฐานของความพอประมาณ อย่างมีเหตุผล
2.1.2 ทฤษฎีใหม่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงทราบสภาพปัญหาการขาดแคลนนํ้า
เพื่อการปลูกข้าวและเกิดแรงดลพระราชหฤทัย อันเป็นแนวคิดขึ้นว่า
1) ข้าวหากได้นํ้าเพียงพอจะสามารถเพิ่มปริมาณเม็ดข้าวได้มากยิ่งขึ้น
2) หากเก็บนํ้าฝนที่ตกลงมาไว้
เมื่อนํามาใช้เพาะปลูกที่จะสามารถเก็บเกี่ยวได้มากยิ่งขึ้นเช่นกัน
3) การสร้างอ่างเก็บนํ้าขนาดใหญ่นั้นยาก
4) หากแต่ละครัวเรือนมีสระนํ้าประจําไร่นาทุกครัวเรือนแล้ว
เมื่อรวมปริมาณกันก็ย่อมเท่ากับปริมาณในอ่างเก็บนํ้าขนาดใหญ่
ในเวลาต่อมาได้พระราชทานพระราชดําริให้ทําการทดลอง"ทฤษฎีใหม่"เกี่ยวกับการจัดการที่ดิ
นและแหล่งนํ้า เพื่อการเกษตรขึ้น
แนวทฤษฎีใหม่กําหนดขึ้นแบ่งพื้นที่ถือครองทางการเกษตรออกเป็นสัดส่วน 30-30-30-10
คือ
ส่วนที่หนึ่ง m ร้อยละ 30 ให้ทําการขุดสระกักเก็บนํ้าไว้ใช้ในการเพาะปลูก โดยรองนํ้าจากนํ้าฝน
ส่วนที่สอง m ร้อยละ 60 เป็นพื้นที่ทําการเกษตรปลูกพืชผลต่างๆ โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็นสองส่วน คือ
ร้อยละ 30 ในส่วนที่หนึ่ง ให้ทํานาข้าว และร้อยละ 30 ในส่วนที่สอง
ให้ปลูกพืชไร่หรือพืชสวนตามแต่สภาพของพื้นที่
ส่วนที่สาม m ร้อยละ 10 เป็นพื้นที่ที่เหลือ จัดเป็นที่อยู่อาศัย ถนนหนทาง
ตลอดจนปลูกพืชสวนครัวและเลี้ยงสัตว์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดําริอันเป็นหลักปฏิบัติสําคัญยิ่งในก
ารดําเนินการ คือ
1) วิธีนี้สามารถใช้ปฏิบัติได้กับเกษตรกรที่เป็นเจ้าของที่ดิน ที่มีพื้นที่ดินจํานวนน้อย
2) มุ่งเน้นให้เกษตรกรมีความพอเพียงในการเลี้ยงตัวเองได้
3) กําหนดจุดมุ่งหมายให้สามารถผลิตข้าวบริโภคได้เพียงพอทั้งปี
ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวพระราชดําริใหม่
ที่ได้รับการพิสูจน์และยอมรับกันอย่างกว้างขวางในหมู่เกษตรกรไทยแล้วว่า
พระราชดําริของพระองค์เกิดขึ้นด้วยพระอัจฉริยภาพสูงส่งที่สามารถนําไปปฏิบัติใช้ได้อย่างแท้จริง
2.1.3 ทฤษฎีการพึ่งตนเอง
แนวคิดการพึ่งตนเองมีจุดกําเนิดจาก
ความพยายามที่จะพัฒนาประเทศด้อยพลังและศักยภาพของตนเองหรือชุมชน
เพื่อเป็นการลดภาระการพึ่งพาความช่วยเหลือในด้านต่างๆจากภายนอกชุมชน
อีกทั้งยังเป็นการลดภาวะยากจนและถูกกดขี่ของประเทศหรือชุมชนอีกด้วย
แนวคิดของการพึ่งตนเอง
สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้ความหมายของการพึ่งตนเองว่า
1) เป็นความสามารถที่เป็นตัวของตัวเองในทางความคิด โดยมีการมองปัญหาต่างๆ
การตัดสินใจด้วยตัวเอง
2)
ในการตัดสินใจดําเนินการโดยสถาบันของชุมชนเพื่อประโยชน์ของชุมชนทั้งในด้านการแก้ปัญหาและกา
รพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน
3) เป็นการพึ่งตนเองที่ไม่นําไปสู่การพึ่งพาเป็นการพึ่งพาอาศัยอย่างรู้เท่าทัน
4) กรอบการมองจะต้องไม่มุ่งแข่งขันกัน แต่เป็นการช่วยเหลือกัน
สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย )2538: (2) 4-5)
ได้ทําการวิจัยการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจในชนบท เพื่อกําหนดกรอบความคิดว่า
ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้จะต้องประกอบด้วยการพึ่งตนเอง
5 ด้านคือ
1) ด้านเทคโนโลยี
2) ด้านเศรษฐกิจ
3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4) ด้านจิตใจ
5) ด้านสังคมวัฒนธรรม
ประเวศ วะสี )2530: 33-35) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบสําคัญ 5 ประการ ในการพัฒนาชุมชน
ดังนี้ จิตใจที่เป็นธรรม แบบแผนการผลิต ความสมดุลของธรรมชาติแวดล้อม การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ
ชีวิตชุมชนและวัฒนธรรม
สัญญา สัญญาวิวัฒน์ )2544) ได้กล่าวถึงแบบจําลองการพึ่งตนเองว่าจะต้องพึ่งตนเองให้ได้ 5
ประการ คือ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จิตใจ สังคม
มองในเชิงทฤษฎี กล่าวได้ว่าการพึ่งตนเองที่ประกอบด้วยปัจจัย 5
ประเภทนั้นเป็นการพึ่งตนเองย่างสมบูรณ์ แต่การพึ่งตนเองจะต้องอาศัยปัจจัยอีก 4 ประการ คือ
การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจของสังคมไทยจะต้องาศัยการพึ่งตนเองทางจิตใจ สังคงวัฒนธรรมเทคโนโลยี
และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติด้วย
2.1.4 แนวคิดการพัฒนาการพึ่งตนเอง
การพึ่งตนเองของวิบูลย์ เข็มเฉลิม )2549) กับ อยู่ สุมทรชัย )2544) มาสังเคราะห์รวมกัน
จะเห็นตัวร่วม
อยู่ 3 ประการ
1) การพึ่งตนเองกันมาอยู่ในองค์ความรู้ในพุทธศาสนา
2) การพึ่งตนเองในแนวประชาชนเสนอ
ไม่ได้เสนอให้เพิ่มมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจเป็นด้านหลัก แต่เสนอให้เพิ่มสติ
เพิ่มหลักในการมองทางออก
3) ชาวบ้านเสนอให้สร้างเงื่อนไขการพึ่งพาตนเองแบบครบวงจร
คือเปลี่ยนฐานการผลิตจากข้าวไปกระจายความเสี่ยงในเรื่องไร่นาส่วนผสม
2.1.5 ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
ได้มีผู้ให้ความหมายคําว่า "การมีส่วนร่วม" ที่หลากหลาย
และมีความแตกต่างกันไปตามความเข้าใจและประสบการณ์ของแต่บุคคล ดังนี้
ยุวิฒน์ วุฒิเมธี)2534: 207) ให้ความหมายไว้ว่า
เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคิดริเริ่มพัฒนา การตัดสินใจ
และการรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ
นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์ )2527: 117) ให้ความหมายว่า หมายถึงความเกี่ยวข้องทางด้านจิตใจ
และอารมณ์ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ์หนึ่ง ซึ่งผลเกี่ยวข้องดังกล่าว
เป็นเหตุเร้าใจให้กระทําการบรรลุจุดมุ่งหมายของกลุ่มนั้น ทําให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกัน
ทศพล กฤตยพิสิฐ )2538: 10) สุเมธ ทรายแก้ว )2536: 15) ได้ให้ความหมายว่า
การที่ชุมชนมีความเห็นพ้องต้องกัน
แล้วมีการแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วมกันที่จะเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของตน
มีความร่วมมือและรับผิดชอบในกิจกรรมการพัฒนาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
สามารถคิดวิเคราะห์และตัดสินใจเพื่อกําหนดการดําเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง
กล่าวโดยสรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานั้น
คือการให้โอกาสประชาชนในการตัดสินใจ
กําหนดปัญหาความต้องการของตนเองอย่างแท้จริงเป็นการเสริมพลังอํานาจให้แก่ประชาชน
สามารถกําหนดการดํารงชีวิตได้ด้วยตนเอง
2.1.6 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาควรมีลักษณะที่สําคัญ 3 ประการคือ
1) เป็นโครงการขนาดเล็กที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น
2) มีความสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
3) ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา
กล่าวคือ
โครงการที่เหมาะสมจะต้องเป็นโครงการขนาดเล็กที่มีความยืดหยุ่นสูงสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของชุ
มชน ตั้งยู่บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เน้นความสมดุลระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง
และระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
โดยการพัฒนาในแนวทางนี้จะช่วยลดการพึ่งพาของชุมชนต่อปัจจัยภายนอก
การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นมีลักษณะเป็นการพัฒนาที่เป็นการบูรณาการ คือทําให้เกิดองค์รวม
ทําให้ธรรมชาติแวดล้อมกับเศรษฐกิจถูกบูรณาการเข้าด้วยกัน เกิดสภาวะที่เรียกว่า "สภาวะที่ยั่งยืน"
ทั้งในด้านเศรษฐกิจ และในสภาพแวดล้อม
2.1.7 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน
ประเวศ วะสี (2538) ได้เน้นความสําคัญของการพัฒนาด้วยวัฒนธรรมคือ
“การมีองค์กรชุมชนอันเกิดจากการรวมตัวของชาวบ้าน
ทําให้มีศักยภาพในการทํางานสูงขึ้นและจะทําให้เกิดพลังในการแก้ปัญหา”
ฉั ต ร ทิ พ ย์ น า ถ สุ ภ า ( 2536)
สรุปสาระที่สําคัญเกี่ยวกับแนวคิดวัฒนธรรมชุมชนไว้ว่ามีลักษณะสําคัญ คือ ความเป็นอนาธิปไตย์
) Anarchism) คื อ ไ ม่ ใ ห้ ค ว า ม สํ า คั ญ แ ก่ บ ท บ า ท ข อ ง ภ า ค รั ฐ
แต่เน้นการพึ่งตนเองผสานการพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรมและอุดมการณ์/ความเชื่อสูงสุดของชุมช
นโดยมองเงื่อนไขความสําเร็จว่าจะเกิดขึ้นได้
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ )2538) ได้สรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
หรือการพัฒนาด้วยวัฒนธรรมชุมชนไว้ 6 ประการ โดยมีสาระสําคัญดังนี้
1. เน้นการ พึ่งตนเอง ปรับกระบวนทัศน์การดํารงชีวิตจาก “การอยู่ดีกินดี” ไปสู่ “การอยู่พอดีกิน พอดี”
2) การเปลี่ยนแบบแผนการผลิต จากการผลิตเชิงพาณิชย์มาเป็นการผลิตเพื่อยังชีพ
เมื่อเหลือจึงนําไปขาย
3) การพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชน
4) การให้ความสําคัญแก่ภูมิปํญญาชาวบ้าน
5) สร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรชุมชน เพื่อให้ มีพลังอํานาจต่อรองกับภาคการเมือง และภาคธุรกิจ
6) สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร
ท้องถิ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการคืนกรรมสิทธิ์ในทรัพยากรท้องถิ่นแก่ชุมชน
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ดวงหทัย วงษ์ราช (2542) ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม
การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ทัศนคติและการเข้าร่วมในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนว พระราชดําริ
ของเกษตรกรในเขตอําเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจํานวน 370 คน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า เกษตรกรที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน เข้าร่วมใน
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่แตกต่างกัน
- การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีให ม่จาก หนังสือพิมพ์เกษตรตําบ ล
และสื่อเฉพาะกิจ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความรู้ที่ได้รับ
- ก า ร
เปิดรับข่าวสารจากสื่อเฉพาะกิจมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติต่อการเกษตรทฤษฎีใหม่
- การ เปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่จากสื่อมวลชน สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจ
มีความสัมพันธ์เชิง บวกกับการเข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
- ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับทัศนคติต่อเกษตรทฤษฎีใหม่
- ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเข้าร่วมโครงการ
- ทัศนคติต่อการเกษตรทฤษฎีใหม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเข้าร่วมโครงการ
การเปิดรับข่าวสารจากสื่อเฉพาะกิจสมารถอธิบายการเข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ได้มาก
ที่สุด
ธ น า นั น ต์ ย ศ บุ ต ร ( 2542) ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง
การจัดการการลงทุนสําหรับระบบเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทฤษฎีใหม่ในพื้นที่ราบลุ่ม
เขตอําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาได้กําหนดพื้นที่โครงการ 15 ไร่ จัดสรรพื้นที่ออกเป็น 4
ส่วน ตามแนวคิดทฤษฎีใหม่ ได้แก่ ที่นา ที่สวน แหล่งนํ้า และที่พักอาศัย สัดส่วน 30 : 30 : 30 : 10
ตามลําดับ จัดตารางการทํางานในช่วงเวลาต่าง ๆ เพื่อคํานว ณห าเงินลงทุ น ราย ได้
และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา และนํามาวิเคราะห์ผลทางด้านการเงิน พบว่ามีผลขาดทุนในปี
2542 และเริ่มมีกําไรในปี 2543-2548 อัตราผลกําไรสุทธิ ตั้งแต่ปี 2542 –2548 เท่ากับ -28.33%,
30.14%, 37.10%, 32.09%, 44.01% แ ล ะ 47.33% ต า ม ลํ า ดั บ
เมื่อพิจารณาจากอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนของโครงการตลอดระยะเวลา 7 ปี คือ 18.98%
ซึ่งมากกว่าอัตราดอกเบี้ย 12% ดังนั้น การจัดการลงทุนดังกล่าวจึงมีความคุ้มค่า
ท วี ศั ก ดิ์ วิ ย ะ ชั ย ( 2543)
ได้วิจัยเรื่องการรับรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่
จํานวน 195 รายเลือกตัวอย่าง จํานวนทั้งสิ้น 98 ราย
จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลและรับรู้ว่าการเกษตรทฤษฎีใหม่
โ ด ย ร้ อ ย ล ะ 8 0
ของเกษตรกรทั้งหมดเห็นด้วยกับหลักการทําการเกษตรทฤษฎีใหม่เนื่องจากทําให้พอกินพอใช้
เจ้าหน้าที่ควรมีการถ่ายทอดความรู้ให้ชัดเจน การจัดสรรพื้นที่ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขคือสภาพของพื้นที่
จํ า น ว น ส ม า ชิ ก ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ห ล่ ง นํ้ า
กิจกรรมการเกษตรและการตลาดแม้เกษตรกรจะมีข้าวบริโภคเพียงพอและมีการรับรู้และการปฏิบัติตาม
