SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
การปฏิรูปศาสนา
(Religious Reformation)
จัดทำาโดย
1. นางสาวณภาภัช ประชาอนุวงศ์
ม.6.5 เลขที่ 1
2. นางสาววรินธร ลิมปนากร ม.
6.5 เลขที่ 33
เสนอ
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ
ศักดิ์โสภณกุล
วิชา ส33101 สังคมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2557
โรงเรียนสตรีวิทยา
การปฏิรูปศาสนา มีสาเหตุ สำาคัญ
มาจากความเสื่อมความนิยมในผู้นำาทางศาสนา
และการเกิดแนวคิดใหม่เกี่ยวกับศาสนา เนื่องจากมี
การศึกษาคัมภีร์ไบเบิลและแปลออกเป็นภาษาต่างๆ
เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ทำาให้คริสต์
ศาสนิกชนมีความรู้ความเข้าใจใหม่ การปฏิรูป
ศาสนาจึงเกิดขึ้นในหลายๆ ประเทศ โดยมีผู้นำาการ
ปฏิรูปหลายคนและใช้ชื่อแตกต่างกัน
การปฏิรูปคริสต์ศาสนา หมายถึง ขบวนการ
ในยุโรปตะวันตกที่ปัจเจกชนและสถาบันต่างๆ
แสดงความเห็นคัดค้านการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตาม
หลักในคัมภีร์ไบเบิล การปฏิรูปเป็นไปอย่าง ต่อ
เนื่อง จนในที่สุดคริสต์ศาสนาในยุโรปได้แตกแยก
เป็น 2 นิกาย คือโรมันคาทอลิกและ โปรเตสแตนต์
การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation)
การปฏิรูปศาสนาเริ่มขึ้นประมาณ ค.ศ. 1500 มี
ผลให้อิทธิพลของศาสนาคริสต์ที่ครอบงำาดินแดน
ต่างๆ ในยุโรปนานหลายศตวรรษเสื่อมสลาย จุดเริ่ม
ต้นของการปฏิรูปศาสนาเกิดจากนักมนุษย์นิยมในดิน
แดนยุโรปกลุ่มหนึ่งได้วิพากย์ถึงความเสื่อมของ
สถาบันศาสนา และเสนอแนวทางแก้ไข แต่ศาสนจักร
ไม่ยอมรับความคิดและข้อเสนอแนะ จึงเกิดความ
แตกแยกและนำาไปสู่การปฏิรูปศาสนา
สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา
ปลายสมัยกลาง ศาสนาคริสต์ถึงแก่ความเสื่อม
เนื่องจากประชาชนเบื่อหน่ายวิธีดำารงชีวิตด้วยความ
ฟุ้งเฟ้อและการซื้อขายตำาแหน่งของพระชั้นผู้ใหญ่
นอกจากนี้กลุ่มชาตินิยมที่ก่อตัวขึ้นในดินแดนต่างๆ
ในช่วงปลายสมัยฟิวดัลก็ดำาเนินการต่อต้านอำานาจ
ทางการเมืองของสันตะปาปาที่ครอบงำากษัตริย์และผู้
ปกครองดินแดนต่างๆ ในยุโรป
การแสดงความคิดต่อต้านอำานาจของสันตะปาปาและ
คริสตจักรเริ่มขึ้นในดินแดนเยอรมณี ซึ่งขณะนั้นอยู่
ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่
กำาลังเสื่อมอำานาจและมีการก่อตัวของกลุ่มชาตินิยม
ในแคว้นต่างๆ กลุ่มชาตินิยมเยอรมันได้วิพากย์วิธีการ
เรี่ยไรเงินของสันตะปาปาเพื่อนำาเงินไปก่อสร้างวิหาร
เซนต์ปีเตอร์ (St. Peter) ในกรุงโรม โดยวิธีการขาย
บัตรไถ่บาปว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ผู้นำาในการต่อต้าน
คือมาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther) นักบวชชาว
เยอรมันซึ่งเป็นผู้ที่เคร่งศาสนาและเห็นว่าวิธีการจ่าย
เงินเพื่อไถ่บาปเป็นสิ่งหลอกลวงประชาชน
มหาวิหารนักบุญเปโตร
จากภาพเขียนโดยวิวีอา
โน โกดัซซี (Viviano
Codazzi) เมื่อ ค.ศ. 1630
หอสองหอที่เห็นในภาพถู
กรี้อภายหลัง
