SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
วัฏจักรหิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: วัฏจักรหิน
บทนา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนจะพบกับผู้เชี่ยวชาญและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการกาเนิดของหิน
ตะกอนโดยอ้างอิงกับหินที่พบในกรุงเทพมหานคร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอัคนีที่พบใกล้กับปราสาทหินพนมรุ้งในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยศึกษาเกี่ยวกับอัตราในการเย็นตัวของหินมีผลต่อขนาดของผลึกใน
หินอัคนีอย่างไร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอ่อนในวัดที่สร้างด้วยหินอ่อนในกรุงเทพ
มหานคร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนวาดรูปเกี่ยวกับวัฏจักรหินที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว
คาสาคัญ
วัฏจักรหิน, หินอัคนี, หินแปร, หินตะกอน, การผุพัง, การยึดเกาะ, การกร่อน, ความร้อน, อุณหภูมิ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เขียนแผนภาพวัฏจักรหินเพื่อเตรียมออกแบบเว็บไซต์
2. อธิบายวัฏจักรหิน
กิจกรรมการเรียนรู้
105 นาที
ขั้นสร้างความสนใจ (Engage)
25 นาที
ต้อนรับนักเรียนและแนะนาภาระงานสุดท้ายคือการออกแบบแผนภาพวัฏจักรหินที่สมบูรณ์
ภาพนิ่งที่ 1-2
ภาพนิ่งที่ 3 - 4

แนะนาหน่วยการเรียนรู้และอธิบายวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรียนรู้
อธิบายภาระงานที่ให้นักเรียนออกแบบเว็บไซต์ซึ่งจะเป็นการสรุปความรู้เกี่ยวกับหินใน
ประเทศไทย ก่อนเริ่มดาเนินกิจกรรมควรเตรียมตัวอย่างหินแต่ละชนิด จากแหล่งต่างๆ
เพื่อให้นักเรียนทราบว่าพวกเขาจะต้องเตรียมอะไรบ้างในการออกแบบเว็บไซต์
1
Inspiring Science Project 2013

วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน

ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะได้ทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก 1) คณะกรรมการการ
ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและ 2) ผู้เชี่ยวชาญจากพิพิธภัณฑ์ทางธรณีวิทยา ซึ่งในแผนการจัดการเรียนรูนี้
้
ต้องการให้นักเรียนพัฒนาเว็บไซต์ที่จะแสดงถึงลักษณะทางธรณีวิทยาของประเทศไทย ที่จะนาเสนอให้
นักท่องเที่ยวมีความสนใจทางด้านธรณีวิทยา ซึ่งการที่จะทาให้นักท่องเที่ยวมีความสนใจนั้น จะต้องมีการ
อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการทางธรณีวิทยาในภาษาที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าใจได้ง่าย ในบทนี้จะกล่าวถึงการ
กาเนิดและคุณสมบัติของหินอัคนี หินแปร และหินตะกอนโดยจะให้ดูตัวอย่างประกอบในหินบางประเภท
2
Inspiring Science Project 2013

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน

ขั้นขยายความรู(้ Elaborate)
15 นาที
นักเรียนตีความและเรียงลาดับเหตุการณ์โดยใช้ความรู้และความเข้าใจเรื่องวัฏจักรหิน
ภาพนิ่งที่ 10
แสดงภาพนิ่งนี้เพื่อจะแนะนาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการเกิดวัฏจักรหิน
ภาพนิ่งที่ 11
หาดทรายนี้อยู่บนเกาะบาหลี ซึ่งมีทรายสีดา ที่เกิดจากการผุพังและการกร่อนของหินภูเขา
ไฟที่มีสีดา จากการกัดกร่อนของน้าและกระบวนการทางเคมีทาให้หินถูกกัดเซาะและแตก
ออกกลายเป็นตะกอนในแม่น้าและลาธาร ในส่วนอื่น ๆ ของเกาะบาหลีที่มีหาดทรายสีขาว
ทรายเหล่านี้เกิดจากหินคนละชนิดกับทรายสีดา แต่มีกระบวนการกัดกร่อนเหมือนกัน
ภาพนิ่งที่ 12
พื้นที่บริเวณสีแดงเป็นภูเขาไฟ ส่วนบริเวณสีเขียวมีแนวโน้มที่จะเกิดการแปรสภาพ
เนื่องจากตะกอนจากภูเขาไฟได้รบความร้อนและความดันจากภูเขาไฟใต้พื้นดิน
ั