ทฤษฎีใหม่ แต่เกษตรกรบางส่วนยังมีปัญหารายได้ไม่พอยังชีพ
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น
ไม่จําเป็ น ต้อง แบ่ ง ในอัต ราส่ว นตามท ฤ ษฎี ขึ้น อยู่ กับ ข น าด และสภ าพข องพื้น ที่
จํ า น ว น ส ม า ชิ ก ใน ค ร อ บ ค รัว แ ห ล่ ง นํ้ า กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ต ล า ด
รัฐบ าลค วรจัดห าสินเชื่ อดอกเบี้ยตํ่ าเพื่อเกษตรกรกู้ยืมไปใช้ในการขุ ดสระนํ้ าในไร่นา
และส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นรายได้เสริม เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ในระยะที่ไม้ผลยังไม่ให้ผลผลิต
พีรวัฒน์ เวศย์วรุตม์ (2544)
ได้ศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจของการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดอุบลราชธานี
โดยการสุ่มตัวอย่างเกษตรกรจํานวน 31 ราย
ผ ล จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า พ บ ว่ า
การทําเกษตรทฤษฎีใหม่มีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจน้อยกว่าการทําเกษตรกระแสหลัก
เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ ไ ด้ ร ว ม เ อ า ต้ น ทุ น ที่ ไ ม่ เ ป็ น ตั ว เ งิ น ไ ด้ แ ก่
แ ร ง ง า น ใ น ค รั ว เ รื อ น แ ล ะ ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต ที่ เ ป็ น ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร
แต่เมื่อนําผลการศึกษาทางด้านกายภาพและทางด้านสังคมของการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ซึ่งเกษตรกรได้
มีก ารป รับ เป ลี่ย น รูป แ บ บ จาก ก ารทํ าเ กษ ต รก ระแส ห ลัก เช่ น ก ารป ลู ก ข้า ว
มันสําปะหลังมาสู่การทําเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มีการผสมผสานระหว่างการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์เป็นผ
ลทําให้การทําเกษตรทฤษฎีใหม่มีความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐกิจมากกว่าการทําเกษตรกระแสหลักได้
สายชล มีบารุง (2544) ได้ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสมาชิกโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริในจังหวัดราช
บุรีจํานวน 86 ราย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสมาชิกโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่มี 7
ประเด็น รายได้ 3 ประเด็น อายุและประสบการณ์ 5 ประเด็น การศึกษา
การได้รับความช่วยเหลือด้านเงินลงทุน และความรู้ . ประเด็น
สิริรัตน์ พิชิตพร (2546) ได้ศึกษาเรื่อง
ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกร
จังหวัดลําพูนซึ่งประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ จํานวน
.02 คน
ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 4ศ.6 มีความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่อยู่ในระดับปานกลาง
ป ร ะ เ ด็ น ที่ รู้คื อ เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ให ม่ จํ า เ ป็ น ต้ อ ง ป ลู ก ข้ า ว ต้ อ ง มี ส ร ะ นํ้ า
เกษตรกรส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับตํ่าปัญหาและอุปสรรคส่วนใหญ่จะขาดแคลนนํ้าด้านการเกษต
ร รองลงมาคือปัญ หาเกี่ยวกับการตลาด เงินทุน โรคละแมลงระบาด ราคาปัจจัยการผลิต
และสภาพดินตามลําดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ของเกษตรกรได้แก่ ระดับการศึกษา
ข น า ด ข อ ง พื้ น ที่ ป ร ะส บ ก าร ณ์ ก า รฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะก าร ติด ต่ อ กั บ เจ้า ห น้ า ที่
ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของเกษตรกร ได้แก่ อายุ รายได้ประสบการณ์ฝึกอบรม
และการติดต่อกับเจ้าหน้าที่
ข้ อ เ ส น อ แ น ะ
คือควรจัดให้มีการฝึกอบรมแก่เกษตรกรที่ไม่เคยได้รับการฝึกอบรมและควรปรับรูปแบบการทําการเกษต
รทฤษฎีใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของภาคเหนือ
เบญจพร ไทยรุ่งโรจน์ (2547) ได้ทําการวิจัยเรื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์จากสระนํ้าในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงให
ม่ จํานวน 95 คน
จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่ า
เกษตรกรที่มีการใช้ป ระโยชน์จากสระนํ้าในโค รงการเกษตรท ฤษฎีให ม่มากที่สุด คือ
การทํานาและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์จากสระนํ้าในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ได้แก่
ขนาดพื้นที่ทํากิน แหล่งความรู้และข่าวสาร และจํานวนแรงงานในครัวเรือน ปัญหาและอุปสรรค ได้แก่
เงินทุน ราคาปัจจัยการผลิตมีราคาแพงเจ้าหน้าที่ดําเนินงานล่าช้า
มีข้อเสน อแนะ คือการให้ค ว าม รู้ ข่ าว สารให ม่ ๆ เกี่ ย ว กั บ ก ารจัดก ารนํ้ า
เจ้าหน้าที่ติดตามการดําเนินงานของโครงการอย่างต่อเนื่อง
ภัณฑิรา นันทพงษ์ (2547) ได้ทําการวิจัยเรื่อง การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคม การผลิต
การตลาด และกระบวนการเรียนรู้ของเกษตรกรในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ต.แม่แฝกใหม่ อ.สันทราย
จ.เชียงใหม่มุ่งศึกษาถึงพัฒนาการของเกษตรทฤษฎีใหม่ให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน
. ( ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม
ทําให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทําเกษตรทฤษฎีใหม่เสริมจากการปลูกพืชหลักได้ความรู้เพิ่มเติมมาปรับใช้
จากการได้แลกเปลี่ยนความรู้กับชุมชนอื่น โครงการฝึกอบรมต่างๆ
5( ด้านการผลิต มีรูปแบบการผลิตที่หลากหลายขึ้น การส่งเสริมของหน่วยงานราชการ
ภายในกลุ่มได้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อวางแผนการผลิตที่ครอบคลุมสามารถปฏิบัติได้จริง
5( ด้านการตลาด มี 5 รูปแบบ คือ 1. ตลาดปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นแบบต่างคนต่างซื้อ
2. และตลาดผลผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นแบบต่างคนต่างขายซึ่งขึ้นกับเงื่อนไขสําคัญคือ ชนิดปริมาณ
ความหลากหลายของสินค้า ความแตกต่างของราคาที่ได้รับ ความยากง่ายในการเข้าถึงจุดจําหน่าย
การมีปฏิสัมพันธ์ในการตลาด และกระบวนการกลุ่ม
ข้อเสนอแนะ
1) เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นการเกษตรที่ต้องยืดหยุ่นให้เข้ากับแต่ละพื้นที่
ควรมีการจัดสรรที่ดินให้เข้ากับสภาพการผลิตของแต่ละสถานที่
5( หน่วยงานรัฐบาลควรช่วยส่งเสริมด้านความรู้ ความเข้าใจก่อนลงมือสนับสนุนการปฏิบัติจริง
5(
ควรมีการจัดการเรียนการสอนเรื่องการเกษตรทฤษฎีใหม่สืบเนื่องไปถึงเรื่องการทําการเกษตรแบบยั่งยืน
4(
ในการพัฒนารูปแบบการผลิตมีการวางแผนร่วมกันเพื่อช่วยลดต้นทุนด้านการผลิตรวางแผนการผลิตที่ดี
เป็นหัวใจสําคัญของการทําตลาดสินค้าเกษตร
2.3 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา
หลักเศรษฐกิจพอเพียงหลักการพึ่ง
ตนเองหลักเกษตรทฤษฎีใหม่
(Input)
(ตัวแปรตาม)
ความสามารถในการพึ่งพา
ตนเองของเกษตรกร
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
ในจังหวัดเชียงใหม่
(Output)
ด้านเทคโนโลยี
(Technology :T)
ด้านสังคม
(Social : S)
ด้านเศรษฐกิจ
(Economic : E)
ด้านจิตใจ
(Mental : M)
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม
(Resource :R)
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย
3.1 วิธีการศึกษา
เป็นการศึกษาเรื่องการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศษร
ฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฏีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ ในพื้นที่ 8 อําเภอ คือ
เวียงแหง เชียงดาว แม่แตง สะเมิง สันป่าตอง แม่แจ่ม ดอยเต่า อมก๋อย
โดยสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากเกษตรกร 64 ราย และรวบรวมข้อมูลจาก 2 แหล่ง คือ
1.ปฐมภูมิ (Primary Data) ใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์เกษตรกร
เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นรูปธรรม เพื่อนํามาวิเคราะห์ทางเชิงสถิติพรรณนา
2. ทุติยภูมิ หรือเอกสารชั้นรอง (SecondaryData) เช่น
ข้อมูลจากสํานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หนังสือ บทความ
เป็นต้น
3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
1. นําข้อมูลทั่วไปมาวิเคราะห์แบบพรรณา โดยใช้มาตรวัดแบบ Rating Scale
โดยให้ระดับความสําคัญ 5 ระดับเรียงจากมากไปน้อย
แล้วนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบอธิบายเพื่อให้ทราบถึงการดําเนินงานของเกษตร
สภาพทางเศรษฐกิจ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การรักษาสภาพแวดล้อม วิถีชีวิต เป็นต้น
2. ทําการทดสอบสมมุติฐานของการศึกษาวิจัย โดยให้ความสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร
ได้แก่เทคโนโลยี เศรษกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จิตใจ และ สัมคม
โดยให้ตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ 2 ค่า คือ ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ให้แทนค่าเป็น 0 และ
สามารถพึ่งพาตัวเองได้ ให้แทนค่าเป็น 1 และนําไปคํานวนโดยใช้สูตรสมการ
P (Y) = f(TECHNOLOGY, ECONOMIC, RESOURCE, MENTAL, SOCIAL)
Xi’ß = ß0 + ß1X1 + ß2 X2 + ß3 X3 + ß4 X4 + ß5 X5
Xi’ß = ß0 + ß1TECHNOLOGY + ß2ECONOMIC + ß3RESOURCE + ß4MENTAL +
ß5SOCIAL
ซึ่งจะทําให้ทราบได้ว่าเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้หรือไม่ เช่น สามารถประดิษฐ์เครื่องมือเอง
ซ่อมแซมอุปกรณ์ การเพิ่มผลผลิต การใช้ประโยชน์จากแหล่งนํ้า การกําจัดขยะ
การใส่ใจถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม การบํารุงศาสนา หรือ
การช่วยเหลือเพื่อนบ้านและชุมชนได้มากน้อยเพียงใด
บทที่ 4
ผลการศึกษา
การศึกษาเรื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เรียนรู้ และทําความเข้าใจ
ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทําเกษตรทฤษฎีใหม่
ตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และเป็นการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพี
ยงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่การรวบรวมข้อมูลได้มาจากการใช้แบบส
อบถาม ประกอบการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 64 ราย และนําข้อมูลมาวิเคราะห์
โดยจําแนกผลการศึกษาออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐานลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างเป็นผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
ของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา )Descriptive Statistics)
ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่เก็บรวบรวมได้ โดยนําเสนอในรูปแบบตารางที่ใช้การแจกแจงความถี่
)Frequency) และค่าร้อยละ )Percentage)
ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจําลองโลจิท )LogitModel)เป็นการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเ
กษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการใช้แบบจําลองโลจิท
และเทคนิคการวิเคราะห์การประมาณภาวะความน่าจะเป็นสูงสุด )MaximumLikelihood Estimates:
MLE)
ส่วนที่ 3 ทดสอบสมมุติฐานของการวิจัยเป็นการนําค่าที่ได้จากวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจําลองโลจิท
)Logit Model) มาแทนค่าในฟังก์ชั่น เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ทดสอบค่า ß0, ß.…ß2
ที่ได้จากการคํานวณในตัวแปรอิสระอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ เนื่องจากหากค่า ß = 0 แสดงว่า
ตัวแปรอิสระไม่สามารถอธิบายการมีผลต่อตัวแปรตามได้ หากค่า ß ≠ 0 แสดงว่า
ตัวแปรอิสระสามารถอธิบายการมีผลต่อตัวแปรตามได้
ส่วนที่ 4
สรุปปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษ
ตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ /
วิเคราะห์เปรียบเทียบเป็นการสรุปผลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในพึ่งพาตนเองตามหลักเศร
ษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่
ตามกรอบแนวคิดของการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ ด้านเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจ
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านจิตใจ และด้านสังคม โดยการใช้มาตรวัดแบบ RatingScale
ตามวิธีของ Likert โดยการแบ่งระดับความสําคัญออกเป็น 2 ระดับ คือ
1.ระดับความสําคัญมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 2
2.ระดับความสําคัญมาก มีค่าเท่ากับ 4
3.ระดับความสําคัญปานกลาง มีค่าเท่ากับ 5
4.ระดับความสําคัญน้อย มีค่าเท่ากับ 5
5.ระดับความสําคัญน้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ .
และนําผลรวมมาหาค่าเฉลี่ยแล้วจึงนําเปรียบเทียบกับการแปรความหมายระดับคะแนนโดยใช้เป็
นเกณฑ์ช่วงคะแนนเฉลี่ย ดังนี้
1.ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.5. – 2.00 หมายถึง มากที่สุด
2.ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.4. – 4.50 หมายถึง มาก
3.ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.6. – 5.40 หมายถึง ปานกลาง
4.ระดับคะแนนเฉลี่ย ..8. – 5.60 หมายถึง น้อย
5.ระดับคะแนนเฉลี่ย ..00 – ..80 หมายถึง น้อยที่สุด
4.1 ข้อมูลพื้นฐานลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง
ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานลักษณะส่วนบุคคลของเกษตรกรตามโครงการเกษตรทฤษฎี
ใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา พบว่าเกษตรกรโครงการฯ
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 95..9 และ ศ.8. ตามลําดับ
ทั้งนี้ เนื่องจากหัวหน้าครอบครัวส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย
ซึ่งในการดําเนินการจะเป็นการช่วยกันของสมาชิกในครอบครัวทั้งสามี ภรรยา และบุตร
โดยมีหัวหน้าครอบครัวเป็นหลัก และจากการสํารวจนั้นทําให้ทราบได้ว่าพบว่า เกษตรกรโครงการฯ
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีอายุในช่วง 51–60ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.44 รองลงมา มีอายุในช่วง 41-50
ปี คิดเป็นร้อยละ 28.13
ซึ่งก่อนที่เกษตรที่มาจากการกลุ่มตัวอย่างนี้จะเริ่มทําการเกษตรทฤษฎีใหม่นั้นได้พบปัญหาดังนี้
ปัญหาที่พบก่อนทําการเกษตรทฤษฎีใหม่ จํานวน (คน) ร้อยละ
ราคาผลผลิตไม่แน่นอน 57 89.06
ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง 44 68.75
ขาดเงินทุนสนับสนุน 39 60.94
สภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน 19 29.69
ศัตรูพืช / โรคพืชระบาด 16 25.00
ขาดความรู้เกี่ยวกับการทําเกษตร 15 23.43
ขาดแคลนนํ้าในการเกษตร 10 15.63
ขาดแคลนแรงงาน 10 15.63
ซึ่งหลังจากที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างนี้ทําการเกษตรทฤษฎีใหม่แล้ว พบว่ามีแค่ร้อยละ 1.56
เท่านั้นที่ไม่ทําการเกษตรทฤษฎีใหม่อีกต่อไป (1 คน จาก 64 คน)
เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความมั่นใจในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่
และยังยืนยันว่าเกษตรกรสามารถดํารงชีวิตด้วยการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ได้โดยไม่ต้องกังวลถึงปัญหาเดิ
มที่เคยเจอ
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจําลองโลจิท (Logit Model)
จากการคํานวณสมการ Logit X1 ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (TECHNOLOGY)
พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเทคโนโลยีของเกษตรกรโครงการฯ คือ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข
องเกษตรกรโครงการฯ
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค
วามเชื่อถือ )ร้อยละ(
เกษตรกรโครงสามารถซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
ได้ด้วยตนเอง
99
การแปรรูปผลผลิตจากธรรมชาติเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคในระย
ะยาว
98
มีพื้นที่เฉพาะสําหรับการจัดเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ในการทําเกษตร 92
การได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ 94
มีเครื่องมือเครื่องจักรทางการเกษตรเป็นของตนเอง 9.
จากการคํานวณสมการ Logit X2 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (ECONOMIC)
โดยปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจของเกษตรกรโครงการฯ คือ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข
องเกษตรกรโครงการฯ
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค
วามเชื่อถือ )ร้อยละ(
การได้รับการสนันเงินทุน 99
ไม่ใช้เงินทุนในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มาจากการกู้ยืมนายทุนนอ
กระบบ
การมีผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี
และการปลูกไม้ผลเพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน
92
มีผลผลิตข้าวเหลือเพื่อการจําหน่าย 94
มีผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์นํามาบริโภคในครัวเรือน 95
จากการคํานวณสมการ Logit X3 ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (RESOURCE)
โดยปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งตนเองในด้านทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของเกษตรก
รโครงการฯ คือ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข
องเกษตรกรโครงการฯ
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค
วามเชื่อถือ )ร้อยละ(
สภาพของดินในพื้นที่ทําการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ 99
การใช้แหล่งนํ้าในการทําเกษตรมาจากระบบนํ้าบาดาล 96
ทําลายขยะที่เป็นเศษวัสดุจากธรรมชาติ
โดยการฝั่งกลบเพื่อใช้เป็นปุ๋ยธรรมชาติ
93
จากการคํานวณสมการ Logit X4 ปัจจัยด้านจิตใจ (MENTAL)
โดยมีปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งตนเองในด้านจิตใจของเกษตรกรโครงการฯ คือ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข
องเกษตรกรโครงการฯ
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค
วามเชื่อถือ )ร้อยละ(
การแวะเวียนมาพูดคุยกับเพื่อนบ้านหรือมีเพื่อนบ้านแวะเวียนมาคุย
ด้วย
99
การได้ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง เป็นประจํา 93
จากการคํานวณสมการ Logit X5 ปัจจัยด้านสังคม (SOCIAL)
โดยมีปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งตนเองในด้านสังคมของเกษตรกรโครงการฯ คือ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข
องเกษตรกรโครงการฯ
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค
วามเชื่อถือ )ร้อยละ(
มีศูนย์กลางการตลาดโดยการจัดการภายในชุมชนเพื่อจําหน่ายผลผ
ลิต
99
การเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร/สหกรณ์ภายในชุมชน 93
4.5 การทดสอบสมมุติฐานของการวิจัย
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (X1) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านเทคโนโลยี
การที่เกษตรกรโครงการฯ สามารถซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง,
มีการแปรรูปผลผลิตจากธรรมชาติเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคในระยะยาว,
การมีพื้นที่เฉพาะสําหรับการจัดเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ในการทําเกษตร,
การได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์ ฯลฯ
และการมีเครื่องมือเครื่องจักรทางการเกษตรเป็นของ
มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (X2) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
การได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง,
การไม่ใช้เงินทุนในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มาจากการกู้ยืมนายทุนนอกระบบ
การมีผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี
และการปลูกไม้ผลเพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน,
การมีผลผลิตข้าวเหลือเพื่อการจําหน่ายและมีผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์นํามาบริโภคในครัวเรือน
มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (X3) จากการวิเคราะห์
พบว่าปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
การที่สภาพของดินในพื้นที่ทําการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์,
การใช้แหล่งนํ้าในการทําเกษตรมาจากระบบนํ้าบาดาลและทําลายขยะที่เป็นเศษวัสดุจากธรรมชาติ
โดยการฝังกลบเพื่อใช้เป็นปุ๋ยธรรมชาติ มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ปัจจัยด้านจิตใจ (X4) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านจิตใจ
โดยการแวะเวียนมาพูดคุยกับเพื่อนบ้านหรือมีเพื่อนบ้านแวะเวียนมาคุยด้วย
และการได้ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง เป็นประจํามีผลทําให้เกษตรกรโครงการฯ
มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ปัจจัยด้านสังคม (X5) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านสังคม
มีศูนย์กลางการตลาดโดยการจัดการภายในชุมชนเพื่อจําหน่ายผลผลิต
และการเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร/สหกรณ์ภายในชุมชน มีผลทําให้เกษตรกรโครงการฯ
มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
4.4 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ /
วิเคราะห์เปรียบเทียบ
ปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อความสามารถใน การพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ คือ
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (TECHNOLOGY)
มาก รู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่
และนาความรู้มาปรับใช้กับพื้นที่เกษตรของตนเองให้เหมาะสมเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด
ปานกลางพื้นที่และอุปกรณ์
สาคัญรองลงมาเนื่องจากหากมีความรู้เราก็สามารถปรับปรุงพื้นที่ทากินให้เหมาะสมได้อย่างถูกต้อง
ส่วนเการพึ่งพาครื่องมือก็มีความจาเป็นบ้างเพื่อความรววดเร็วแต่ก็ต้องสามารถช่วยเหลือตัวเองได้
น้อย การประดิษฐ์สิ่งของใช้เองเนื่องจากแต่ละบุคคลมีพื้นฐานทางความคิดและฝีมือทางการช่างที่ตกต่างกัน
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (ECONOMIC)
มาก มีผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี เน้นความเป็นอยู่อย่างพอเพียง
ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ซึ่งสิ่งเหล่านี้สนับสนุนให้เกิดโอกาสในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรได้เป็นอย่างดี
ปานกลาง ไม่มีหนี้มีผลผลิตเหลือมากพอที่จะนาไปขายและหาอาชีพเสริมทาระหว่างรอการเก็บผลผลิต
เป็นการเพิ่มรายได้อีกทาง
น้อย การกู้เงินทุนนอกระบบหามีการทาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงแล้วก็ไม่จาเป็นที่จะต้องไปยืมหนี้นอกระบบ
ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (RESOURCE)
มาก แหล่งน้าเป็นทรัพยากรณ์ที่จาเป็นมากในการทาเกษตรโดยต้องมีแหล่งทรัพยากรณ์น้าเป็นของตนเอง
เพื่อใช้ในการเกษตรและในชีวิตประจาวัน
ปานกลาง การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนทั้งด้านขยะน้าเกษตรกรรมและปศุสัตว์
น้อย ภัยจากธรรมชาติและผลที่เกิดจากการกระทาของมุษย์เช่นฝนแล้งการเผาขยะปัญหาดิน
ปัจจัยด้านจิตใจ (MENTAL)
มาก-มากที่สุด
มีการทากิจกรรมร่วมกันภายในครอบครัวและชุมชนมีการแวะเวียนมาพูดคุยกับเพื่อนบ้านหรือมีเพื่อนบ้านแวะเวียนมาคุย
ด้วยที่บ้านการแบ่งปันสิ่งของ/อาหารแก่ผู้อื่น
ๆสะท้อนให้เห็นถึงสภาวะทางจิตใจของเกษตรกรซึ่งการมีพื้นฐานทางครอบครัวที่ดีมีเพื่อนบ้านที่ดี
ปานกลาง ทางานอดิเรกเพื่อเป็นการผ่อนคลายจากการทางาน
ปัจจัยด้านสังคม (SOCIAL)
มาก มีการประชุมกันในชุมชนมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในการทาเกษตรทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น
ปานกลาง มีการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์มีการตั้งกองทุนและสวัสดิการชุมชน
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศึกษา
เกษตรกรในโครงการฯมีทั้งหมด 64 ราย โดยส่วนใหญ่เป็นเพศชายที่มีอายุในช่วง 2.-60ปี
จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนมากมีสถานภาพสมรสและมีจํานวนสมาชิกในครอบครัว 4-2