รูปจากทางอากาศ
ของ
มหาวิหารนักบุญเป
โตร
ใน ค.ศ. 1520 ลูเธอร์ ได้พิมพ์หนังสือเผยแพร่ความ
คิดต่อต้านพฤติกรรมของสันตะปาปาถึง 3 เล่ม
แนวคิดของเขาได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง
เป็นเหตุให้สันตะปาปาลีโอที่ 10 (Leo X) ประกาศขับ
ไล่เขาออกจากศาสนา และให้จักรวรรดิชาลล์ที่ 5
(Charles V) แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ลงโทษลู
เธอร์ว่าเป็นบุคคลนอกกฎหมาย แต่ลูเธอร์ได้รับการ
คุ้มครองจาก เจ้าชายเฟรเดอริก ผู้ปกครองแคว้นแซก
ซอนี (Saxony) ซึ่งมีแนวคิดแบบชาตินิยม จึงรอดพ้น
จากการลงโทษ และสามารถเผยแผ่คริสต์ศาสนาตาม
แนวทางของเขา โดยการแปลคัมภีร์ไบเบิ้ลเป็นภาษา
สันตะปาปาลีโอที่ 10
(Leo X)
จักรวรรดิชาลล์ที่ 5
(Charles V)
ปฏิกิริยาตอบโต้ของศาสนจักรโรมันคาธอลิก
1.การจัดตั้งสมาคมเยซูอิทซ์ ให้ศึกษาให้แก่บุตร
หลานชาวคาธอลิก
เพื่อจะได้ไม่เปลี่ยนไปเป็น Protesstant
2.การจัดตั้งศาลพิเศษทางศาสนา เพื่อต่อต้านการก
ระทำาของพวกนอกรีต
มีการลงโทษอย่างรุนแรง เช่นการเผาทั้งเป็น
3.การประชุมทางศาสนาที่เมืองเทรนท์ มีผลดังนี้คือ
- สันตะปาปาคือประมุขของศาสนา
- คำาภีร์ไบเบิลต้องเขียนเป็นภาษาละติน
- ห้ามขายตำาแหน่งทางศาสนาและห้ามขายใบ
ไถ่บาป
- ไม่ให้คนที่ไม่มีความรู้มารับตำาแหน่งราชาคณะ
- ขึ้นบัญชีหนังสือต้องห้ามซึ่งเป็นของพวกนอก
กองฟืนที่เตรียมไว้
เผาทั้งเป็น
พวกโปรเตสแตนต์ที่
ยอมตาย
เพื่อรักษาความเชื่อ
ตน
มาร์ติน ลูเธอร์
(Martin Luther)
ของยุโรป คริสตจักร
ที่กรุงโรมได้พยายามต่อต้านปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
ด้วยวิธีต่าง ๆ ได้แก่
1. ศาสนจักรได้จัดการประชุมดังกล่าวใช้ระยะเวลา
ถึง 18 ปี สิ้นสุดในค.ศ.1563
โดยมีบทสรุปดังนี้
1) สันตะปาปาทรงเป็นประมุขของคริสต์ศาสนา
2) การประกาศหลักธรรมทางศาสนาต้องใช้
ศาสนจักรเป็นผู้ประกาศ
แก่ศาสนิกชน
3) คัมภีร์ไบเบิลต้องเป็นภาษาละติน
4) ยกเลิกการขายใบยกโทษบาปและตำาแหน่ง
ทางศาสนา มีการกำาหนด
ระเบียบวินัย มาตรฐานการศึกษาของพระ และให้ใช้
2. ศาสนจักรได้ตั้งศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอก
ศาสนา โดยศาลศาสนาพิจารณาความผิดของพวก
นอกศาสนาคาทอลิก และชาวคาทอลิกที่มีความคิด
เห็นแตกต่างจากศาสจักร ซึ่งมีการลงโทษโดยการเผา
คนผิดทั้งเป็น
การต่อต้านการปฏิรูปศาสนาของคริสตจักรที่
กรุงโรมกระทำาได้ผล คือ นิกายโรมันคาทอลิก
สามารถป้องกันไม่ให้ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกหันไป
นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดึง
ศาสนิกชนโปรเตสแตนต์ให้กลับมานับถือนิกาย
โรมันคาทอลิกได้
การประชุมสังคายนาแห่ง
เทรนต์ (Council of Trent)
ระหว่าง ค.ศ. 1545-1547
และ ค.ศ. 1562-1563 เพื่อ
กำาหนดระเบียบวินัยภายใน
คณะเยซูอิต (The Jesuit) ก่อตั้งโดย
ชาวสเปนชื่อ Ignatius Loyolaและได้รับ
การรับรองโดยพระสันตะปาปาพอลที่ 3
เป็นสุดยอดของสมาคมลับในคริสตจักร