วัฏจักรหิน

ขั้นสารวจและค้นหา (Explore)
20 นาที
นักเรียนแต่ละกลุ่มทาการจัดกลุ่มหินโดยวิธีที่แต่ละกลุ่มใช้จะขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้
ภาพนิ่งที่ 5
แสดงตัวอย่างหินและถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแบ่งกลุ่มของหินอัคนี หินแปร และหิน
ชั้น นักเรียนควรจะต้องอธิบายและให้เหตุผลที่ในการใช้แบ่งกลุ่มหินได้ ซึ่งกิจกรรมนี้เป็น
กิจกรรมที่ดีในการปรับความเข้าใจของนักเรียนเรื่องหินชนิดต่างๆ
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explain)
25 นาที
นักเรียนออกแบบโปสเตอร์เพื่อนาเสนอวัฏจักรหินและกระบวนการเปลี่ยนแปลงของหินชนิดต่างๆ
ภาพนิ่งที่ 6
ภูรินทร์นาเสนอว่าเธอไม่เข้าใจว่าทาไมหินทุกชนิดไม่ใช่หินอัคนี ทั้งที่หินทุกชนิดก็มีจุด
กาเนิดมาจากการเย็นตัวลงของลาวา
ภาพนิ่งที่ 7
ให้นักเรียนออกแบบวัฏจักรหิน โดยวาดกล่องข้อความบนกระดานและระบุว่าเป็น
“หินอัคนี” ลากลูกศรจากหินอัคนีและระบุที่ลูกศรว่าเกิดการผุพัง กระบวนการนี้
สอดคล้องกับการแปรสภาพของหินที่เกิดจากการกระทาของลม, น้า, การเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิ ฯลฯ ต่อไปชี้ลูกศรไปที่กล่องข้อความใหม่ที่ชื่อว่า 'ตะกอน' อธิบายว่าตะกอน
เหล่านี้จะถูกพัดพาไปและมีแนวโน้มที่จะตกลงในทะเลสาบและก้นแม่น้า ตะกอนจะเกิด
การทับถมกันมากขึ้นทาให้เกิดเป็นหินตะกอน วาดกล่องนี้บนกระดาน
ภาพนิ่งที่ 8
แสดงภาพนิ่งที่ 8 เพื่อให้คาแนะนาเพิ่มเติมแก่นักเรียน ว่านักเรียนควรจะแบ่งออกเป็น 4
กลุ่มสาหรับกิจกรรมนี้ โดยใช้แหล่งข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้ เช่น อินเทอร์เน็ตและหนังสือ
ฯลฯ นักเรียนควรจะนาความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนความคิดกันเห็นในเรื่องวัฏจักรหิน
และความรู้ที่ได้รับจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว
ภาพนิ่งที่ 9
แสดงแผนภาพวัฏจักรหิน ซึ่งเป็นวัฏจักรหินอีกรูปแบบหนึ่งและนักเรียนอาจะเติมบาง
ขั้นตอนที่นักเรียนยังขาดไปลงในแผนภาพของนักเรียน โดยครูเน้นหลักของการ
เปลี่ยนแปลง (การเย็นตัวของลาวา ผุพัง การตกตะกอน การทับถม การแปรสภาพ ฯลฯ)
และตรวจสอบให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนเข้าใจหลักของการเปลี่ยนแปลงนี้
ภาพนิ่งที่ 13