คน โดยมีคนในครอบครัวที่มีอาชีพทําเกษตรกร เนื่องจากเป็นคนในท้องถิ่น
เกษตรกรโครงการฯก่อนที่จะมาทําเกษตรทฤษฎีใหม่ แต่ก่อนทําเกษตรกระแสหลัก
แต่ประสบปัญหาราคาผลผลิตไม่แน่นอน ในปีพ.ศ.5240-5245 มีผู้ทําเกษตรทฤษฎีใหม่มากที่สุด
มีการจัดสรรพื้นที่ตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยแบ่งเป็นสระนํ้า ทํานา ปลูกไม้ยืนต้น
แบะมีที่อยู่อาศัยในพื้นที่ทําเกษตร ทั้งนี่ เกษตรกรโครงการฯ
มีความมั่นใจและต้องการทําการเกษตรทฤษฎีใหม่ต่อไปเป็นจํานวนมาก
สรุปปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการฯ คือ
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านจิตใจ
5.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป
.. การทําวิจัยครั้งนี้มีตัวอย่างของเกษตรกรโครงการฯค่อนข้างน้อยเมือเทียบกับจํานวนทั้งหมด
เนื่องจากความจํากัดด้านเวลาและพื้นที่ในการเก็บข้อมูล หากมีผู้ใดสนใจศึกษาเรื่องนี้
ควรมีระยะเวลาในการศึกษาที่มากขึ้นและควรเพิ่มจํานวนตัวอย่างที่มีความแตกต่างและหลากหลายพื้น
ที่ให้มากขึ้น
5. การสร้างความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
และหลักการที่ถูกต้องเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
แก่เกษตรกรโครงการฯและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นสิ่งที่สําคัญมาก
5. การประสานขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ถือเป็นสิ่งสําคัญ
เพราะหากการประสานงานดีจะทําให้การศึกษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว และบรรลุเป้าหมายได้ตามต้องการ
4. การศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษากลุ่มเกษตรกรโครงการฯทุกจังหวัดทั่วประเทศ
จะทําให้ผลการศึกษาที่ได้ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด
ซึ่งอาจต้องใช้ระยะเวลานานและต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
กับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปัญหาที่พบก่อนทาการเกษตรทฤษฎีใหม่ของกลุ่มตัวอย่าง
1. ราคาผลผลิตไม่แน่นอน
2. ปัจจัยการผลิตราคาสูง
พอประมาณ
ภูมิคุ้มกันมีเหตุผล
ความรู้ คุณธรรม
3. ขาดเงินทุนสนับสนุน
4. สภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน
5. ศัตรูพืช / โรคพืช ระบาด
6. ขาดความรู้เกี่ยวกับการทําเกษตร
7. ขาดแคลนนํ้าในการเกษตร
8. ขาดแคลนแรงงาน
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
 มีการใช้ปุ๋ยที่ได้จากธรรมชาติ
 รู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทําเกษตรทฤษฎีใหม่
 นําความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในพื้นที่ทําการเกษตรของตนเองอย่างเหมาะสม
 มีเครื่องมือเครื่องจักรการเกษตรเป็นของตนเอง
ความพอประมาณ : การนําเครื่องมือ เครื่องใช้ที่มีอยู่มาใช้ในการทําการเกษตร
โดยพึ่งพาตนเองมากกว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการจัดสรรพื้นที่ทํากินให้มีประโยชน์สูงสุด
และปลูกพืชพรรณ ให้มีความหลากหลายตามฤดูกาล
แก้ไขปัญหาเรื่อง : การลดต้นทุนในการผลิต และเพิ่มรายได้จากผลผลิตที่หลากหลาย
มีเหตุผล : การเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมอย่างพอดี และหันมาใช้ทรัพยากรที่ตนเองมี
ทั้งทรัพยากรคน สัตว์ สิ่งของ
แก้ไขปัญหาเรื่อง : การขาดแคลนเงินทุนสนับสนุนในการทําการเกษตร ทั้งเรื่องเครื่องจักร
แรงงาน
มีภูมิคุ้มกัน : การมีเกราะป้องกันในการถูกชักจูงให้ซื้ออุปกรณ์ทางการเกษตรที่ไม่จําเป็น และราคาสูง
ความรู้ : ใช้ความรู้เรื่องการทําการเกษตรทฤษฏีใหม่มาปรับใช้ในพื้นที่ทางการเกษตรของตนเอง
ใช้ความเรื่องการทําปุ๋ยชีวภาพมาทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี
ความรู้เรื่องการใช้ภูมิปัญญาในการกําจัดศัตรูพืช เป็นต้น
คุณธรรม : ดํารงชีวิตอย่างมีสติ ใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย เพื่อลดผลกระทบต่อตนเอง ผู้อื่น
และสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้สมุนไพรกําจัดศัตรูพืชทดแทนการใช้ยาฆ่าแมลง
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
 ผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี
 ลดรายจ่ายที่ไม่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต
 มีการจําหน่ายผลผลิตที่เหลือจากการอุปโภคบริโภคในครัวเรือน
ความพอประมาณ : ปลูกผลผลิตให้เพียงพอต่อการบริโภคภายในครัวเรือนก่อน
แล้วจึงนําผลผลิตที่เหลือไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ นอกจากนี้ยังมีการปลูกผลไม้ พืชผักสวนครัวอื่นๆ
ไว้เพื่ออุปโภค บริโภค หรือนําไปแปรรูปเพื่อสร้างคุณค่าให้กับผลผลิต และเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
แก้ไขปัญหาเรื่อง : ราคาผลผลิตที่ไม่แน่นอน
เนื่องจากการทําการเกษตรแบบผสมผสานมีผลผลิตที่หลากหลาย ทําให้สามารถขายได้ตลอดปี
ความมีเหตุผล : ต้องศึกษากลไกทางตลาดของผลผลิตของเรา
แก้ไขปัญหาเรื่อง : ราคาผลผลิตไม่แน่นอน เพราะ
เมื่อก่อนจะนิยมปลูกพืชชนิดเดียวในปริมาณมากๆ
เมื่อกลไกการตลาดเปลี่ยนไปทําให้ได้รับผลกระทบโดยตรงและทําให้รายรับน้อยกว่ารายจ่ายและเกิดปัญ
หาหนี้สินตามมา ซึ่งควรศึกษาการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อให้มีรายได้ตลอดทั้งปีให้พอกินพอใช้
และสร้างแนวทางในการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้า
ภูมิคุ้มกัน : มีแผนสํารองสําหรับปัญหาราคาผลผลิตตกตํ่า และปัญหารายจ่ายมากกว่ารายรับ
แก้ไขปัญหาเรื่อง : แก้ไขปัญหารายรับและรายจ่าย ราคาผลผลิตที่ตกตํ่า และหนี้สินครัวเรือน
โดยการทําการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อความยั่งยืนในการทําเกษตร
ความรู้ : การใช้ความรู้เรื่องเกษตรทฤษฏีใหม่ และ การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มคุณค่าของผลผลิต
คุณธรรม : ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคภายในครอบครัว นําไปขายโดยไม่เอาเปรียบผู้บริโภค
ไม่ค้ากําไรเกินควร
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 แหล่งนํ้าในการทําเกษตรมาจากสระนํ้าในพื้นที่ทําการเกษตรฯของตัวเอง
 สภาพของดินในพื้นที่ทําการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์
 ปลูกไม้ยืนต้น / ไม้ผล รอบสระนํ้าในพื้นที่เกษตรของตนเอง
ความพอประมาณ : มีการจัดสรรทรัพยากรในที่ดินของตนเอง
แก้ไขปัญหา : จัดสรรที่ดินให้สามารถปลูกพืชได้ครบทั้งฤดูกาล และ เลี้ยงสัตว์เช่น ไก่ เป็ด หมู
ในบริเวณเหนือบ่อเลี้ยงปลาเพื่อนํามูลไปเป็นอาหารปลา
มีเหตุผล : ต้องรู้ถึงระบบนิเวศน์และความเหมาะสมในการปลูกต้นไม้และการเลี้ยงสัตว์ต่างๆในพื้นที่
แก้ไขปัญหา : การปลูกไม้ยืนต้นไว้บริเวณรอบๆสระ เพื่อป้องกันการกัดเซาะดินของนํ้าในสระ
และป้องกันการระเหยของสระนํ้าเพื่อป้องกันปัญหานํ้าขาดแคลนในฤดูแล้ง
ภูมิคุ้มกัน : เพื่อป้องกันภัยพิบัติธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง

More Related Content

More from freelance

geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentfreelance
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterfreelance
 

More from freelance (20)

geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 

บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่ --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง

  • 1. กลุ่ม ก.เอ๋ย ก.ไก่ ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่ 54212112 นางสาวณิชมน ศิริรักษ์ 54212114 นายธีรนัย ศรีเกลี้ยง 54212129 นายสมชัย กีรติพงศ์ 54212133 นายอิสระพันธ์ บานทรงกิจ 54212138 นายชาติเฉลิม วงศ์แกล้ว 54212140 นายธัญเทพ ชิณวงษ์ 54212147 นางสาววาสิตา อาไพเมือง 54212153 นายโยธิน พรหมวงศา 54212119 นายพฤธ เบญจจินดา 54212118 นายปกิณกะ หมวดทองอ่อน
  • 2. ชื่อเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจัง หวัดเชียงใหม่ ผู้เขียน นางสาวกานดาพันธุ์ วันทยะ ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเมือง) บทคัดย่อ วัตถุประสงค์งานคือ ศึกษา เรียนร้ และทําความเข้าใจ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียง และการทําเกษตรทฤษฏีใหม่ ตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเพื่อวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของ เกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีข้อมูลจากเกษตรกร โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 64 ราย โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)การใช้มาตรวัดแบบ Rating Scale การแปรความหมายระดับคะแนน เฉลี่ยตามวิธีของ Likert และแบบจําลองโลจิท (LogitModel) ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์การประมาณภาวะความนําจะเป็นสูงสุด )doomele im mumiaaMEaemeoemam diE( ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจัง หวัดเชียงใหม่ คือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี มีผลต่อการพึ่งพา ตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.05, ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.01, ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.05, ปัจจัยด้านจิตใจ ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.05 และปัจจัยด้านสังคม ณ ระดับนัยสําคัญ เท่ากับ 0.10
  • 3. บทที่ 1 บทนา เนื่องจากประชาชนกว่าร้อยละ 50 ในประเทศไทย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทําให้บทบาท ภาคการเกษตร เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสําคัญที่ช่วยให้ประเทศมีความมั่นคง แต่ระบบนิเวศในปัจจุบัน เปลี่ยนไป เนื่องจากการกระทําต่าง ๆ ของมนุษย์ ทําให้แหล่งนํ้าตื้นเขิน เป็นปัจจัยก่อให้เกิดนํ้าท่วม และปัญหาการขาดเเคลนนํ้าในช่วงหน้าแล้ง ส่งผลให้เกษตรกร ได้รับความเดือดร้อน ผลผลิตเสียหาย รายได้ไม่พอเลี้ยงชีพ และเกิดปัญหาหนี้สิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงตระหนักถึงปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” แก่พสกนิกรชาวไทย นับตั้งแต่ปี พ .ศ.52.ศ สําหรับในด้านการพัฒนาอาชีพของประชาชนในชนบท ได้พระราชทานแนวทาง ครั้งสําคัญเมื่อ พ.ศ .5255 ซึ่งต่อมาประชาราษฎรได้รู้จักกันอย่างดีใน นามของเกษตร "ทฤษฎีใหม่" เศรษฐกิจพอเพียงในแนวทางการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อแก่ไขปัญหาการเกษตร เป็นแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การบริหารงานในการทําการเกษตร ระดับไร่นาคือที่ดินและนํ้าเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยให้มีการจัดสร้าง แหล่งนํ้าในที่ดินสําหรับการทําการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อให้เกษตรกรมีความสามารถเลี้ยงตัวเองได้ ให้มีรายได้ไว้ใช้จ่ายและมีอาหารไว้บริโภคตลอดปี หลักการพึ่งตนเองตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยการพึ่งตนเอง 5 ด้าน คือ 1. ด้านเทคโนโลยี (Technology: T) 2. ด้านเศรษฐกิจ (Economic: E) 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Resource: R) 4. ด้านจิตใจ (Mental: M) 5. ด้านสังคมวัฒนธรรม (Social: S) - การผลิต - การตลาด - ความเป็นอยู่
