SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
วัฏจักรหิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หิน ถิ่นเมืองกรุง
บทนา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนจะพบกับผู้เชี่ยวชาญและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการกาเนิดของหิน
ตะกอนโดยอ้างอิงกับหินที่พบในกรุงเทพมหานคร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอัคนีที่พบใกล้กับปราสาทหินพนมรุ้งในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยศึกษาเกี่ยวกับอัตราในการเย็นตัวของหินมีผลต่อขนาดของผลึกใน
หินอัคนีอย่างไร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอ่อนในวัดที่สร้างด้วยหิ อนในกรุงเทพมหานคร
นอ่
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนวาดรูปเกี่ยวกับวัฏจักรหินที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว

คาสาคัญ
ตะกอน , หินตะกอน , การกร่อน, การทับถมของตะกอนเป็นชั้นหิน, ตกตะกอน

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกชนิดของหินบริเวณกรุงเทพมหานครได้
2. อธิบายการทับถมของตะกอนเป็นชั้นหินได้
3. อธิบายการเกิดลักษณะของภูมิประเทศกับชนิดของหินได้

กิจกรรมการเรียนรู้

110 นาที

ขั้นสร้างความสนใจ (Engage)
15 นาที
นักเรียนจะได้รับการแนะนาให้รู้จักกับบริบทและความต้องการสาหรับเว็บไซต์ พวกเขาจะได้เชิญให้เข้าร่วม
โครงการและศึกษาเรียนรู้แหล่งธรณีวิทยาใกล้โรงเรียนของพวกเขา ในที่นี้เริ่มต้นด้วยที่ราบขนาดใหญ่ทั่ว
กรุงเทพฯ
1
Inspiring Science Project 2012

วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หิน ถิ่นเมืองกรุง

ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะได้ทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก 1) คณะกรรมการการ
ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและ 2) ผู้เชี่ยวชาญจากพิพิธภัณฑ์ทางธรณีวิทยา ซึ่งในแผนการจัดการเรียนรูนี้
้
ต้องการให้นักเรียนพัฒนาเว็บไซต์ที่จะแสดงถึงลักษณะทางธรณีวิทยาของประเทศไทย ที่จะนาเสนอให้
นักท่องเที่ยวมีความสนใจทางด้านธรณีวิทยา ซึ่งการที่จะทาให้นักท่องเที่ยวมีความสนใจนั้น จะต้องมีการ
อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการทางธรณีวิทยาในภาษาที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าใจได้ง่าย ในบทนี้จะกล่าวถึงการ
กาเนิดและคุณสมบัติของหินอัคนี หินแปร และหินตะกอนโดยจะให้ดูตัวอย่างประกอบในหินบางประเภท
ภาพนิ่งที่ 1-2
ภาพนิ่งที่ 3-4

ขั้นสารวจและค้นหา (Explore)
นักเรียนดาเนินการสารวจตรวจสอบการตกตะกอนของอนุภาคที่แตกต่างกันในน้า
ภาพนิ่งที่ 6

ภาพนิ่งที่ 7-8

แสดงภาพนิ่งที่ 6 ถามนักเรียน ว่านักเรียนสามารถเห็นผลการเปลี่ยนแปลงใดบ้างในน้า
ที่มีโคลน กระตุ้นให้พวกเขาคิดว่า สีน้าตาลของน้าแสดงให้เห็นว่า น้าพัดพาโคลนมา พวกเขา
อาจจะคาดการณ์ว่า โคลนสามารถตกตะกอนลงสู่ท้องน้าได้เมื่อน้าเริ่มไหลช้าลง เช่น ในช่วง
น้าท่วม โคลนที่น้าพัดพามาจะตกตะกอนและทับถมบนพื้นทีที่น้าท่วมถึง
่
กระตุ้นให้นักเรียนเห็นว่า ตะกอนสามารถแขวนลอยในน้า เมื่อเกิดการตกตะกอนและอยู่ใน
สภาวะที่เหมาะสมจะสะสมเป็นชั้นของตะกอนได้ ถามนักเรียนให้พวกเขาออกแบบการสารวจ
เพื่อตรวจสอบดูว่าปัจจัยใดบ้างที่มีผลกระทบต่อการตกตะกอน ใช้ใบกิจกรรม เรื่อง การ
ตกตะกอน ถ้ามีนักเรียนจานวนมากก็ควรจะให้นักเรียนปฏิบัตกิจกรรมเป็นกลุ่มเล็กๆ
ิ
(ประมาณ 4-5 คน) หรือเป็นคู่ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของอุปกรณ์ ครูควรเตือนนักเรียน
ไม่ให้ล้างน้าโคลนลงอ่างล้างมือ เพราะอาจทาให้ท่อระบายน้าอุดตันได้

ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explain)
นักเรียนอธิบายได้ว่าการตกตะกอนทาให้กลายเป็นหินตะกอนได้อย่างไร.
ภาพนิ่งที่ 9

25 นาที

25 นาที

นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า การตกตะกอนสามารถกลายเป็นหินตะกอนได้โดยถูก
บีบอัด ด้วยน้าหนักของตะกอนที่อยู่ด้านบนจนกลายเป็นหิน พวกเขาสามารถศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลรายละเอียดของเรื่องนี้ ที่อยู่ในตาราเรียนหรือในอินเทอร์เน็ต แต่จะต้องเชื่อมโยงความ
เข้าใจของกระบวนการที่จะได้จากสังเกตของพวกเขาในการปฏิบัติ เน้นว่าผลงานของ
กิจกรรมนี้ต้องการอธิบายต่อนักท่องเที่ยว ซึ่งที่ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงควร
สื่อให้เข้าใจได้ง่าย

ขั้นขยายความรู้ (Elaborate)
15 นาที
นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหินตะกอน
ภาพนิ่งที่ 10 แสดงภาพนิ่งนี้ครูเน้นว่า ในกรุงเทพมหานครยังมีหินตะกอนอีกจานวนมากมายหลายชนิด
ครูควรแน่ใจว่านักเรียนมีความรู้จักและเข้าใจเกี่ยวกับหินตะกอน เน้นว่า แม้ว่าชนิดของหินจะ
2
Inspiring Science Project 2012

ิ
วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หน ถิ่นเมืองกรุง

ภาพนิ่งที่ 5

แนะนาหน่วยการเรียนรู้และอธิบายวัตถุประสงค์การเรียนรู้สาหรับแผนการจัดการรียนรู้นี้
แนะนาให้รู้จักกับคุณเสกสรรและ คุณภูรินทร์ โดยเน้นให้เห็นถึงหน้าที่ที่แตกต่างกันของ
พวกเขาในเรื่องนี้ คุณภูรินทร์และคุณเสกสรร กาลังมองหาวิธีการที่จะส่งเสริมความเข้าใจ
ให้นักท่องเที่ยวที่จะมาเมืองไทย
แสดงภาพวิวจากภูเขาทองในกรุงเทพฯ ชี้ให้เห็นว่าพื้นที่รอบๆเป็นพื้นที่ราบ ถามนักเรียนและ
ให้อธิบายว่า เหตุใดจึงเป็นเช่นนี้ ครูนาอภิปรายและเสนอแนะว่าอาจจะเป็นเพราะโคลน
ที่เกิดการทับถมจากแม่น้าป็นเวลาหลายล้านปี ทาให้เกิดเป็นพื้นที่ราบขนาดใหญ่เกือบจะ
เหมือนกับเป็นชายหาดโคลน
ภาพนิ่งที่ 11

ภาพนิ่งที่ 13

ขั้นประเมินผล (Evaluate)
30 นาที
นักเรียนพัฒนาหน้าเว็บไซต์
ภาพนิ่งที่ 14 แสดงภาพนิ่งที่ 14 และใบกิจกรรมที่ 2 (SS2) “ข้อตกลงของเว็บไซต์” เพื่อช่วยนักเรียน
พัฒนาสิ่งที่ต้องมีในเว็บไซต์ของพวกเขา เน้นว่านักเรียนควรทาเว็บไซต์ให้น่าสนใจและมีข้อมูล
ทางเทคนิคที่ถูกต้อง
การประเมินผลโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน
การประเมินผลย่อย
ครูสามารถประเมินทักษะสารวจตรวจสอบของนักเรียน โดยสังเกตจากกิจกรรมการทดลองเรื่อง
กระบวนการตกตะกอน
คาถามบนภาพนิ่งที่ 11-13 เป็นแนวทางที่ดีที่จะช่วยส่งเสริมความเข้าใจเรื่องหินตะกอน
ความแตกต่างระหว่างผู้เรียน
สนับสนุนให้นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการคิด ออกแบบและวางแผนเพื่อสารวจตรวจสอบโดยให้
นักเรียนดาเนินการบางขั้นตอนด้วยตนเอง
การเตรียมตัวสาหรับบทเรียน
สื่อการเรียนการสอนที่ใช้
ใบกิจกรรมที่ 1 (SS1) : การตกตะกอน
ใบกิจกรรมที่ 2 (SS2): ข้อตกลงของเว็บไซต์
3
Inspiring Science Project 2012

วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หิน ถิ่นเมืองกรุง

ภาพนิ่งที่ 12

แตกต่างกัน แต่ก็มีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน
ภาพนิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงลักษณะที่สาคัญของหินตะกอน คือ ในเนื้อหินแสดงถึงตะกอนที่เกิด
การตกตะกอนและแยกตัวออกมา คุณสามารถดูความกว้างของชั้นหินโดยการเปรียบเทียบกับ
ขนาดของค้อน
ถามนักเรียนว่าพวกเขาสามารถบอกว่าลักษณะของหินตะกอนเป็นอย่างไร นักเรียนจะเห็น
เห็นจากลักษณะที่เป็นชั้นในเนื้อหิน ครูยังสามารถถามพวกเขาว่า จากภาพหินขนาดเมื่อเทียบ
กับภาพนิ่งก่อนหน้านี้ รูปร่างของหินที่เป็นเหมือนซุ้มประตู อาจเกิดขึ้นจากอิทธิพลของพายุ
ทราย
ภาพนิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงอิฐ ในโบราณสถาน ที่จังหวัดอยุธยา ใกล้กรุงเทพฯ ซึ่งอิฐไม่ใช่หิน
ตามธรรมชาติ แต่ทาขึ้นจากดินเหนียวและตากแดดให้แห้งแล้วนาไปเผา ในธรรมชาติตะกอน
ต่างๆจะได้รับความร้อนและแรงกดทับจนกลายเป็นหิน ดังนั้นตะกอนจะไม่หลุดออกจากกัน
ได้ง่ายเมื่อโดนฝน อิฐเป็นวัตถุที่ทามาจากตะกอน แต่ไม่ใช่หินตะกอน
เครื่องมือที่ใช้
ขั้นสร้างความสนใจ (Engage)
-

ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป(Explain)
ขั้นขยายความรู้ (Elaborate)
ขั้นประเมินผล (Evaluate)
หากมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตและซอฟต์แวร์การเขียนเว็บไซต์จะเป็น
ประโยชน์อย่างยิ่ง แต่หากไม่มีครูอาจให้นักเรียนวางแผนทาลงบนกระดาษก็ได้

4
Inspiring Science Project 2012

ิ
วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หน ถิ่นเมืองกรุง

-

ขั้นสารวจและค้นหา(Explore)
ตะกอน (ครูควรเตรียมตะกอนโดยการผสมดินเหนียว ทรายละเอียดและหยาบทรายในน้า)
ขวดแก้วขนาดใหญ่สูงพอที่จะถือได้ ประมาณ 1 ลิตร
แท่งแก้ว สาหรับคนตะกอนให้เข้ากัน
นาฬิกาจับเวลาเพื่อแสดงเวลาตังแต่เริ่มตกตะกอน
้

More Related Content

Viewers also liked

การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าPiyanuch Plaon
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานPornsak Tongma
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Viewers also liked (20)

Rock cycle3ss thai
Rock cycle3ss thaiRock cycle3ss thai
Rock cycle3ss thai
 
R cycle4 tguide[1] th
R cycle4 tguide[1] thR cycle4 tguide[1] th
R cycle4 tguide[1] th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Resort1 ฉบับไทย
Resort1 ฉบับไทยResort1 ฉบับไทย
Resort1 ฉบับไทย
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
Ice cafe2 thai
Ice cafe2 thaiIce cafe2 thai
Ice cafe2 thai
 
T soda4(thai)
T soda4(thai)T soda4(thai)
T soda4(thai)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
หลักสูตร Pck
หลักสูตร Pckหลักสูตร Pck
หลักสูตร Pck
 
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้าการวัดปริมาณทางไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
 
Inspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theoryInspiring science backgroup theory
Inspiring science backgroup theory
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Astro1 pdf
Astro1 pdfAstro1 pdf
Astro1 pdf
 

R cycle1 tguide thai

  • 1. วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หิน ถิ่นเมืองกรุง บทนา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนจะพบกับผู้เชี่ยวชาญและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการกาเนิดของหิน ตะกอนโดยอ้างอิงกับหินที่พบในกรุงเทพมหานคร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอัคนีที่พบใกล้กับปราสาทหินพนมรุ้งในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยศึกษาเกี่ยวกับอัตราในการเย็นตัวของหินมีผลต่อขนาดของผลึกใน หินอัคนีอย่างไร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหินอ่อนในวัดที่สร้างด้วยหิ อนในกรุงเทพมหานคร นอ่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนวาดรูปเกี่ยวกับวัฏจักรหินที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้ว คาสาคัญ ตะกอน , หินตะกอน , การกร่อน, การทับถมของตะกอนเป็นชั้นหิน, ตกตะกอน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกชนิดของหินบริเวณกรุงเทพมหานครได้ 2. อธิบายการทับถมของตะกอนเป็นชั้นหินได้ 3. อธิบายการเกิดลักษณะของภูมิประเทศกับชนิดของหินได้ กิจกรรมการเรียนรู้ 110 นาที ขั้นสร้างความสนใจ (Engage) 15 นาที นักเรียนจะได้รับการแนะนาให้รู้จักกับบริบทและความต้องการสาหรับเว็บไซต์ พวกเขาจะได้เชิญให้เข้าร่วม โครงการและศึกษาเรียนรู้แหล่งธรณีวิทยาใกล้โรงเรียนของพวกเขา ในที่นี้เริ่มต้นด้วยที่ราบขนาดใหญ่ทั่ว กรุงเทพฯ 1 Inspiring Science Project 2012 วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หิน ถิ่นเมืองกรุง ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะได้ทางานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก 1) คณะกรรมการการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและ 2) ผู้เชี่ยวชาญจากพิพิธภัณฑ์ทางธรณีวิทยา ซึ่งในแผนการจัดการเรียนรูนี้ ้ ต้องการให้นักเรียนพัฒนาเว็บไซต์ที่จะแสดงถึงลักษณะทางธรณีวิทยาของประเทศไทย ที่จะนาเสนอให้ นักท่องเที่ยวมีความสนใจทางด้านธรณีวิทยา ซึ่งการที่จะทาให้นักท่องเที่ยวมีความสนใจนั้น จะต้องมีการ อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการทางธรณีวิทยาในภาษาที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าใจได้ง่าย ในบทนี้จะกล่าวถึงการ กาเนิดและคุณสมบัติของหินอัคนี หินแปร และหินตะกอนโดยจะให้ดูตัวอย่างประกอบในหินบางประเภท
  • 2. ภาพนิ่งที่ 1-2 ภาพนิ่งที่ 3-4 ขั้นสารวจและค้นหา (Explore) นักเรียนดาเนินการสารวจตรวจสอบการตกตะกอนของอนุภาคที่แตกต่างกันในน้า ภาพนิ่งที่ 6 ภาพนิ่งที่ 7-8 แสดงภาพนิ่งที่ 6 ถามนักเรียน ว่านักเรียนสามารถเห็นผลการเปลี่ยนแปลงใดบ้างในน้า ที่มีโคลน กระตุ้นให้พวกเขาคิดว่า สีน้าตาลของน้าแสดงให้เห็นว่า น้าพัดพาโคลนมา พวกเขา อาจจะคาดการณ์ว่า โคลนสามารถตกตะกอนลงสู่ท้องน้าได้เมื่อน้าเริ่มไหลช้าลง เช่น ในช่วง น้าท่วม โคลนที่น้าพัดพามาจะตกตะกอนและทับถมบนพื้นทีที่น้าท่วมถึง ่ กระตุ้นให้นักเรียนเห็นว่า ตะกอนสามารถแขวนลอยในน้า เมื่อเกิดการตกตะกอนและอยู่ใน สภาวะที่เหมาะสมจะสะสมเป็นชั้นของตะกอนได้ ถามนักเรียนให้พวกเขาออกแบบการสารวจ เพื่อตรวจสอบดูว่าปัจจัยใดบ้างที่มีผลกระทบต่อการตกตะกอน ใช้ใบกิจกรรม เรื่อง การ ตกตะกอน ถ้ามีนักเรียนจานวนมากก็ควรจะให้นักเรียนปฏิบัตกิจกรรมเป็นกลุ่มเล็กๆ ิ (ประมาณ 4-5 คน) หรือเป็นคู่ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของอุปกรณ์ ครูควรเตือนนักเรียน ไม่ให้ล้างน้าโคลนลงอ่างล้างมือ เพราะอาจทาให้ท่อระบายน้าอุดตันได้ ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explain) นักเรียนอธิบายได้ว่าการตกตะกอนทาให้กลายเป็นหินตะกอนได้อย่างไร. ภาพนิ่งที่ 9 25 นาที 25 นาที นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า การตกตะกอนสามารถกลายเป็นหินตะกอนได้โดยถูก บีบอัด ด้วยน้าหนักของตะกอนที่อยู่ด้านบนจนกลายเป็นหิน พวกเขาสามารถศึกษาค้นคว้า ข้อมูลรายละเอียดของเรื่องนี้ ที่อยู่ในตาราเรียนหรือในอินเทอร์เน็ต แต่จะต้องเชื่อมโยงความ เข้าใจของกระบวนการที่จะได้จากสังเกตของพวกเขาในการปฏิบัติ เน้นว่าผลงานของ กิจกรรมนี้ต้องการอธิบายต่อนักท่องเที่ยว ซึ่งที่ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงควร สื่อให้เข้าใจได้ง่าย ขั้นขยายความรู้ (Elaborate) 15 นาที นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหินตะกอน ภาพนิ่งที่ 10 แสดงภาพนิ่งนี้ครูเน้นว่า ในกรุงเทพมหานครยังมีหินตะกอนอีกจานวนมากมายหลายชนิด ครูควรแน่ใจว่านักเรียนมีความรู้จักและเข้าใจเกี่ยวกับหินตะกอน เน้นว่า แม้ว่าชนิดของหินจะ 2 Inspiring Science Project 2012 ิ วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หน ถิ่นเมืองกรุง ภาพนิ่งที่ 5 แนะนาหน่วยการเรียนรู้และอธิบายวัตถุประสงค์การเรียนรู้สาหรับแผนการจัดการรียนรู้นี้ แนะนาให้รู้จักกับคุณเสกสรรและ คุณภูรินทร์ โดยเน้นให้เห็นถึงหน้าที่ที่แตกต่างกันของ พวกเขาในเรื่องนี้ คุณภูรินทร์และคุณเสกสรร กาลังมองหาวิธีการที่จะส่งเสริมความเข้าใจ ให้นักท่องเที่ยวที่จะมาเมืองไทย แสดงภาพวิวจากภูเขาทองในกรุงเทพฯ ชี้ให้เห็นว่าพื้นที่รอบๆเป็นพื้นที่ราบ ถามนักเรียนและ ให้อธิบายว่า เหตุใดจึงเป็นเช่นนี้ ครูนาอภิปรายและเสนอแนะว่าอาจจะเป็นเพราะโคลน ที่เกิดการทับถมจากแม่น้าป็นเวลาหลายล้านปี ทาให้เกิดเป็นพื้นที่ราบขนาดใหญ่เกือบจะ เหมือนกับเป็นชายหาดโคลน
  • 3. ภาพนิ่งที่ 11 ภาพนิ่งที่ 13 ขั้นประเมินผล (Evaluate) 30 นาที นักเรียนพัฒนาหน้าเว็บไซต์ ภาพนิ่งที่ 14 แสดงภาพนิ่งที่ 14 และใบกิจกรรมที่ 2 (SS2) “ข้อตกลงของเว็บไซต์” เพื่อช่วยนักเรียน พัฒนาสิ่งที่ต้องมีในเว็บไซต์ของพวกเขา เน้นว่านักเรียนควรทาเว็บไซต์ให้น่าสนใจและมีข้อมูล ทางเทคนิคที่ถูกต้อง การประเมินผลโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน การประเมินผลย่อย ครูสามารถประเมินทักษะสารวจตรวจสอบของนักเรียน โดยสังเกตจากกิจกรรมการทดลองเรื่อง กระบวนการตกตะกอน คาถามบนภาพนิ่งที่ 11-13 เป็นแนวทางที่ดีที่จะช่วยส่งเสริมความเข้าใจเรื่องหินตะกอน ความแตกต่างระหว่างผู้เรียน สนับสนุนให้นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการคิด ออกแบบและวางแผนเพื่อสารวจตรวจสอบโดยให้ นักเรียนดาเนินการบางขั้นตอนด้วยตนเอง การเตรียมตัวสาหรับบทเรียน สื่อการเรียนการสอนที่ใช้ ใบกิจกรรมที่ 1 (SS1) : การตกตะกอน ใบกิจกรรมที่ 2 (SS2): ข้อตกลงของเว็บไซต์ 3 Inspiring Science Project 2012 วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หิน ถิ่นเมืองกรุง ภาพนิ่งที่ 12 แตกต่างกัน แต่ก็มีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน ภาพนิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงลักษณะที่สาคัญของหินตะกอน คือ ในเนื้อหินแสดงถึงตะกอนที่เกิด การตกตะกอนและแยกตัวออกมา คุณสามารถดูความกว้างของชั้นหินโดยการเปรียบเทียบกับ ขนาดของค้อน ถามนักเรียนว่าพวกเขาสามารถบอกว่าลักษณะของหินตะกอนเป็นอย่างไร นักเรียนจะเห็น เห็นจากลักษณะที่เป็นชั้นในเนื้อหิน ครูยังสามารถถามพวกเขาว่า จากภาพหินขนาดเมื่อเทียบ กับภาพนิ่งก่อนหน้านี้ รูปร่างของหินที่เป็นเหมือนซุ้มประตู อาจเกิดขึ้นจากอิทธิพลของพายุ ทราย ภาพนิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงอิฐ ในโบราณสถาน ที่จังหวัดอยุธยา ใกล้กรุงเทพฯ ซึ่งอิฐไม่ใช่หิน ตามธรรมชาติ แต่ทาขึ้นจากดินเหนียวและตากแดดให้แห้งแล้วนาไปเผา ในธรรมชาติตะกอน ต่างๆจะได้รับความร้อนและแรงกดทับจนกลายเป็นหิน ดังนั้นตะกอนจะไม่หลุดออกจากกัน ได้ง่ายเมื่อโดนฝน อิฐเป็นวัตถุที่ทามาจากตะกอน แต่ไม่ใช่หินตะกอน
  • 4. เครื่องมือที่ใช้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engage) - ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป(Explain) ขั้นขยายความรู้ (Elaborate) ขั้นประเมินผล (Evaluate) หากมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตและซอฟต์แวร์การเขียนเว็บไซต์จะเป็น ประโยชน์อย่างยิ่ง แต่หากไม่มีครูอาจให้นักเรียนวางแผนทาลงบนกระดาษก็ได้ 4 Inspiring Science Project 2012 ิ วัฏจักรหิน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1: เรียนรู้หน ถิ่นเมืองกรุง - ขั้นสารวจและค้นหา(Explore) ตะกอน (ครูควรเตรียมตะกอนโดยการผสมดินเหนียว ทรายละเอียดและหยาบทรายในน้า) ขวดแก้วขนาดใหญ่สูงพอที่จะถือได้ ประมาณ 1 ลิตร แท่งแก้ว สาหรับคนตะกอนให้เข้ากัน นาฬิกาจับเวลาเพื่อแสดงเวลาตังแต่เริ่มตกตะกอน ้