ขั้นประเมินผล (Evaluate)
20 นาที
นักเรียนวางแผนการทาเว็บไซต์เสร็จเรียบร้อยเพื่อนาเสนอความรู้เรื่องวัฏจักรหินและเรื่องธรณีวิทยาในประเทศ
ไทย
แผนภาพที่ 14 นี่คือโอกาสสุดท้ายที่นักเรียนทีจะได้จัดทาเว็บไซต์ หากนักเรียนยังทางานไม่เสร็จ สามารถ
่
ทาในชั่วโมงนี้ได้ ถ้าหากมีคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมที่ใช้สร้างเว็ปไซต์ก็จะง่ายและสะดวก
ในการพัฒนาเว็ปไซต์ของนักเรียน หรือถ้าไม่มีอุปกรณ์ นักเรียนสามารถออกแบบใน
กระดาษได้
หลังจากนักเรียนทาเว็บไซต์หรือวางแผนสร้างเว็บไซต์เสร็จ ควรใช้เวลาร่วมกันในการ
ชื่นชมผลงานของนักเรียน นักเรียนสามารถเดินชมงานของกลุ่มอื่นและดูว่ากลุ่มของเขายัง
ขาดหรือจะต้องอธิบายในส่วนใดของแผนงานเพิ่มเติมหรือไม่ เน้นย้าว่าที่ทาเช่นนี้เป็น
โอกาสในการหาแนวทางที่เป็นไปได้ในการสร้างเว็บไซต์มากกว่าจะระบุว่าเว็บไซต์ใดดีที่สุด
ในชั้นเรียน
การประเมินผลโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน
การประเมินผลย่อย
ประเมินความสามารถของนักเรียนในการสังเคราะห์ความรู้จากกิจกรรมที่หลากหลายและแหล่งเรียนรู้ที่ใช้
ในการวางแผนในการทาเว็บไซต์ของพวกเขา โดยพิจารณาความสามารถในการดึงข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์
จากการทางานของผู้อื่น
ความแตกต่างระหว่างผู้เรียน
เราสามารถช่วยเหลือนักเรียนที่อ่อนได้ โดยให้นักเรียนจับกลุ่มทางานโดยคละความสามารถในเรียนรู้ของ
นักเรียน

3
Inspiring Science Project 2013

วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน

เราไม่สามารถชี้ได้ชัดเจนจากแผนที่เพียงอย่างเดียว ว่าพื้นที่สีเขียวจะเป็นหินตะกอนหรือ
หินแปร หินตะกอนที่เกิดจากการพังทลายของหินภูเขาไฟอาจไม่ได้เปลียนแปลงรูปร่าง
่
เราต้องศึกษาในภาคสนามจึงจะรู้ว่าหินนั้นเป็นหินแปร
เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนรูเ้ กี่ยวกับวัฏจักรหินว่าเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและสามารถกลับไป
กลับมาได้ ในทางทฤษฎีหินบริเวณตอนเหนือของกรุงเทพฯ จะถูกกัดเซาะกลายเป็น
ตะกอนขนาดเล็กและถูกพัดพาไปในทะเล ตะกอนเหล่านีอาจจะถูกบีบอัด ทับถม
้
กลายเป็นชั้นหิน เมื่อเวลาผ่านไปชั้นหินอาจจะมุดตัวลงใต้โลกและหลอมเหลวหลายเป็น
ลาวา ซึ่งลาวาจะไหลวนอยู่ใต้เปลือกโลกและอาจจะไหลออกมาทางตอนเหนือ เกิดการ
เย็นตัวกลายเป็นหินอัคนีและถูกกัดเซาะอีกครั้งเกิดเป็นตะกอน ตะกอนจะถูกพัดพาผ่าน
แม่น้ามาสู่กรุงเทพฯแล้วไหลลงสู่ทะเลอีกครั้ง
การเตรียมตัวสาหรับบทเรียน
สื่อการเรียนการสอนที่ใช้

เครื่องมือที่ใช้
-

ขั้นสารวจและค้นหา (Explore)
-

ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explain)
แผ่นกระดาษขนาดใหญ่และปากกาเพื่อออกแบบแผนภาพวัฏจักรหิน
-

ขั้นประเมินผล (Evaluate)
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์ในการพัฒนาเครื่องมือสาหรับคู่มือท่องเที่ยว การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช
โดยใช้ซอฟต์แวร์ iWeb (จาก www.Apple.com) เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการพัฒนาเว็บไซต์นักเรียน

4
Inspiring Science Project 2013

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน

ขั้นขยายความรู้ (Elaborate)

วัฏจักรหิน

ขั้นสร้างความสนใจ (Engage)

More Related Content

Viewers also liked

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Viewers also liked (20)

Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Inspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theoryInspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theory
 
Cm rally episode 1 thai
Cm rally episode 1 thaiCm rally episode 1 thai
Cm rally episode 1 thai
 
Space team1 th
Space team1 thSpace team1 th
Space team1 th
 
Cm rally episode 2 thai
Cm rally episode 2 thaiCm rally episode 2 thai
Cm rally episode 2 thai
 