  • 4. - สวัสดิการ - การศึกษา - สังคมและศาสนา บทที่2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1.1 แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนินไปทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง การพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน หลักการพึ่งตนเอง ด้านจิตใจ m ทําตนให้เป็นที่พึ่งตนเอง มีจิตสํานึกที่ดี เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ด้านสังคม m แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงกัน เป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม m ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด พร้อมทั้งหาทางเพิ่มมูลค่า ด้านเทคโนโลยี m เลือกใช้เทคโนโลยีเฉพาะที่สอดคล้องกับความต้องการ และสภาพแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ m จะต้องมุ่งลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เป็นสําคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน พอใช้ นัยสาคัญของแนวความคิดระบบเศรษฐกิจพอเพียง ประการแรก m เป็นระบบเศรษฐกิจที่ยึดถือหลักการที่ว่า "ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน" โดยมุ่งเน้นการผลิตพืชผลให้เพียงพอ กับความต้องการบริโภคในครัวเรือนเป็นอันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแล้ว จึงคํานึงถึงการผลิตเพื่อการค้าเป็นอันดับรองลงมา ผลผลิตส่วนเกินที่ออกสู่ตลาดก็จะเป็นทําไรของเกษตรกร ประการที่สอง m เศรษฐกิจพอเพียงให้ความสําคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ทั้งนี้ กลุ่มชาวบ้านจะทําหน้าที่เป็นผู้ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ให้หลากหลาย ครอบคลุมทั้งการเกษตรแบบผสมผสานหัตถกรรมการแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจค้าขาย และการท่องเที่ยวระดับชุมชน ประการที่สาม m เศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีความเมตตา
  • 5. ความเอื้ออาทร และความสามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการร่วมแรงร่วมใจ เพื่อประกอบอาชีพต่างๆ ให้บรรลุผลสําเร็จ ความหมายเชิงทฤษฎี ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถจําแนกองค์ประกอบของหลักปรัชญาฯเป็น5 ส่วนได้แก่ กรอบแนวคิด m ชี้แนะแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นบนพื้นฐานวิถีชีวิตดั่งเดิมของสังคมไทย คุณลักษณะและคานิยาม m ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เงื่อนไข m การตัดสินใจในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยเงื่อนไขความรู้คว บคู่กับเงื่อนไขคุณธรรม ความพอเพียง m เป็นทั้งแนวทางปฏิบัติหรือวิธีการ และผลของการกระทําที่คาดว่าจะได้รับ โดยคํานึงถึงความสมดุล บนพื้นฐานของความพอประมาณ อย่างมีเหตุผล 2.1.2 ทฤษฎีใหม่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงทราบสภาพปัญหาการขาดแคลนนํ้า เพื่อการปลูกข้าวและเกิดแรงดลพระราชหฤทัย อันเป็นแนวคิดขึ้นว่า 1) ข้าวหากได้นํ้าเพียงพอจะสามารถเพิ่มปริมาณเม็ดข้าวได้มากยิ่งขึ้น 2) หากเก็บนํ้าฝนที่ตกลงมาไว้ เมื่อนํามาใช้เพาะปลูกที่จะสามารถเก็บเกี่ยวได้มากยิ่งขึ้นเช่นกัน 3) การสร้างอ่างเก็บนํ้าขนาดใหญ่นั้นยาก 4) หากแต่ละครัวเรือนมีสระนํ้าประจําไร่นาทุกครัวเรือนแล้ว เมื่อรวมปริมาณกันก็ย่อมเท่ากับปริมาณในอ่างเก็บนํ้าขนาดใหญ่ ในเวลาต่อมาได้พระราชทานพระราชดําริให้ทําการทดลอง"ทฤษฎีใหม่"เกี่ยวกับการจัดการที่ดิ นและแหล่งนํ้า เพื่อการเกษตรขึ้น แนวทฤษฎีใหม่กําหนดขึ้นแบ่งพื้นที่ถือครองทางการเกษตรออกเป็นสัดส่วน 30-30-30-10 คือ ส่วนที่หนึ่ง m ร้อยละ 30 ให้ทําการขุดสระกักเก็บนํ้าไว้ใช้ในการเพาะปลูก โดยรองนํ้าจากนํ้าฝน ส่วนที่สอง m ร้อยละ 60 เป็นพื้นที่ทําการเกษตรปลูกพืชผลต่างๆ โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็นสองส่วน คือ ร้อยละ 30 ในส่วนที่หนึ่ง ให้ทํานาข้าว และร้อยละ 30 ในส่วนที่สอง ให้ปลูกพืชไร่หรือพืชสวนตามแต่สภาพของพื้นที่
  • 6. ส่วนที่สาม m ร้อยละ 10 เป็นพื้นที่ที่เหลือ จัดเป็นที่อยู่อาศัย ถนนหนทาง ตลอดจนปลูกพืชสวนครัวและเลี้ยงสัตว์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดําริอันเป็นหลักปฏิบัติสําคัญยิ่งในก ารดําเนินการ คือ 1) วิธีนี้สามารถใช้ปฏิบัติได้กับเกษตรกรที่เป็นเจ้าของที่ดิน ที่มีพื้นที่ดินจํานวนน้อย 2) มุ่งเน้นให้เกษตรกรมีความพอเพียงในการเลี้ยงตัวเองได้ 3) กําหนดจุดมุ่งหมายให้สามารถผลิตข้าวบริโภคได้เพียงพอทั้งปี ทฤษฎีใหม่จึงเป็นแนวพระราชดําริใหม่ ที่ได้รับการพิสูจน์และยอมรับกันอย่างกว้างขวางในหมู่เกษตรกรไทยแล้วว่า พระราชดําริของพระองค์เกิดขึ้นด้วยพระอัจฉริยภาพสูงส่งที่สามารถนําไปปฏิบัติใช้ได้อย่างแท้จริง 2.1.3 ทฤษฎีการพึ่งตนเอง แนวคิดการพึ่งตนเองมีจุดกําเนิดจาก ความพยายามที่จะพัฒนาประเทศด้อยพลังและศักยภาพของตนเองหรือชุมชน เพื่อเป็นการลดภาระการพึ่งพาความช่วยเหลือในด้านต่างๆจากภายนอกชุมชน อีกทั้งยังเป็นการลดภาวะยากจนและถูกกดขี่ของประเทศหรือชุมชนอีกด้วย แนวคิดของการพึ่งตนเอง สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้ความหมายของการพึ่งตนเองว่า 1) เป็นความสามารถที่เป็นตัวของตัวเองในทางความคิด โดยมีการมองปัญหาต่างๆ การตัดสินใจด้วยตัวเอง 2) ในการตัดสินใจดําเนินการโดยสถาบันของชุมชนเพื่อประโยชน์ของชุมชนทั้งในด้านการแก้ปัญหาและกา รพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน 3) เป็นการพึ่งตนเองที่ไม่นําไปสู่การพึ่งพาเป็นการพึ่งพาอาศัยอย่างรู้เท่าทัน 4) กรอบการมองจะต้องไม่มุ่งแข่งขันกัน แต่เป็นการช่วยเหลือกัน สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย )2538: (2) 4-5) ได้ทําการวิจัยการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจในชนบท เพื่อกําหนดกรอบความคิดว่า ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้จะต้องประกอบด้วยการพึ่งตนเอง 5 ด้านคือ
  • 7. 1) ด้านเทคโนโลยี 2) ด้านเศรษฐกิจ 3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4) ด้านจิตใจ 5) ด้านสังคมวัฒนธรรม ประเวศ วะสี )2530: 33-35) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบสําคัญ 5 ประการ ในการพัฒนาชุมชน ดังนี้ จิตใจที่เป็นธรรม แบบแผนการผลิต ความสมดุลของธรรมชาติแวดล้อม การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ ชีวิตชุมชนและวัฒนธรรม สัญญา สัญญาวิวัฒน์ )2544) ได้กล่าวถึงแบบจําลองการพึ่งตนเองว่าจะต้องพึ่งตนเองให้ได้ 5 ประการ คือ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จิตใจ สังคม มองในเชิงทฤษฎี กล่าวได้ว่าการพึ่งตนเองที่ประกอบด้วยปัจจัย 5 ประเภทนั้นเป็นการพึ่งตนเองย่างสมบูรณ์ แต่การพึ่งตนเองจะต้องอาศัยปัจจัยอีก 4 ประการ คือ การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจของสังคมไทยจะต้องาศัยการพึ่งตนเองทางจิตใจ สังคงวัฒนธรรมเทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติด้วย 2.1.4 แนวคิดการพัฒนาการพึ่งตนเอง การพึ่งตนเองของวิบูลย์ เข็มเฉลิม )2549) กับ อยู่ สุมทรชัย )2544) มาสังเคราะห์รวมกัน จะเห็นตัวร่วม อยู่ 3 ประการ 1) การพึ่งตนเองกันมาอยู่ในองค์ความรู้ในพุทธศาสนา 2) การพึ่งตนเองในแนวประชาชนเสนอ ไม่ได้เสนอให้เพิ่มมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจเป็นด้านหลัก แต่เสนอให้เพิ่มสติ เพิ่มหลักในการมองทางออก 3) ชาวบ้านเสนอให้สร้างเงื่อนไขการพึ่งพาตนเองแบบครบวงจร คือเปลี่ยนฐานการผลิตจากข้าวไปกระจายความเสี่ยงในเรื่องไร่นาส่วนผสม 2.1.5 ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม ได้มีผู้ให้ความหมายคําว่า "การมีส่วนร่วม" ที่หลากหลาย และมีความแตกต่างกันไปตามความเข้าใจและประสบการณ์ของแต่บุคคล ดังนี้ ยุวิฒน์ วุฒิเมธี)2534: 207) ให้ความหมายไว้ว่า เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคิดริเริ่มพัฒนา การตัดสินใจ และการรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ
  • 8. นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์ )2527: 117) ให้ความหมายว่า หมายถึงความเกี่ยวข้องทางด้านจิตใจ และอารมณ์ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ์หนึ่ง ซึ่งผลเกี่ยวข้องดังกล่าว เป็นเหตุเร้าใจให้กระทําการบรรลุจุดมุ่งหมายของกลุ่มนั้น ทําให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกัน ทศพล กฤตยพิสิฐ )2538: 10) สุเมธ ทรายแก้ว )2536: 15) ได้ให้ความหมายว่า การที่ชุมชนมีความเห็นพ้องต้องกัน แล้วมีการแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วมกันที่จะเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของตน มีความร่วมมือและรับผิดชอบในกิจกรรมการพัฒนาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม สามารถคิดวิเคราะห์และตัดสินใจเพื่อกําหนดการดําเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง กล่าวโดยสรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานั้น คือการให้โอกาสประชาชนในการตัดสินใจ กําหนดปัญหาความต้องการของตนเองอย่างแท้จริงเป็นการเสริมพลังอํานาจให้แก่ประชาชน สามารถกําหนดการดํารงชีวิตได้ด้วยตนเอง 2.1.6 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาควรมีลักษณะที่สําคัญ 3 ประการคือ 1) เป็นโครงการขนาดเล็กที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) มีความสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ท้องถิ่น 3) ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา กล่าวคือ โครงการที่เหมาะสมจะต้องเป็นโครงการขนาดเล็กที่มีความยืดหยุ่นสูงสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของชุ มชน ตั้งยู่บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เน้นความสมดุลระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง และระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ โดยการพัฒนาในแนวทางนี้จะช่วยลดการพึ่งพาของชุมชนต่อปัจจัยภายนอก การพัฒนาที่ยั่งยืนนั้นมีลักษณะเป็นการพัฒนาที่เป็นการบูรณาการ คือทําให้เกิดองค์รวม ทําให้ธรรมชาติแวดล้อมกับเศรษฐกิจถูกบูรณาการเข้าด้วยกัน เกิดสภาวะที่เรียกว่า "สภาวะที่ยั่งยืน" ทั้งในด้านเศรษฐกิจ และในสภาพแวดล้อม 2.1.7 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน
  • 9. ประเวศ วะสี (2538) ได้เน้นความสําคัญของการพัฒนาด้วยวัฒนธรรมคือ “การมีองค์กรชุมชนอันเกิดจากการรวมตัวของชาวบ้าน ทําให้มีศักยภาพในการทํางานสูงขึ้นและจะทําให้เกิดพลังในการแก้ปัญหา” ฉั ต ร ทิ พ ย์ น า ถ สุ ภ า ( 2536) สรุปสาระที่สําคัญเกี่ยวกับแนวคิดวัฒนธรรมชุมชนไว้ว่ามีลักษณะสําคัญ คือ ความเป็นอนาธิปไตย์ ) Anarchism) คื อ ไ ม่ ใ ห้ ค ว า ม สํ า คั ญ แ ก่ บ ท บ า ท ข อ ง ภ า ค รั ฐ แต่เน้นการพึ่งตนเองผสานการพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรมและอุดมการณ์/ความเชื่อสูงสุดของชุมช นโดยมองเงื่อนไขความสําเร็จว่าจะเกิดขึ้นได้ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ )2538) ได้สรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นพัฒนา หรือการพัฒนาด้วยวัฒนธรรมชุมชนไว้ 6 ประการ โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 1. เน้นการ พึ่งตนเอง ปรับกระบวนทัศน์การดํารงชีวิตจาก “การอยู่ดีกินดี” ไปสู่ “การอยู่พอดีกิน พอดี” 2) การเปลี่ยนแบบแผนการผลิต จากการผลิตเชิงพาณิชย์มาเป็นการผลิตเพื่อยังชีพ เมื่อเหลือจึงนําไปขาย 3) การพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชน 4) การให้ความสําคัญแก่ภูมิปํญญาชาวบ้าน 5) สร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรชุมชน เพื่อให้ มีพลังอํานาจต่อรองกับภาคการเมือง และภาคธุรกิจ 6) สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร ท้องถิ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการคืนกรรมสิทธิ์ในทรัพยากรท้องถิ่นแก่ชุมชน 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดวงหทัย วงษ์ราช (2542) ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ทัศนคติและการเข้าร่วมในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนว พระราชดําริ ของเกษตรกรในเขตอําเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจํานวน 370 คน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า เกษตรกรที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน เข้าร่วมใน โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่แตกต่างกัน - การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีให ม่จาก หนังสือพิมพ์เกษตรตําบ ล และสื่อเฉพาะกิจ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความรู้ที่ได้รับ