คาทอลิคที่จะเข้าไปแทรกซึมกลุ่ม
ผลกระทบของการปฏิรูปศาสนาต่อพัฒนาการ
ของยุโรป
1. การประกาศแยกตัวของกลุ่มโปรเตสแตนด์ใน
ดินแดนเยอรมณีก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญ
ต่อพัฒนาการของยุโรป คือ เกิดการแตกแยกของ
ศาสนาคริสต์ และการพัฒนารัฐชาติในยุโรป
คริสตศาสนาแบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ
- นิกายโรมันคาทอลิก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มี
สันตะปาปาเป็นประมุข
- นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนิกายต่างๆ
ได้แก่ นิกายลูเธอร์แรน นิกายคาลวิน นิกายแองกลิ
คัน เป็นต้น (ส่วนนิกายออร์ทอดอกซ์ แยกตัวไม่ขึ้น
2. เกิดการกระตุ้นให้ศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนา
มากยิ่งขึ้นในหมู่สามัญชน มีการ เผยแผ่คริสต์ศาสนา
ไปยังดินแดนต่างๆนอกทวีปยุโรป เช่น อเมริกา เอเชีย
และแอฟริกา
3. เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆ เนื่องจาก
นิกายโปรเตสแตนต์ส่งเสริมวัฒนธรรม ท้องถิ่น และ
ส่งเสริมให้อำานาจแก่ผู้ปกครองในท้องถิ่นเป็นตัวแทน
ของพระเจ้าในการปกครอง ประเทศ
4. เกิดสงครามศาสนาในยุโรปหลายครั้ง ส่งผลให้
สถาบันกษัตริย์มีอำานาจเหนือคริสตจักร ในที่สุด
สรุปสาเหตุการปฏิรูปศาสนา
1. ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปาที่กรุงโรม พระ
และบาทหลวงที่มีความเป็นอยู่อย่าง ฟุ่มเฟือย
หรูหรา ทั้งยังเรียกเก็บภาษีบำารุงศาสนาสูงขึ้น เพื่อ
นำาเงินไปใช้จ่ายในคริสตจักรใน กรุงโรม รวมทั้ง
การซื้อขายตำาแหน่งของพวกบาทหลวงและความ
เสื่อมเสียในจริยวัตรของ สันตะปาปาที่ครองอำานาจ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 15-16
2. เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเป็นอิสระ
จากคริสตจักรที่มีสันตะปาปาเป็น ผู้ปกครอง และ
จากจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
เนื่องจากสันตะปาปาเข้าไปยุ่งเกี่ยว และใช้อำานาจ
ทางการเมือง
3. การศึกษาในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทำาให้ชาว
ยุโรปเห็นว่ามนุษย์สามารถทำาความ เข้าใจคัมภีร์
ไบเบิลได้ด้วยตนเองมากกว่าที่จะผ่านพิธีกรรมของ
ศาสนจักร
4. สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 (JULIUS II) และ
สันตะปาปาลีโอที่ 1 ต้องการหาเงินในการ ก่อสร้าง
มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม จึงส่งคณะสมณทูต
มาขาย “ใบไถ่บาป” ในดินแดน เยอรมนี เนื่องจาก
เป็นแนวคิดของชาวคริสต์ว่า พระเป็นเจ้าส่งพระเยซู
คริสต์มาช่วยมนุษย์ให้พ้น จากบาป เรียกว่า การ
ไถ่บาป (REDEMPTION) ด้วยการเสียสละพระชนม์
ชีพ การไถ่บาปจะเป็นการ เปิดทางให้มนุษย์ได้รับ
จบการนำาเสนอ
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาBongkot Inprom
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 

What's hot (20)

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 

การปฎิรูปศาสนา