Resort3 ฉบับไทย
Resort3 ฉบับไทยResort3 ฉบับไทย
Resort3 ฉบับไทย
 
Space team4 0th
Space team4 0thSpace team4 0th
Space team4 0th
 
Rock cycle1ss[1] thai
Rock cycle1ss[1] thaiRock cycle1ss[1] thai
Rock cycle1ss[1] thai
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro1 pdf
Astro1 pdfAstro1 pdf
Astro1 pdf
 
Resort4 ฉบับไทย
Resort4 ฉบับไทยResort4 ฉบับไทย
Resort4 ฉบับไทย
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
R cycle1 tguide thai
R cycle1 tguide thaiR cycle1 tguide thai
R cycle1 tguide thai
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
Ice cafe2 thai
Ice cafe2 thaiIce cafe2 thai
Ice cafe2 thai
 
T soda4(thai)
T soda4(thai)T soda4(thai)
T soda4(thai)
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 

R cycle4 tguide[1] th

  • 1. วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4: วัฏจักรหิน บทนา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนจะพบกับผู้เชี่ยวชาญและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการกาเนิดของหิน ตะกอนโดยอ้างอิงกับหินที่พบในกรุงเทพมหานคร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอัคนีที่พบใกล้กับปราสาทหินพนมรุ้งในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยศึกษาเกี่ยวกับอัตราในการเย็นตัวของหินมีผลต่อขนาดของผลึกใน หินอัคนีอย่างไร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอ่อนในวัดที่สร้างด้วยหินอ่อนในกรุงเทพ มหานคร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนวาดรูปเกี่ยวกับวัฏจักรหินที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว คาสาคัญ วัฏจักรหิน, หินอัคนี, หินแปร, หินตะกอน, การผุพัง, การยึดเกาะ, การกร่อน, ความร้อน, อุณหภูมิ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เขียนแผนภาพวัฏจักรหินเพื่อเตรียมออกแบบเว็บไซต์ 2. อธิบายวัฏจักรหิน กิจกรรมการเรียนรู้ 105 นาที ขั้นสร้างความสนใจ (Engage) 25 นาที ต้อนรับนักเรียนและแนะนาภาระงานสุดท้ายคือการออกแบบแผนภาพวัฏจักรหินที่สมบูรณ์ ภาพนิ่งที่ 1-2 ภาพนิ่งที่ 3 - 4 แนะนาหน่วยการเรียนรู้และอธิบายวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรียนรู้ อธิบายภาระงานที่ให้นักเรียนออกแบบเว็บไซต์ซึ่งจะเป็นการสรุปความรู้เกี่ยวกับหินใน ประเทศไทย ก่อนเริ่มดาเนินกิจกรรมควรเตรียมตัวอย่างหินแต่ละชนิด จากแหล่งต่างๆ เพื่อให้นักเรียนทราบว่าพวกเขาจะต้องเตรียมอะไรบ้างในการออกแบบเว็บไซต์ 1 Inspiring Science Project 2013 วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะได้ทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก 1) คณะกรรมการการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและ 2) ผู้เชี่ยวชาญจากพิพิธภัณฑ์ทางธรณีวิทยา ซึ่งในแผนการจัดการเรียนรูนี้ ้ ต้องการให้นักเรียนพัฒนาเว็บไซต์ที่จะแสดงถึงลักษณะทางธรณีวิทยาของประเทศไทย ที่จะนาเสนอให้ นักท่องเที่ยวมีความสนใจทางด้านธรณีวิทยา ซึ่งการที่จะทาให้นักท่องเที่ยวมีความสนใจนั้น จะต้องมีการ อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการทางธรณีวิทยาในภาษาที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าใจได้ง่าย ในบทนี้จะกล่าวถึงการ กาเนิดและคุณสมบัติของหินอัคนี หินแปร และหินตะกอนโดยจะให้ดูตัวอย่างประกอบในหินบางประเภท