  • 10. - ก า ร เปิดรับข่าวสารจากสื่อเฉพาะกิจมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติต่อการเกษตรทฤษฎีใหม่ - การ เปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่จากสื่อมวลชน สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจ มีความสัมพันธ์เชิง บวกกับการเข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ - ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับทัศนคติต่อเกษตรทฤษฎีใหม่ - ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเข้าร่วมโครงการ - ทัศนคติต่อการเกษตรทฤษฎีใหม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเข้าร่วมโครงการ การเปิดรับข่าวสารจากสื่อเฉพาะกิจสมารถอธิบายการเข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ได้มาก ที่สุด ธ น า นั น ต์ ย ศ บุ ต ร ( 2542) ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง การจัดการการลงทุนสําหรับระบบเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทฤษฎีใหม่ในพื้นที่ราบลุ่ม เขตอําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาได้กําหนดพื้นที่โครงการ 15 ไร่ จัดสรรพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามแนวคิดทฤษฎีใหม่ ได้แก่ ที่นา ที่สวน แหล่งนํ้า และที่พักอาศัย สัดส่วน 30 : 30 : 30 : 10 ตามลําดับ จัดตารางการทํางานในช่วงเวลาต่าง ๆ เพื่อคํานว ณห าเงินลงทุ น ราย ได้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา และนํามาวิเคราะห์ผลทางด้านการเงิน พบว่ามีผลขาดทุนในปี 2542 และเริ่มมีกําไรในปี 2543-2548 อัตราผลกําไรสุทธิ ตั้งแต่ปี 2542 –2548 เท่ากับ -28.33%, 30.14%, 37.10%, 32.09%, 44.01% แ ล ะ 47.33% ต า ม ลํ า ดั บ เมื่อพิจารณาจากอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนของโครงการตลอดระยะเวลา 7 ปี คือ 18.98% ซึ่งมากกว่าอัตราดอกเบี้ย 12% ดังนั้น การจัดการลงทุนดังกล่าวจึงมีความคุ้มค่า ท วี ศั ก ดิ์ วิ ย ะ ชั ย ( 2543) ได้วิจัยเรื่องการรับรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 195 รายเลือกตัวอย่าง จํานวนทั้งสิ้น 98 ราย จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลและรับรู้ว่าการเกษตรทฤษฎีใหม่ โ ด ย ร้ อ ย ล ะ 8 0 ของเกษตรกรทั้งหมดเห็นด้วยกับหลักการทําการเกษตรทฤษฎีใหม่เนื่องจากทําให้พอกินพอใช้ เจ้าหน้าที่ควรมีการถ่ายทอดความรู้ให้ชัดเจน การจัดสรรพื้นที่ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขคือสภาพของพื้นที่
  • 11. จํ า น ว น ส ม า ชิ ก ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ห ล่ ง นํ้ า กิจกรรมการเกษตรและการตลาดแม้เกษตรกรจะมีข้าวบริโภคเพียงพอและมีการรับรู้และการปฏิบัติตาม ทฤษฎีใหม่ แต่เกษตรกรบางส่วนยังมีปัญหารายได้ไม่พอยังชีพ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น ไม่จําเป็ น ต้อง แบ่ ง ในอัต ราส่ว นตามท ฤ ษฎี ขึ้น อยู่ กับ ข น าด และสภ าพข องพื้น ที่ จํ า น ว น ส ม า ชิ ก ใน ค ร อ บ ค รัว แ ห ล่ ง นํ้ า กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ต ล า ด รัฐบ าลค วรจัดห าสินเชื่ อดอกเบี้ยตํ่ าเพื่อเกษตรกรกู้ยืมไปใช้ในการขุ ดสระนํ้ าในไร่นา และส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นรายได้เสริม เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ในระยะที่ไม้ผลยังไม่ให้ผลผลิต พีรวัฒน์ เวศย์วรุตม์ (2544) ได้ศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจของการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยการสุ่มตัวอย่างเกษตรกรจํานวน 31 ราย ผ ล จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า พ บ ว่ า การทําเกษตรทฤษฎีใหม่มีความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจน้อยกว่าการทําเกษตรกระแสหลัก เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ ไ ด้ ร ว ม เ อ า ต้ น ทุ น ที่ ไ ม่ เ ป็ น ตั ว เ งิ น ไ ด้ แ ก่ แ ร ง ง า น ใ น ค รั ว เ รื อ น แ ล ะ ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต ที่ เ ป็ น ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร แต่เมื่อนําผลการศึกษาทางด้านกายภาพและทางด้านสังคมของการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ซึ่งเกษตรกรได้ มีก ารป รับ เป ลี่ย น รูป แ บ บ จาก ก ารทํ าเ กษ ต รก ระแส ห ลัก เช่ น ก ารป ลู ก ข้า ว มันสําปะหลังมาสู่การทําเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มีการผสมผสานระหว่างการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์เป็นผ ลทําให้การทําเกษตรทฤษฎีใหม่มีความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐกิจมากกว่าการทําเกษตรกระแสหลักได้ สายชล มีบารุง (2544) ได้ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสมาชิกโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริในจังหวัดราช บุรีจํานวน 86 ราย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของสมาชิกโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่มี 7 ประเด็น รายได้ 3 ประเด็น อายุและประสบการณ์ 5 ประเด็น การศึกษา การได้รับความช่วยเหลือด้านเงินลงทุน และความรู้ . ประเด็น
  • 12. สิริรัตน์ พิชิตพร (2546) ได้ศึกษาเรื่อง ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกร จังหวัดลําพูนซึ่งประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ จํานวน .02 คน ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 4ศ.6 มีความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่อยู่ในระดับปานกลาง ป ร ะ เ ด็ น ที่ รู้คื อ เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ให ม่ จํ า เ ป็ น ต้ อ ง ป ลู ก ข้ า ว ต้ อ ง มี ส ร ะ นํ้ า เกษตรกรส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับตํ่าปัญหาและอุปสรรคส่วนใหญ่จะขาดแคลนนํ้าด้านการเกษต ร รองลงมาคือปัญ หาเกี่ยวกับการตลาด เงินทุน โรคละแมลงระบาด ราคาปัจจัยการผลิต และสภาพดินตามลําดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ของเกษตรกรได้แก่ ระดับการศึกษา ข น า ด ข อ ง พื้ น ที่ ป ร ะส บ ก าร ณ์ ก า รฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะก าร ติด ต่ อ กั บ เจ้า ห น้ า ที่ ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติของเกษตรกร ได้แก่ อายุ รายได้ประสบการณ์ฝึกอบรม และการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ คือควรจัดให้มีการฝึกอบรมแก่เกษตรกรที่ไม่เคยได้รับการฝึกอบรมและควรปรับรูปแบบการทําการเกษต รทฤษฎีใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของภาคเหนือ เบญจพร ไทยรุ่งโรจน์ (2547) ได้ทําการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์จากสระนํ้าในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงให ม่ จํานวน 95 คน จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่ า เกษตรกรที่มีการใช้ป ระโยชน์จากสระนํ้าในโค รงการเกษตรท ฤษฎีให ม่มากที่สุด คือ การทํานาและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์จากสระนํ้าในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ได้แก่ ขนาดพื้นที่ทํากิน แหล่งความรู้และข่าวสาร และจํานวนแรงงานในครัวเรือน ปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ เงินทุน ราคาปัจจัยการผลิตมีราคาแพงเจ้าหน้าที่ดําเนินงานล่าช้า มีข้อเสน อแนะ คือการให้ค ว าม รู้ ข่ าว สารให ม่ ๆ เกี่ ย ว กั บ ก ารจัดก ารนํ้ า เจ้าหน้าที่ติดตามการดําเนินงานของโครงการอย่างต่อเนื่อง
  • 13. ภัณฑิรา นันทพงษ์ (2547) ได้ทําการวิจัยเรื่อง การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคม การผลิต การตลาด และกระบวนการเรียนรู้ของเกษตรกรในโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ต.แม่แฝกใหม่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่มุ่งศึกษาถึงพัฒนาการของเกษตรทฤษฎีใหม่ให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน . ( ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ทําให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทําเกษตรทฤษฎีใหม่เสริมจากการปลูกพืชหลักได้ความรู้เพิ่มเติมมาปรับใช้ จากการได้แลกเปลี่ยนความรู้กับชุมชนอื่น โครงการฝึกอบรมต่างๆ 5( ด้านการผลิต มีรูปแบบการผลิตที่หลากหลายขึ้น การส่งเสริมของหน่วยงานราชการ ภายในกลุ่มได้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อวางแผนการผลิตที่ครอบคลุมสามารถปฏิบัติได้จริง 5( ด้านการตลาด มี 5 รูปแบบ คือ 1. ตลาดปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นแบบต่างคนต่างซื้อ 2. และตลาดผลผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นแบบต่างคนต่างขายซึ่งขึ้นกับเงื่อนไขสําคัญคือ ชนิดปริมาณ ความหลากหลายของสินค้า ความแตกต่างของราคาที่ได้รับ ความยากง่ายในการเข้าถึงจุดจําหน่าย การมีปฏิสัมพันธ์ในการตลาด และกระบวนการกลุ่ม ข้อเสนอแนะ 1) เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นการเกษตรที่ต้องยืดหยุ่นให้เข้ากับแต่ละพื้นที่ ควรมีการจัดสรรที่ดินให้เข้ากับสภาพการผลิตของแต่ละสถานที่ 5( หน่วยงานรัฐบาลควรช่วยส่งเสริมด้านความรู้ ความเข้าใจก่อนลงมือสนับสนุนการปฏิบัติจริง 5( ควรมีการจัดการเรียนการสอนเรื่องการเกษตรทฤษฎีใหม่สืบเนื่องไปถึงเรื่องการทําการเกษตรแบบยั่งยืน 4( ในการพัฒนารูปแบบการผลิตมีการวางแผนร่วมกันเพื่อช่วยลดต้นทุนด้านการผลิตรวางแผนการผลิตที่ดี เป็นหัวใจสําคัญของการทําตลาดสินค้าเกษตร
  • 14. 2.3 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา หลักเศรษฐกิจพอเพียงหลักการพึ่ง ตนเองหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ (Input) (ตัวแปรตาม) ความสามารถในการพึ่งพา ตนเองของเกษตรกร โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ในจังหวัดเชียงใหม่ (Output) ด้านเทคโนโลยี (Technology :T) ด้านสังคม (Social : S) ด้านเศรษฐกิจ (Economic : E) ด้านจิตใจ (Mental : M) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม (Resource :R)