  • 2. 2 Inspiring Science Project 2013 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน ขั้นขยายความรู(้ Elaborate) 15 นาที นักเรียนตีความและเรียงลาดับเหตุการณ์โดยใช้ความรู้และความเข้าใจเรื่องวัฏจักรหิน ภาพนิ่งที่ 10 แสดงภาพนิ่งนี้เพื่อจะแนะนาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการเกิดวัฏจักรหิน ภาพนิ่งที่ 11 หาดทรายนี้อยู่บนเกาะบาหลี ซึ่งมีทรายสีดา ที่เกิดจากการผุพังและการกร่อนของหินภูเขา ไฟที่มีสีดา จากการกัดกร่อนของน้าและกระบวนการทางเคมีทาให้หินถูกกัดเซาะและแตก ออกกลายเป็นตะกอนในแม่น้าและลาธาร ในส่วนอื่น ๆ ของเกาะบาหลีที่มีหาดทรายสีขาว ทรายเหล่านี้เกิดจากหินคนละชนิดกับทรายสีดา แต่มีกระบวนการกัดกร่อนเหมือนกัน ภาพนิ่งที่ 12 พื้นที่บริเวณสีแดงเป็นภูเขาไฟ ส่วนบริเวณสีเขียวมีแนวโน้มที่จะเกิดการแปรสภาพ เนื่องจากตะกอนจากภูเขาไฟได้รบความร้อนและความดันจากภูเขาไฟใต้พื้นดิน ั วัฏจักรหิน ขั้นสารวจและค้นหา (Explore) 20 นาที นักเรียนแต่ละกลุ่มทาการจัดกลุ่มหินโดยวิธีที่แต่ละกลุ่มใช้จะขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้ ภาพนิ่งที่ 5 แสดงตัวอย่างหินและถามนักเรียนเพื่อให้นักเรียนแบ่งกลุ่มของหินอัคนี หินแปร และหิน ชั้น นักเรียนควรจะต้องอธิบายและให้เหตุผลที่ในการใช้แบ่งกลุ่มหินได้ ซึ่งกิจกรรมนี้เป็น กิจกรรมที่ดีในการปรับความเข้าใจของนักเรียนเรื่องหินชนิดต่างๆ ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explain) 25 นาที นักเรียนออกแบบโปสเตอร์เพื่อนาเสนอวัฏจักรหินและกระบวนการเปลี่ยนแปลงของหินชนิดต่างๆ ภาพนิ่งที่ 6 ภูรินทร์นาเสนอว่าเธอไม่เข้าใจว่าทาไมหินทุกชนิดไม่ใช่หินอัคนี ทั้งที่หินทุกชนิดก็มีจุด กาเนิดมาจากการเย็นตัวลงของลาวา ภาพนิ่งที่ 7 ให้นักเรียนออกแบบวัฏจักรหิน โดยวาดกล่องข้อความบนกระดานและระบุว่าเป็น “หินอัคนี” ลากลูกศรจากหินอัคนีและระบุที่ลูกศรว่าเกิดการผุพัง กระบวนการนี้ สอดคล้องกับการแปรสภาพของหินที่เกิดจากการกระทาของลม, น้า, การเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิ ฯลฯ ต่อไปชี้ลูกศรไปที่กล่องข้อความใหม่ที่ชื่อว่า 'ตะกอน' อธิบายว่าตะกอน เหล่านี้จะถูกพัดพาไปและมีแนวโน้มที่จะตกลงในทะเลสาบและก้นแม่น้า ตะกอนจะเกิด การทับถมกันมากขึ้นทาให้เกิดเป็นหินตะกอน วาดกล่องนี้บนกระดาน ภาพนิ่งที่ 8 แสดงภาพนิ่งที่ 8 เพื่อให้คาแนะนาเพิ่มเติมแก่นักเรียน ว่านักเรียนควรจะแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มสาหรับกิจกรรมนี้ โดยใช้แหล่งข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้ เช่น อินเทอร์เน็ตและหนังสือ ฯลฯ นักเรียนควรจะนาความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนความคิดกันเห็นในเรื่องวัฏจักรหิน และความรู้ที่ได้รับจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่แล้ว ภาพนิ่งที่ 9 แสดงแผนภาพวัฏจักรหิน ซึ่งเป็นวัฏจักรหินอีกรูปแบบหนึ่งและนักเรียนอาจะเติมบาง ขั้นตอนที่นักเรียนยังขาดไปลงในแผนภาพของนักเรียน โดยครูเน้นหลักของการ เปลี่ยนแปลง (การเย็นตัวของลาวา ผุพัง การตกตะกอน การทับถม การแปรสภาพ ฯลฯ) และตรวจสอบให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนเข้าใจหลักของการเปลี่ยนแปลงนี้