  • 15. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 3.1 วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาเรื่องการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศษร ฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฏีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ ในพื้นที่ 8 อําเภอ คือ เวียงแหง เชียงดาว แม่แตง สะเมิง สันป่าตอง แม่แจ่ม ดอยเต่า อมก๋อย โดยสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากเกษตรกร 64 ราย และรวบรวมข้อมูลจาก 2 แหล่ง คือ 1.ปฐมภูมิ (Primary Data) ใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์เกษตรกร เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นรูปธรรม เพื่อนํามาวิเคราะห์ทางเชิงสถิติพรรณนา 2. ทุติยภูมิ หรือเอกสารชั้นรอง (SecondaryData) เช่น ข้อมูลจากสํานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หนังสือ บทความ เป็นต้น 3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. นําข้อมูลทั่วไปมาวิเคราะห์แบบพรรณา โดยใช้มาตรวัดแบบ Rating Scale โดยให้ระดับความสําคัญ 5 ระดับเรียงจากมากไปน้อย แล้วนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบอธิบายเพื่อให้ทราบถึงการดําเนินงานของเกษตร สภาพทางเศรษฐกิจ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การรักษาสภาพแวดล้อม วิถีชีวิต เป็นต้น 2. ทําการทดสอบสมมุติฐานของการศึกษาวิจัย โดยให้ความสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร ได้แก่เทคโนโลยี เศรษกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จิตใจ และ สัมคม โดยให้ตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ 2 ค่า คือ ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ให้แทนค่าเป็น 0 และ สามารถพึ่งพาตัวเองได้ ให้แทนค่าเป็น 1 และนําไปคํานวนโดยใช้สูตรสมการ P (Y) = f(TECHNOLOGY, ECONOMIC, RESOURCE, MENTAL, SOCIAL) Xi’ß = ß0 + ß1X1 + ß2 X2 + ß3 X3 + ß4 X4 + ß5 X5 Xi’ß = ß0 + ß1TECHNOLOGY + ß2ECONOMIC + ß3RESOURCE + ß4MENTAL + ß5SOCIAL ซึ่งจะทําให้ทราบได้ว่าเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้หรือไม่ เช่น สามารถประดิษฐ์เครื่องมือเอง
  • 16. ซ่อมแซมอุปกรณ์ การเพิ่มผลผลิต การใช้ประโยชน์จากแหล่งนํ้า การกําจัดขยะ การใส่ใจถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม การบํารุงศาสนา หรือ การช่วยเหลือเพื่อนบ้านและชุมชนได้มากน้อยเพียงใด บทที่ 4 ผลการศึกษา การศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เรียนรู้ และทําความเข้าใจ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเป็นการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพี ยงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่การรวบรวมข้อมูลได้มาจากการใช้แบบส อบถาม ประกอบการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 64 ราย และนําข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยจําแนกผลการศึกษาออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างเป็นผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา )Descriptive Statistics) ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่เก็บรวบรวมได้ โดยนําเสนอในรูปแบบตารางที่ใช้การแจกแจงความถี่ )Frequency) และค่าร้อยละ )Percentage) ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจําลองโลจิท )LogitModel)เป็นการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเ กษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการใช้แบบจําลองโลจิท และเทคนิคการวิเคราะห์การประมาณภาวะความน่าจะเป็นสูงสุด )MaximumLikelihood Estimates: MLE) ส่วนที่ 3 ทดสอบสมมุติฐานของการวิจัยเป็นการนําค่าที่ได้จากวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจําลองโลจิท )Logit Model) มาแทนค่าในฟังก์ชั่น เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ทดสอบค่า ß0, ß.…ß2
  • 17. ที่ได้จากการคํานวณในตัวแปรอิสระอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ เนื่องจากหากค่า ß = 0 แสดงว่า ตัวแปรอิสระไม่สามารถอธิบายการมีผลต่อตัวแปรตามได้ หากค่า ß ≠ 0 แสดงว่า ตัวแปรอิสระสามารถอธิบายการมีผลต่อตัวแปรตามได้ ส่วนที่ 4 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษ ตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ / วิเคราะห์เปรียบเทียบเป็นการสรุปผลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในพึ่งพาตนเองตามหลักเศร ษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ ตามกรอบแนวคิดของการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ ด้านเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านจิตใจ และด้านสังคม โดยการใช้มาตรวัดแบบ RatingScale ตามวิธีของ Likert โดยการแบ่งระดับความสําคัญออกเป็น 2 ระดับ คือ 1.ระดับความสําคัญมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 2 2.ระดับความสําคัญมาก มีค่าเท่ากับ 4 3.ระดับความสําคัญปานกลาง มีค่าเท่ากับ 5 4.ระดับความสําคัญน้อย มีค่าเท่ากับ 5 5.ระดับความสําคัญน้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ . และนําผลรวมมาหาค่าเฉลี่ยแล้วจึงนําเปรียบเทียบกับการแปรความหมายระดับคะแนนโดยใช้เป็ นเกณฑ์ช่วงคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ 1.ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.5. – 2.00 หมายถึง มากที่สุด 2.ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.4. – 4.50 หมายถึง มาก 3.ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.6. – 5.40 หมายถึง ปานกลาง 4.ระดับคะแนนเฉลี่ย ..8. – 5.60 หมายถึง น้อย 5.ระดับคะแนนเฉลี่ย ..00 – ..80 หมายถึง น้อยที่สุด 4.1 ข้อมูลพื้นฐานลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง
  • 18. ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานลักษณะส่วนบุคคลของเกษตรกรตามโครงการเกษตรทฤษฎี ใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา พบว่าเกษตรกรโครงการฯ ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 95..9 และ ศ.8. ตามลําดับ ทั้งนี้ เนื่องจากหัวหน้าครอบครัวส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย ซึ่งในการดําเนินการจะเป็นการช่วยกันของสมาชิกในครอบครัวทั้งสามี ภรรยา และบุตร โดยมีหัวหน้าครอบครัวเป็นหลัก และจากการสํารวจนั้นทําให้ทราบได้ว่าพบว่า เกษตรกรโครงการฯ ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีอายุในช่วง 51–60ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.44 รองลงมา มีอายุในช่วง 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 28.13 ซึ่งก่อนที่เกษตรที่มาจากการกลุ่มตัวอย่างนี้จะเริ่มทําการเกษตรทฤษฎีใหม่นั้นได้พบปัญหาดังนี้ ปัญหาที่พบก่อนทําการเกษตรทฤษฎีใหม่ จํานวน (คน) ร้อยละ ราคาผลผลิตไม่แน่นอน 57 89.06 ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง 44 68.75 ขาดเงินทุนสนับสนุน 39 60.94 สภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน 19 29.69 ศัตรูพืช / โรคพืชระบาด 16 25.00 ขาดความรู้เกี่ยวกับการทําเกษตร 15 23.43 ขาดแคลนนํ้าในการเกษตร 10 15.63 ขาดแคลนแรงงาน 10 15.63 ซึ่งหลังจากที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างนี้ทําการเกษตรทฤษฎีใหม่แล้ว พบว่ามีแค่ร้อยละ 1.56 เท่านั้นที่ไม่ทําการเกษตรทฤษฎีใหม่อีกต่อไป (1 คน จาก 64 คน) เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความมั่นใจในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ และยังยืนยันว่าเกษตรกรสามารถดํารงชีวิตด้วยการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ได้โดยไม่ต้องกังวลถึงปัญหาเดิ มที่เคยเจอ
  • 19. 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจําลองโลจิท (Logit Model) จากการคํานวณสมการ Logit X1 ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (TECHNOLOGY) พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเทคโนโลยีของเกษตรกรโครงการฯ คือ ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข องเกษตรกรโครงการฯ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค วามเชื่อถือ )ร้อยละ( เกษตรกรโครงสามารถซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ได้ด้วยตนเอง 99 การแปรรูปผลผลิตจากธรรมชาติเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคในระย ะยาว 98 มีพื้นที่เฉพาะสําหรับการจัดเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ในการทําเกษตร 92 การได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ 94 มีเครื่องมือเครื่องจักรทางการเกษตรเป็นของตนเอง 9. จากการคํานวณสมการ Logit X2 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (ECONOMIC) โดยปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจของเกษตรกรโครงการฯ คือ ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข องเกษตรกรโครงการฯ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค วามเชื่อถือ )ร้อยละ( การได้รับการสนันเงินทุน 99 ไม่ใช้เงินทุนในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มาจากการกู้ยืมนายทุนนอ กระบบ การมีผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี และการปลูกไม้ผลเพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน 92 มีผลผลิตข้าวเหลือเพื่อการจําหน่าย 94 มีผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์นํามาบริโภคในครัวเรือน 95
  • 20. จากการคํานวณสมการ Logit X3 ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (RESOURCE) โดยปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งตนเองในด้านทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของเกษตรก รโครงการฯ คือ ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข องเกษตรกรโครงการฯ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค วามเชื่อถือ )ร้อยละ( สภาพของดินในพื้นที่ทําการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ 99 การใช้แหล่งนํ้าในการทําเกษตรมาจากระบบนํ้าบาดาล 96 ทําลายขยะที่เป็นเศษวัสดุจากธรรมชาติ โดยการฝั่งกลบเพื่อใช้เป็นปุ๋ยธรรมชาติ 93 จากการคํานวณสมการ Logit X4 ปัจจัยด้านจิตใจ (MENTAL) โดยมีปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งตนเองในด้านจิตใจของเกษตรกรโครงการฯ คือ ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข องเกษตรกรโครงการฯ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค วามเชื่อถือ )ร้อยละ( การแวะเวียนมาพูดคุยกับเพื่อนบ้านหรือมีเพื่อนบ้านแวะเวียนมาคุย ด้วย 99 การได้ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง เป็นประจํา 93 จากการคํานวณสมการ Logit X5 ปัจจัยด้านสังคม (SOCIAL) โดยมีปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งตนเองในด้านสังคมของเกษตรกรโครงการฯ คือ ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านเศรษฐกิจข องเกษตรกรโครงการฯ นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความค วามเชื่อถือ )ร้อยละ( มีศูนย์กลางการตลาดโดยการจัดการภายในชุมชนเพื่อจําหน่ายผลผ ลิต 99 การเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร/สหกรณ์ภายในชุมชน 93 4.5 การทดสอบสมมุติฐานของการวิจัย