  • 3. ภาพนิ่งที่ 13 ขั้นประเมินผล (Evaluate) 20 นาที นักเรียนวางแผนการทาเว็บไซต์เสร็จเรียบร้อยเพื่อนาเสนอความรู้เรื่องวัฏจักรหินและเรื่องธรณีวิทยาในประเทศ ไทย แผนภาพที่ 14 นี่คือโอกาสสุดท้ายที่นักเรียนทีจะได้จัดทาเว็บไซต์ หากนักเรียนยังทางานไม่เสร็จ สามารถ ่ ทาในชั่วโมงนี้ได้ ถ้าหากมีคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมที่ใช้สร้างเว็ปไซต์ก็จะง่ายและสะดวก ในการพัฒนาเว็ปไซต์ของนักเรียน หรือถ้าไม่มีอุปกรณ์ นักเรียนสามารถออกแบบใน กระดาษได้ หลังจากนักเรียนทาเว็บไซต์หรือวางแผนสร้างเว็บไซต์เสร็จ ควรใช้เวลาร่วมกันในการ ชื่นชมผลงานของนักเรียน นักเรียนสามารถเดินชมงานของกลุ่มอื่นและดูว่ากลุ่มของเขายัง ขาดหรือจะต้องอธิบายในส่วนใดของแผนงานเพิ่มเติมหรือไม่ เน้นย้าว่าที่ทาเช่นนี้เป็น โอกาสในการหาแนวทางที่เป็นไปได้ในการสร้างเว็บไซต์มากกว่าจะระบุว่าเว็บไซต์ใดดีที่สุด ในชั้นเรียน การประเมินผลโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน การประเมินผลย่อย ประเมินความสามารถของนักเรียนในการสังเคราะห์ความรู้จากกิจกรรมที่หลากหลายและแหล่งเรียนรู้ที่ใช้ ในการวางแผนในการทาเว็บไซต์ของพวกเขา โดยพิจารณาความสามารถในการดึงข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์ จากการทางานของผู้อื่น ความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เราสามารถช่วยเหลือนักเรียนที่อ่อนได้ โดยให้นักเรียนจับกลุ่มทางานโดยคละความสามารถในเรียนรู้ของ นักเรียน 3 Inspiring Science Project 2013 วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน เราไม่สามารถชี้ได้ชัดเจนจากแผนที่เพียงอย่างเดียว ว่าพื้นที่สีเขียวจะเป็นหินตะกอนหรือ หินแปร หินตะกอนที่เกิดจากการพังทลายของหินภูเขาไฟอาจไม่ได้เปลียนแปลงรูปร่าง ่ เราต้องศึกษาในภาคสนามจึงจะรู้ว่าหินนั้นเป็นหินแปร เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนรูเ้ กี่ยวกับวัฏจักรหินว่าเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและสามารถกลับไป กลับมาได้ ในทางทฤษฎีหินบริเวณตอนเหนือของกรุงเทพฯ จะถูกกัดเซาะกลายเป็น ตะกอนขนาดเล็กและถูกพัดพาไปในทะเล ตะกอนเหล่านีอาจจะถูกบีบอัด ทับถม ้ กลายเป็นชั้นหิน เมื่อเวลาผ่านไปชั้นหินอาจจะมุดตัวลงใต้โลกและหลอมเหลวหลายเป็น ลาวา ซึ่งลาวาจะไหลวนอยู่ใต้เปลือกโลกและอาจจะไหลออกมาทางตอนเหนือ เกิดการ เย็นตัวกลายเป็นหินอัคนีและถูกกัดเซาะอีกครั้งเกิดเป็นตะกอน ตะกอนจะถูกพัดพาผ่าน แม่น้ามาสู่กรุงเทพฯแล้วไหลลงสู่ทะเลอีกครั้ง
  • 4. การเตรียมตัวสาหรับบทเรียน สื่อการเรียนการสอนที่ใช้ เครื่องมือที่ใช้ - ขั้นสารวจและค้นหา (Explore) - ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explain) แผ่นกระดาษขนาดใหญ่และปากกาเพื่อออกแบบแผนภาพวัฏจักรหิน - ขั้นประเมินผล (Evaluate) คอมพิวเตอร์มีประโยชน์ในการพัฒนาเครื่องมือสาหรับคู่มือท่องเที่ยว การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช โดยใช้ซอฟต์แวร์ iWeb (จาก www.Apple.com) เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการพัฒนาเว็บไซต์นักเรียน 4 Inspiring Science Project 2013 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 : วัฏจักรหิน ขั้นขยายความรู้ (Elaborate) วัฏจักรหิน ขั้นสร้างความสนใจ (Engage)