  • 21. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (X1) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านเทคโนโลยี การที่เกษตรกรโครงการฯ สามารถซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง, มีการแปรรูปผลผลิตจากธรรมชาติเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคในระยะยาว, การมีพื้นที่เฉพาะสําหรับการจัดเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ในการทําเกษตร, การได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์ ฯลฯ และการมีเครื่องมือเครื่องจักรทางการเกษตรเป็นของ มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (X2) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านเศรษฐกิจ การได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง, การไม่ใช้เงินทุนในการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มาจากการกู้ยืมนายทุนนอกระบบ การมีผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี และการปลูกไม้ผลเพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน, การมีผลผลิตข้าวเหลือเพื่อการจําหน่ายและมีผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์นํามาบริโภคในครัวเรือน มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (X3) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและ การที่สภาพของดินในพื้นที่ทําการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์, การใช้แหล่งนํ้าในการทําเกษตรมาจากระบบนํ้าบาดาลและทําลายขยะที่เป็นเศษวัสดุจากธรรมชาติ โดยการฝังกลบเพื่อใช้เป็นปุ๋ยธรรมชาติ มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจัยด้านจิตใจ (X4) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านจิตใจ
  • 22. โดยการแวะเวียนมาพูดคุยกับเพื่อนบ้านหรือมีเพื่อนบ้านแวะเวียนมาคุยด้วย และการได้ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง เป็นประจํามีผลทําให้เกษตรกรโครงการฯ มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจัยด้านสังคม (X5) จากการวิเคราะห์ พบว่าปัจจัยด้านสังคม มีศูนย์กลางการตลาดโดยการจัดการภายในชุมชนเพื่อจําหน่ายผลผลิต และการเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร/สหกรณ์ภายในชุมชน มีผลทําให้เกษตรกรโครงการฯ มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 4.4 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ / วิเคราะห์เปรียบเทียบ ปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อความสามารถใน การพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ คือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (TECHNOLOGY) มาก รู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ และนาความรู้มาปรับใช้กับพื้นที่เกษตรของตนเองให้เหมาะสมเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด ปานกลางพื้นที่และอุปกรณ์ สาคัญรองลงมาเนื่องจากหากมีความรู้เราก็สามารถปรับปรุงพื้นที่ทากินให้เหมาะสมได้อย่างถูกต้อง ส่วนเการพึ่งพาครื่องมือก็มีความจาเป็นบ้างเพื่อความรววดเร็วแต่ก็ต้องสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ น้อย การประดิษฐ์สิ่งของใช้เองเนื่องจากแต่ละบุคคลมีพื้นฐานทางความคิดและฝีมือทางการช่างที่ตกต่างกัน ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (ECONOMIC) มาก มีผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี เน้นความเป็นอยู่อย่างพอเพียง ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ซึ่งสิ่งเหล่านี้สนับสนุนให้เกิดโอกาสในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรได้เป็นอย่างดี ปานกลาง ไม่มีหนี้มีผลผลิตเหลือมากพอที่จะนาไปขายและหาอาชีพเสริมทาระหว่างรอการเก็บผลผลิต เป็นการเพิ่มรายได้อีกทาง
  • 23. น้อย การกู้เงินทุนนอกระบบหามีการทาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงแล้วก็ไม่จาเป็นที่จะต้องไปยืมหนี้นอกระบบ ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (RESOURCE) มาก แหล่งน้าเป็นทรัพยากรณ์ที่จาเป็นมากในการทาเกษตรโดยต้องมีแหล่งทรัพยากรณ์น้าเป็นของตนเอง เพื่อใช้ในการเกษตรและในชีวิตประจาวัน ปานกลาง การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนทั้งด้านขยะน้าเกษตรกรรมและปศุสัตว์ น้อย ภัยจากธรรมชาติและผลที่เกิดจากการกระทาของมุษย์เช่นฝนแล้งการเผาขยะปัญหาดิน ปัจจัยด้านจิตใจ (MENTAL) มาก-มากที่สุด มีการทากิจกรรมร่วมกันภายในครอบครัวและชุมชนมีการแวะเวียนมาพูดคุยกับเพื่อนบ้านหรือมีเพื่อนบ้านแวะเวียนมาคุย ด้วยที่บ้านการแบ่งปันสิ่งของ/อาหารแก่ผู้อื่น ๆสะท้อนให้เห็นถึงสภาวะทางจิตใจของเกษตรกรซึ่งการมีพื้นฐานทางครอบครัวที่ดีมีเพื่อนบ้านที่ดี ปานกลาง ทางานอดิเรกเพื่อเป็นการผ่อนคลายจากการทางาน ปัจจัยด้านสังคม (SOCIAL) มาก มีการประชุมกันในชุมชนมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในการทาเกษตรทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น ปานกลาง มีการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์มีการตั้งกองทุนและสวัสดิการชุมชน
  • 24. บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา เกษตรกรในโครงการฯมีทั้งหมด 64 ราย โดยส่วนใหญ่เป็นเพศชายที่มีอายุในช่วง 2.-60ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนมากมีสถานภาพสมรสและมีจํานวนสมาชิกในครอบครัว 4-2 คน โดยมีคนในครอบครัวที่มีอาชีพทําเกษตรกร เนื่องจากเป็นคนในท้องถิ่น เกษตรกรโครงการฯก่อนที่จะมาทําเกษตรทฤษฎีใหม่ แต่ก่อนทําเกษตรกระแสหลัก แต่ประสบปัญหาราคาผลผลิตไม่แน่นอน ในปีพ.ศ.5240-5245 มีผู้ทําเกษตรทฤษฎีใหม่มากที่สุด มีการจัดสรรพื้นที่ตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยแบ่งเป็นสระนํ้า ทํานา ปลูกไม้ยืนต้น แบะมีที่อยู่อาศัยในพื้นที่ทําเกษตร ทั้งนี่ เกษตรกรโครงการฯ มีความมั่นใจและต้องการทําการเกษตรทฤษฎีใหม่ต่อไปเป็นจํานวนมาก สรุปปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการฯ คือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านจิตใจ 5.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป .. การทําวิจัยครั้งนี้มีตัวอย่างของเกษตรกรโครงการฯค่อนข้างน้อยเมือเทียบกับจํานวนทั้งหมด เนื่องจากความจํากัดด้านเวลาและพื้นที่ในการเก็บข้อมูล หากมีผู้ใดสนใจศึกษาเรื่องนี้ ควรมีระยะเวลาในการศึกษาที่มากขึ้นและควรเพิ่มจํานวนตัวอย่างที่มีความแตกต่างและหลากหลายพื้น ที่ให้มากขึ้น 5. การสร้างความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และหลักการที่ถูกต้องเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง แก่เกษตรกรโครงการฯและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นสิ่งที่สําคัญมาก
  • 25. 5. การประสานขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ถือเป็นสิ่งสําคัญ เพราะหากการประสานงานดีจะทําให้การศึกษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว และบรรลุเป้าหมายได้ตามต้องการ 4. การศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษากลุ่มเกษตรกรโครงการฯทุกจังหวัดทั่วประเทศ จะทําให้ผลการศึกษาที่ได้ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งอาจต้องใช้ระยะเวลานานและต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ กับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปัญหาที่พบก่อนทาการเกษตรทฤษฎีใหม่ของกลุ่มตัวอย่าง 1. ราคาผลผลิตไม่แน่นอน 2. ปัจจัยการผลิตราคาสูง พอประมาณ ภูมิคุ้มกันมีเหตุผล ความรู้ คุณธรรม
  • 26. 3. ขาดเงินทุนสนับสนุน 4. สภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน 5. ศัตรูพืช / โรคพืช ระบาด 6. ขาดความรู้เกี่ยวกับการทําเกษตร 7. ขาดแคลนนํ้าในการเกษตร 8. ขาดแคลนแรงงาน ปัจจัยด้านเทคโนโลยี  มีการใช้ปุ๋ยที่ได้จากธรรมชาติ  รู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทําเกษตรทฤษฎีใหม่  นําความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในพื้นที่ทําการเกษตรของตนเองอย่างเหมาะสม  มีเครื่องมือเครื่องจักรการเกษตรเป็นของตนเอง ความพอประมาณ : การนําเครื่องมือ เครื่องใช้ที่มีอยู่มาใช้ในการทําการเกษตร โดยพึ่งพาตนเองมากกว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการจัดสรรพื้นที่ทํากินให้มีประโยชน์สูงสุด และปลูกพืชพรรณ ให้มีความหลากหลายตามฤดูกาล แก้ไขปัญหาเรื่อง : การลดต้นทุนในการผลิต และเพิ่มรายได้จากผลผลิตที่หลากหลาย มีเหตุผล : การเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมอย่างพอดี และหันมาใช้ทรัพยากรที่ตนเองมี ทั้งทรัพยากรคน สัตว์ สิ่งของ แก้ไขปัญหาเรื่อง : การขาดแคลนเงินทุนสนับสนุนในการทําการเกษตร ทั้งเรื่องเครื่องจักร แรงงาน มีภูมิคุ้มกัน : การมีเกราะป้องกันในการถูกชักจูงให้ซื้ออุปกรณ์ทางการเกษตรที่ไม่จําเป็น และราคาสูง
  • 27. ความรู้ : ใช้ความรู้เรื่องการทําการเกษตรทฤษฏีใหม่มาปรับใช้ในพื้นที่ทางการเกษตรของตนเอง ใช้ความเรื่องการทําปุ๋ยชีวภาพมาทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี ความรู้เรื่องการใช้ภูมิปัญญาในการกําจัดศัตรูพืช เป็นต้น คุณธรรม : ดํารงชีวิตอย่างมีสติ ใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย เพื่อลดผลกระทบต่อตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้สมุนไพรกําจัดศัตรูพืชทดแทนการใช้ยาฆ่าแมลง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ  ผลผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี  ลดรายจ่ายที่ไม่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต  มีการจําหน่ายผลผลิตที่เหลือจากการอุปโภคบริโภคในครัวเรือน ความพอประมาณ : ปลูกผลผลิตให้เพียงพอต่อการบริโภคภายในครัวเรือนก่อน แล้วจึงนําผลผลิตที่เหลือไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ นอกจากนี้ยังมีการปลูกผลไม้ พืชผักสวนครัวอื่นๆ ไว้เพื่ออุปโภค บริโภค หรือนําไปแปรรูปเพื่อสร้างคุณค่าให้กับผลผลิต และเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว แก้ไขปัญหาเรื่อง : ราคาผลผลิตที่ไม่แน่นอน เนื่องจากการทําการเกษตรแบบผสมผสานมีผลผลิตที่หลากหลาย ทําให้สามารถขายได้ตลอดปี ความมีเหตุผล : ต้องศึกษากลไกทางตลาดของผลผลิตของเรา แก้ไขปัญหาเรื่อง : ราคาผลผลิตไม่แน่นอน เพราะ เมื่อก่อนจะนิยมปลูกพืชชนิดเดียวในปริมาณมากๆ เมื่อกลไกการตลาดเปลี่ยนไปทําให้ได้รับผลกระทบโดยตรงและทําให้รายรับน้อยกว่ารายจ่ายและเกิดปัญ หาหนี้สินตามมา ซึ่งควรศึกษาการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อให้มีรายได้ตลอดทั้งปีให้พอกินพอใช้ และสร้างแนวทางในการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้า
  • 28. ภูมิคุ้มกัน : มีแผนสํารองสําหรับปัญหาราคาผลผลิตตกตํ่า และปัญหารายจ่ายมากกว่ารายรับ แก้ไขปัญหาเรื่อง : แก้ไขปัญหารายรับและรายจ่าย ราคาผลผลิตที่ตกตํ่า และหนี้สินครัวเรือน โดยการทําการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อความยั่งยืนในการทําเกษตร ความรู้ : การใช้ความรู้เรื่องเกษตรทฤษฏีใหม่ และ การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มคุณค่าของผลผลิต คุณธรรม : ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคภายในครอบครัว นําไปขายโดยไม่เอาเปรียบผู้บริโภค ไม่ค้ากําไรเกินควร ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  แหล่งนํ้าในการทําเกษตรมาจากสระนํ้าในพื้นที่ทําการเกษตรฯของตัวเอง  สภาพของดินในพื้นที่ทําการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์  ปลูกไม้ยืนต้น / ไม้ผล รอบสระนํ้าในพื้นที่เกษตรของตนเอง ความพอประมาณ : มีการจัดสรรทรัพยากรในที่ดินของตนเอง แก้ไขปัญหา : จัดสรรที่ดินให้สามารถปลูกพืชได้ครบทั้งฤดูกาล และ เลี้ยงสัตว์เช่น ไก่ เป็ด หมู ในบริเวณเหนือบ่อเลี้ยงปลาเพื่อนํามูลไปเป็นอาหารปลา มีเหตุผล : ต้องรู้ถึงระบบนิเวศน์และความเหมาะสมในการปลูกต้นไม้และการเลี้ยงสัตว์ต่างๆในพื้นที่ แก้ไขปัญหา : การปลูกไม้ยืนต้นไว้บริเวณรอบๆสระ เพื่อป้องกันการกัดเซาะดินของนํ้าในสระ และป้องกันการระเหยของสระนํ้าเพื่อป้องกันปัญหานํ้าขาดแคลนในฤดูแล้ง ภูมิคุ้มกัน : เพื่อป้องกันภัยพิบัติธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต