SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
บทที่ 7 หลักการตลาดออนไลน

               3.1 ความสําคัญของการตลาด
               3.2 แนวคิดดานการตลาด
               3.3 หลักเศรษฐศาสตรสารสนเทศ
               3.4 พฤติกรรมของผูบริโภคสําหรับธุรกิจ
                   อิเล็กทรอนิกส
               3.5 การสรางเว็บไซตที่มีคุณภาพ
               3.6 สวนผสมทางการตลาดออนไลน
BY Ramate Sodarat                                  1
7.1 ความสําคัญของการตลาด


          การตลาดชวยตอบสนองความตองการ
          การตลาดเปนแนวทางการดําเนินงาน
          การตลาดทําใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร
          การตลาดชวยพัฒนาเศรษฐกิจ


BY Ramate Sodarat                              2
7.2 แนวความคิดของหลักการตลาด

      แนวคิดดานการผลิต (Production Concept)
           เ ป น แ น ว คิ ด ที่ เ ก า แ ก มุ ง เ น น ไ ป ที่ ก า ร เ พิ่ ม
      ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และการกระจายสิ น ค า ให
      แพรหลาย เหมาะสมกับสถานการณ 2 ประเภทคือ
      1. เมื่อความตองการของลูกคา (Demand) มากกวา
      จํานวนผลิตภัณฑที่เสนอขาย (Supply)
      2. เมื่อมีตนทุนของสินคาสูง จึงปรับปรุงการผลิตเพื่อเพิ่ม
      ผลผลิตและลดตนทุน
BY Ramate Sodarat                                                            3
แนวคิดดานผลิตภัณฑ (Product Concept)



      เนนการดําเนินกิจกรรมตางๆ เพื่อปรับปรุงสินคา
      ใหมีคุณภาพดีอยูตลอดเวลา และเชื่อวาผูบริโภคจะ
      เต็มใจจายในราคาที่สูง



BY Ramate Sodarat                                   4
แนวคิดดานการขาย (Selling Concept)


      เน น ความพยายามขายและการส ง เสริ ม การขาย
      เพื่อกระตุนใหเกิดการซื้อ เนื่องจากเปนสินคาที่มี
      ปริมาณมากในตลาด หรือเปนสินคาที่ไมคอยมีคน
      คิดจะซื้อ เชน กรมธรรมประกันชีวิต



BY Ramate Sodarat                                      5
แนวคิดดานการตลาด (Marketing Concept)



      เนนการผลิตสินคาตามความตองการของผูบริโภค
      แทนที่ จ ะพยายามเปลี่ ย นความต อ งการของ
      ผูบริโภคใหไปซื้อสินคาที่องคกรไดผลิตขึ้น




BY Ramate Sodarat                                    6
การเปรียนเทียบความแตกตาง

จุดเริ่มตน – มุงเนน –        วิธีการ   –    เปาหมาย

 โรงงาน – ผลิตภัณฑ – การสงเสริมการขาย – กําไรจากปริมาณการขาย

                           แนวคิดดานการขาย

กลุมเปาหมาย – ความตองการ – การประสานงาน – กําไรจากความพอใจ

                           แนวคิดดานการตลาด
BY Ramate Sodarat                                          7
แนวคิดดานการตลาดเพื่อสังคม
                     (Societal Marketing Concept)

      เนนการพิจารณาความตองการและผลประโยชน
      ของตลาดเปาหมายใหเกิดความพอใจ และทําให
      ความเปนอยูของผูบริโภค และสังคมดีขึ้น

      เชนการติดฉลากแจงคุณคาอาหาร หรือติดคําเตือน
      ที่ซองบุหรี่

BY Ramate Sodarat                                   8
7.3 หลักเศรษฐศาสตรสารสนเทศ


    คือเศรษฐศาสตรขาวสาร
       กระบวนการทางเศรษฐศาสตรจะเริ่มตนจาก
“ขาวสาร” จนกระทั่งสิ้นสุดที่ “สิ่งของ”




BY Ramate Sodarat                             9
ลักษณะของสินคาตามหลักเศรษฐศาสต

    สิ่งของที่จับตองได (Economics of Thing)
    ขาวสารที่จับตองไมได (Economics of Information)
            ในบางครั้งขาวสาร กับสิ่งของอาจไปในแนวทาง
เดียวกั น หรื ออาจจะไปในทิ ศทางตรงกั นข าม นั่ นคื อ
การผลิตขาวสารไมมีตนทุน และชวยใหตัดสินใจดีขึ้น
แตการผลิตสิ่งของทําใหเกิดตนทุน
BY Ramate Sodarat                                    10
ความสัมพันธของการนําเสนอขาวสาร

                     การเสนอขาวสารประกอบดวย
                          - การเขาถึงขอมูล (Reach)
                          - สาระของขอมูล (Richness)

       หากตองการนําเสนอขาวสารที่มี “สาระมาก” จะมี
ขอจํากัดในการ “เขาถึง” โดยผูรับสารนอยลง

 BY Ramate Sodarat                                     11
ตัวอยางความสัมพันธของการนําเสนอขาวสาร


       บริษัทประกาศรับสมัครงานในหนังสือพิมพ แต
เนื่องจากคาโฆษณาในหนังสือพิมพคอนขางแพง ทํา
ใหลงข อ มูลไดน อ ย (สาระนอ ย) แตหนัง สือ พิ มพ นั้ น
เปนหนังสือที่คนทั่วไปหรือเกือบทุกคนตองการอาน
(การเขาถึงมาก)


BY Ramate Sodarat                                        12
7.4 พฤติกรรมของผูบริโภค


        กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค
      1. ขั้นตอนกอนการตัดสินใจซื้อ
      2. ขั้นตอนการซื้อจริง
      3. ขั้นตอนหลังการซื้อ


BY Ramate Sodarat                              13
ประเภทของผูบริโภคผานทางออนไลน

        ผูบริโภคที่ตองการประหยัดเวลา
        ผูบริโภคที่ตองการหลีกเลี่ยงปญหา
        ผูบริโภคที่มีหัวกาวหนา
        ผูบริโภคที่ชอบทองแตไมชอบซื้อผานอินเทอรเน็ต
        ผูบริโภคที่ซื้อสินคาที่จับตองไดเทานัน
                                                 ้
        ผูบริโภคที่ชอบแสวงหาสิ่งแปลกใหม
        ผูบริโภคที่นิยมตรายี่หอ
        ผูบริโภคที่ชอบยกระดับคุณภาพชีวต       ิ
BY Ramate Sodarat                                     14
ปจจัยที่มีผลตอการเลือกซือของผูบริโภค
                                ้


                    ขอเสนอที่เปนประโยชน
                    การบริการสวนบุคคล
                    ความสะดวกสบาย
                    บริการหลังการขาย


BY Ramate Sodarat                            15
7.5 การสรางเว็บไซตที่มีคุณภาพ

        กําหนดกลุมเปาหมายของเว็บไซตใหชัดเจน
        สรางความไดเปรียบโดยเขาตลาดเปนราย
       แรกๆ
        สรางเว็บไซตใหมีจุดเดนหรือความแตกตาง
        สรางสังคมใหเกิดขึ้นในเว็บไซต
        ประชาสัมพันธใหตรงกลุมเปาหมาย
        การสรางเอกลักษณของเว็บไซต
BY Ramate Sodarat                                 16
วิธีการสรางเอกลักษณของเว็บไซต


                    การวางแนวคิดของเว็บไซต
                    ลักษณะการออกแบบเว็บไซต
                    สไตลการเขียนเว็บไซต
                    มีความสอดคลองกับแบรนดสินคา


BY Ramate Sodarat                                   17
สวนผสมทางการตลาดออนไลน

  องคประกอบการตลาดแบบใหม แบงเปน 6P
                    1. ผลิตภัณฑ (Product)
                    2. ราคา (Price)
                    3. ชองทางการจัดจําหนาย (Place)
                    4. การสงเสริมการขาย (Promotion)
                    5. การรักษาความเปนสวนตัว (Privacy)
BY Ramate Sodarat
                    6. การใหบริการสวนบุคคล (Personalization)   18
องคประกอบที่ 1 ผลิตภัณฑ (Product)

  แบงการพิจารณาออกเปน 3 ประเภท
          สินคาทีสามารถจับตองได (Physical Goods)
                  ่
           สินคาดิจิตอล (Digital Goods)
           ธุรกิจบริการ (Services)



BY Ramate Sodarat                                 19
สินคาที่สามารถจับตองได (Physical Goods)
    ปญหา
             ลูกคาไมสามารถทดลองสินคาได
             อานคําบรรยายเทานั้น
   การแกไขปญหา
             สินคาตองมีคุณภาพ
             สินคาตองมีลักษณะเฉพาะและไมมีขายทั่วไปใน
             ชองทางการขายสินคาปกติ
             มีการจัดสงสินคาที่ดี
             บรรยายเนื้อความไมเกินความเปนจริง
BY Ramate Sodarat                                    20
สินคาดิจิตอล (Digital Goods)
    ตัวอยาง
                    ซอฟตแวร, เพลง, E-Book, รูปภาพ
    ขอดี
                    ทําครั้งเดียวขายไดเรื่อยๆ
                    ซื้อสินคาแลวไดทันที ไมตองหอหรือสง
                    ขายไดตลอด 7 วัน 24 ชั่วโมง
                    ตรวจสอบขอมูลสินคาไดตลอดเวลา
BY Ramate Sodarat                                              21
สินคาดิจิตอล (Digital Goods)
    ปญหา
                    การละเมิดลิขสิทธ
    การแกไขปญหา
                    ใชซอฟตแวรสําหรับปองกันการ copy files
                    และการสงตอที่มีชื่อวาDigital Right Management
                    (DRM)


BY Ramate Sodarat                                                  22
ธุรกิจบริการ (Services)

  การแนะนําสินคาบริการ
               รูปภาพตองถายใหเห็นสวนสําคัญของขั้นตอน
             บริการ
              ใหถายภาพออกมาใหชัดเจน
                  
              การเขียนขอความการบริการควรบรรยายให
             ละเอียด
              เนนย้ําในความสะดวกในการใชบริการ

BY Ramate Sodarat                                          23
องคประกอบที่ 2 ราคา (Price)
   ปจจัยในการตั้งราคา
             ตองคํานึงถึงราคาตลาดเปนหลัก
             การคิดเผื่อราคาคาขนสง
             สินคาราคาถูกอาจจะขายไมไดเสมอไป
             เนนเรื่องความสะดวกในการสั่งซื้อ
             สินคาที่มีราคาถูกเกินไปอาจขายแบบรวม
            แพ็ก

BY Ramate Sodarat                                   24
องคประกอบที่ 3 ชองทางการจัดจําหนาย (Place)

   ปจจัยในการพิจารณา
             ตองใชงานงาย
             เขาเว็บไซตหรือดาวนโหลดเร็ว
             ขอมูลที่ชัดเจนนาสนใจ
             ความปลอดภัยของขอมูล



BY Ramate Sodarat                            25
หลักการตั้งชื่อเว็บไซต (Domain Name)

                       ตองสั้น กระชับ เพื่อสรางความจดจํา
                       จํางาย พูดงาย และสะกดงาย
                       ถาชื่อยาวควรสื่อความหมายใหชัดเจน
                       หลีกเลี่ยงการใช เครื่องหมายขีดกลาง (-)
                       ถามีชื่อสินคาหรือบริการก็ควรนํามาใชเปน
                    ชื่อเว็บไซต


BY Ramate Sodarat                                                   26
สวนขยายบอกประเภทขององคกร
     .ac หรือ .edu      คือ สถาบันการศึกษา (Academic)
     .co หรือ .com      คือ องคกรธุรกิจ (Commercial)
     .or หรือ .org      คือ องคกรอื่น ๆ (Organization)
     .go หรือ .gov      คือ หนวยงานของรัฐบาล (Government)
     .mi หรือ .mil      คือ องคกรทหาร (Military organization)
     .net               คือ ผูวางระบบเน็ตเวิรก (Networking)

BY Ramate Sodarat                                     27
สวนขยายบอกประเทศ

        .au         คือ    ออสเตรเลีย   .ca   คือ   แคนาดา
        .fr         คือ    ฝรั่งเศส     .it   คือ   อิตาลี
        .jp          คือ    ญี่ปุน     .ru   คือ   รัสเซีย
        .uk         คือ    อังกฤษ       .us   คือ   สหรัฐอเมริกา
        .th          คือ    ไทย


BY Ramate Sodarat                                             28
เว็บไซตที่ตองจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

                มีระบบการสั่งซื้อ เชน ระบบตะกรา
                มีระบบการชําระเงิน
                มีการคิดคาสมัครสมาชิก
                รับจางโฆษณาสินคาหรือบริการ
                รับจางออกแบบเว็บไซต
                เว็บไซตใหบริการเกมสออนไลน
                เว็บไซตที่มีการสงมอบสินคาหรือบริการผาน
              อินเทอรเน็ต
                ธุรกิจนายหนาหรือตัวแทนที่มีเว็บไซตประกอบ
              ธุรกิจ
BY Ramate Sodarat                                            29
การคาปลีกอิเล็กทรอนิกส
แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก
       อิเล็กทรอนิกสสโตรฟรอนท(Electronic Storefront)
   ใชเสนอขายสินคาภายในเว็บไซตของตนเองเทานัน     ้
     เชน www.amazon.com
       อิเล็กทรอนิกสมอลล (Electronic Mall)
   เปนเว็บไซตกลางที่รวบรวมเว็บไซตตางๆ เขาไวในที่
     เดียวกัน เปรียบเสมือนหางสรรพสินคา เชน
     www.pantip.com
  BY Ramate Sodarat                                  30
การใหบริการอิเล็กทรอนิกส

         การใหบริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส (E-Banking)
         การใหบริการชําระเงินออนไลน (E-Billing)
         การใหบริการตลาดนัดแรงงาน (E-Job)
         การใหบริการเดินทางและทองเที่ยว (E-Travel)
         การใหบริการชุมชนอิเล็กทรอนิกส (E-Community)
         การใหบริการอีเลิรนนิ่ง (E-Learning)
BY Ramate Sodarat                                  31
องคประกอบที่ 4 การสงเสริมการขาย (Promotion)

   การเตรียมความพรอมกอนประชาสัมพันธ
             ตองมีขอมูลตางๆ พรอมและสมบูรณ
            สรางจุดเดนของเว็บไซตเพื่อจดจํางาย
            สรางบรรยากาศความคึกคัก โดยใหลูกคา
           เขารวมกิจกรรม
            พิจารณากลุมเปาหมาย และงบประมาณ


BY Ramate Sodarat                                   32
การประชาสัมพันธผานสื่อออนไลน

วิธีการประชาสัมพันธมีหลายวิธี เชน
       โฆษณาดวยแบนเนอร (ปายโฆษณา)
       โฆษณาผานทาง E-mail
       โฆษณาดวยการเสียคาใชจายกับเว็บไซตอื่น
       โฆษณาดวยระบบสมาชิกแนะนําสมาชิก
       โฆษณาดวยการแลกลิงคกับเว็บไซตอื่น
       โฆษณาบน Search Engine หรือ Web Directory
BY Ramate Sodarat                               33
เครืองมือคนหา (Search Engine)
                        ่

    เป น เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ ค น หาข อ มู ล จากเว็ บ ไซต บ น
    เครือขายอินเทอรเน็ต โดยการสราง index เพื่อให
    ผู ใ ช ง านสามารถป อ นคํ า ที่ ต อ งการค น หา เช น
    www.google.com
           Web Directory มีลักษณะคลายสมุดหนาเหลือง
          ใชคนหาเว็บไซตดวยการแบงเปนหมวดหมู เชน
          www.yahoo.com, www.sanook.com
BY Ramate Sodarat                                                34
การประชาสัมพันธผานสื่อออฟไลน

วิธีการประชาสัมพันธมีหลายวิธี เชน
       ใสในนามบัตร, หัว-ซองจดหมาย
       ทําเปนของชํารวย เชน ปากกา พวงกุญแจ
       โฆษณาติดตามสื่อเคลื่อนที่ เชน รถประจําทาง
       โฆษณาตามสื่อตางๆ เชน วารสาร หนังสือพิมพ
       จัดสัมมนาใหความรู
       จัดงานแถลงเปดตัวสินคาหรือบริการ ฯลฯ
BY Ramate Sodarat                               35
องคประกอบที่ 5
             การรักษาความเปนสวนตัว (Privacy)
        ผูประกอบการควรกําหนดนโยบาย เพื่อสรางความ
        นาเชือถือ โดยเฉพาะขอมูลเกี่ยวกับ
              ่
                ที่อยู
                หมายเลขโทรศัพท
                หมายเลขบัตรเครดิต

BY Ramate Sodarat                                36
องคประกอบที่ 6
       การใหบริการสวนบุคคล (Personalization)
        ควรเป น ลั ก ษณะการบริ ก ารแบบโต ต อบร ว มกั น
        (Interactive) ระหวางผูประกอบการกับลูกคาแบบ
        เจาะจงบุคคล เรียกวา การตลาดแบบหนึ่งตอหนึ่ง
        (One to One Marketing) เพื่อ
                นําเสนอสิ่งที่ตรงใจลูกคา
                อํานวยความสะดวกใหกบลูกคา
                                        ั
                สรางความเปนกันเองและความประทับใจ
BY Ramate Sodarat                                     37
BY Ramate Sodarat   38

More Related Content

Similar to Unit7 1

Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่arm_smiley
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Businessdewberry
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016prop2morrow
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...NoppapadonTreewihit
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
เครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลเครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลDarunee Ongmin
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012DrDanai Thienphut
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Netsai Tnz
 

Similar to Unit7 1 (20)

Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Business
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016Digital con(do)sumer trend to watched 2016
Digital con(do)sumer trend to watched 2016
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
 
กลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher marketกลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher market
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
เครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลเครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกล
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 
Social media trends in 2012
Social media trends in 2012Social media trends in 2012
Social media trends in 2012
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

More from ramase soparatana (10)

Unit 2 e-Commerce Workshop
Unit 2 e-Commerce WorkshopUnit 2 e-Commerce Workshop
Unit 2 e-Commerce Workshop
 
Introduction e-Commerce
Introduction e-CommerceIntroduction e-Commerce
Introduction e-Commerce
 
e-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramasee-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramase
 
e-Commerce Workshop
e-Commerce Workshope-Commerce Workshop
e-Commerce Workshop
 
Introduction To e-Commerce
Introduction To e-CommerceIntroduction To e-Commerce
Introduction To e-Commerce
 
Unit6 1
Unit6 1Unit6 1
Unit6 1
 
Unit 4
Unit 4Unit 4
Unit 4
 
Unit 5
Unit 5Unit 5
Unit 5
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Unit7 1

  • 1. บทที่ 7 หลักการตลาดออนไลน 3.1 ความสําคัญของการตลาด 3.2 แนวคิดดานการตลาด 3.3 หลักเศรษฐศาสตรสารสนเทศ 3.4 พฤติกรรมของผูบริโภคสําหรับธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส 3.5 การสรางเว็บไซตที่มีคุณภาพ 3.6 สวนผสมทางการตลาดออนไลน BY Ramate Sodarat 1
  • 2. 7.1 ความสําคัญของการตลาด การตลาดชวยตอบสนองความตองการ การตลาดเปนแนวทางการดําเนินงาน การตลาดทําใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร การตลาดชวยพัฒนาเศรษฐกิจ BY Ramate Sodarat 2
  • 3. 7.2 แนวความคิดของหลักการตลาด แนวคิดดานการผลิต (Production Concept) เ ป น แ น ว คิ ด ที่ เ ก า แ ก มุ ง เ น น ไ ป ที่ ก า ร เ พิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และการกระจายสิ น ค า ให แพรหลาย เหมาะสมกับสถานการณ 2 ประเภทคือ 1. เมื่อความตองการของลูกคา (Demand) มากกวา จํานวนผลิตภัณฑที่เสนอขาย (Supply) 2. เมื่อมีตนทุนของสินคาสูง จึงปรับปรุงการผลิตเพื่อเพิ่ม ผลผลิตและลดตนทุน BY Ramate Sodarat 3
  • 4. แนวคิดดานผลิตภัณฑ (Product Concept) เนนการดําเนินกิจกรรมตางๆ เพื่อปรับปรุงสินคา ใหมีคุณภาพดีอยูตลอดเวลา และเชื่อวาผูบริโภคจะ เต็มใจจายในราคาที่สูง BY Ramate Sodarat 4
  • 5. แนวคิดดานการขาย (Selling Concept) เน น ความพยายามขายและการส ง เสริ ม การขาย เพื่อกระตุนใหเกิดการซื้อ เนื่องจากเปนสินคาที่มี ปริมาณมากในตลาด หรือเปนสินคาที่ไมคอยมีคน คิดจะซื้อ เชน กรมธรรมประกันชีวิต BY Ramate Sodarat 5
  • 6. แนวคิดดานการตลาด (Marketing Concept) เนนการผลิตสินคาตามความตองการของผูบริโภค แทนที่ จ ะพยายามเปลี่ ย นความต อ งการของ ผูบริโภคใหไปซื้อสินคาที่องคกรไดผลิตขึ้น BY Ramate Sodarat 6
  • 7. การเปรียนเทียบความแตกตาง จุดเริ่มตน – มุงเนน – วิธีการ – เปาหมาย โรงงาน – ผลิตภัณฑ – การสงเสริมการขาย – กําไรจากปริมาณการขาย แนวคิดดานการขาย กลุมเปาหมาย – ความตองการ – การประสานงาน – กําไรจากความพอใจ แนวคิดดานการตลาด BY Ramate Sodarat 7
  • 8. แนวคิดดานการตลาดเพื่อสังคม (Societal Marketing Concept) เนนการพิจารณาความตองการและผลประโยชน ของตลาดเปาหมายใหเกิดความพอใจ และทําให ความเปนอยูของผูบริโภค และสังคมดีขึ้น เชนการติดฉลากแจงคุณคาอาหาร หรือติดคําเตือน ที่ซองบุหรี่ BY Ramate Sodarat 8
  • 9. 7.3 หลักเศรษฐศาสตรสารสนเทศ คือเศรษฐศาสตรขาวสาร กระบวนการทางเศรษฐศาสตรจะเริ่มตนจาก “ขาวสาร” จนกระทั่งสิ้นสุดที่ “สิ่งของ” BY Ramate Sodarat 9
  • 10. ลักษณะของสินคาตามหลักเศรษฐศาสต สิ่งของที่จับตองได (Economics of Thing) ขาวสารที่จับตองไมได (Economics of Information) ในบางครั้งขาวสาร กับสิ่งของอาจไปในแนวทาง เดียวกั น หรื ออาจจะไปในทิ ศทางตรงกั นข าม นั่ นคื อ การผลิตขาวสารไมมีตนทุน และชวยใหตัดสินใจดีขึ้น แตการผลิตสิ่งของทําใหเกิดตนทุน BY Ramate Sodarat 10
  • 11. ความสัมพันธของการนําเสนอขาวสาร การเสนอขาวสารประกอบดวย - การเขาถึงขอมูล (Reach) - สาระของขอมูล (Richness) หากตองการนําเสนอขาวสารที่มี “สาระมาก” จะมี ขอจํากัดในการ “เขาถึง” โดยผูรับสารนอยลง BY Ramate Sodarat 11
  • 12. ตัวอยางความสัมพันธของการนําเสนอขาวสาร บริษัทประกาศรับสมัครงานในหนังสือพิมพ แต เนื่องจากคาโฆษณาในหนังสือพิมพคอนขางแพง ทํา ใหลงข อ มูลไดน อ ย (สาระนอ ย) แตหนัง สือ พิ มพ นั้ น เปนหนังสือที่คนทั่วไปหรือเกือบทุกคนตองการอาน (การเขาถึงมาก) BY Ramate Sodarat 12
  • 13. 7.4 พฤติกรรมของผูบริโภค กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค 1. ขั้นตอนกอนการตัดสินใจซื้อ 2. ขั้นตอนการซื้อจริง 3. ขั้นตอนหลังการซื้อ BY Ramate Sodarat 13
  • 14. ประเภทของผูบริโภคผานทางออนไลน ผูบริโภคที่ตองการประหยัดเวลา ผูบริโภคที่ตองการหลีกเลี่ยงปญหา ผูบริโภคที่มีหัวกาวหนา ผูบริโภคที่ชอบทองแตไมชอบซื้อผานอินเทอรเน็ต ผูบริโภคที่ซื้อสินคาที่จับตองไดเทานัน ้ ผูบริโภคที่ชอบแสวงหาสิ่งแปลกใหม ผูบริโภคที่นิยมตรายี่หอ ผูบริโภคที่ชอบยกระดับคุณภาพชีวต ิ BY Ramate Sodarat 14
  • 15. ปจจัยที่มีผลตอการเลือกซือของผูบริโภค ้ ขอเสนอที่เปนประโยชน การบริการสวนบุคคล ความสะดวกสบาย บริการหลังการขาย BY Ramate Sodarat 15
  • 16. 7.5 การสรางเว็บไซตที่มีคุณภาพ กําหนดกลุมเปาหมายของเว็บไซตใหชัดเจน สรางความไดเปรียบโดยเขาตลาดเปนราย แรกๆ สรางเว็บไซตใหมีจุดเดนหรือความแตกตาง สรางสังคมใหเกิดขึ้นในเว็บไซต ประชาสัมพันธใหตรงกลุมเปาหมาย การสรางเอกลักษณของเว็บไซต BY Ramate Sodarat 16
  • 17. วิธีการสรางเอกลักษณของเว็บไซต การวางแนวคิดของเว็บไซต ลักษณะการออกแบบเว็บไซต สไตลการเขียนเว็บไซต มีความสอดคลองกับแบรนดสินคา BY Ramate Sodarat 17
  • 18. สวนผสมทางการตลาดออนไลน องคประกอบการตลาดแบบใหม แบงเปน 6P 1. ผลิตภัณฑ (Product) 2. ราคา (Price) 3. ชองทางการจัดจําหนาย (Place) 4. การสงเสริมการขาย (Promotion) 5. การรักษาความเปนสวนตัว (Privacy) BY Ramate Sodarat 6. การใหบริการสวนบุคคล (Personalization) 18
  • 19. องคประกอบที่ 1 ผลิตภัณฑ (Product) แบงการพิจารณาออกเปน 3 ประเภท สินคาทีสามารถจับตองได (Physical Goods) ่ สินคาดิจิตอล (Digital Goods) ธุรกิจบริการ (Services) BY Ramate Sodarat 19
  • 20. สินคาที่สามารถจับตองได (Physical Goods) ปญหา ลูกคาไมสามารถทดลองสินคาได อานคําบรรยายเทานั้น การแกไขปญหา สินคาตองมีคุณภาพ สินคาตองมีลักษณะเฉพาะและไมมีขายทั่วไปใน ชองทางการขายสินคาปกติ มีการจัดสงสินคาที่ดี บรรยายเนื้อความไมเกินความเปนจริง BY Ramate Sodarat 20
  • 21. สินคาดิจิตอล (Digital Goods) ตัวอยาง ซอฟตแวร, เพลง, E-Book, รูปภาพ ขอดี ทําครั้งเดียวขายไดเรื่อยๆ ซื้อสินคาแลวไดทันที ไมตองหอหรือสง ขายไดตลอด 7 วัน 24 ชั่วโมง ตรวจสอบขอมูลสินคาไดตลอดเวลา BY Ramate Sodarat 21
  • 22. สินคาดิจิตอล (Digital Goods) ปญหา การละเมิดลิขสิทธ การแกไขปญหา ใชซอฟตแวรสําหรับปองกันการ copy files และการสงตอที่มีชื่อวาDigital Right Management (DRM) BY Ramate Sodarat 22
  • 23. ธุรกิจบริการ (Services) การแนะนําสินคาบริการ รูปภาพตองถายใหเห็นสวนสําคัญของขั้นตอน บริการ ใหถายภาพออกมาใหชัดเจน  การเขียนขอความการบริการควรบรรยายให ละเอียด เนนย้ําในความสะดวกในการใชบริการ BY Ramate Sodarat 23
  • 24. องคประกอบที่ 2 ราคา (Price) ปจจัยในการตั้งราคา ตองคํานึงถึงราคาตลาดเปนหลัก การคิดเผื่อราคาคาขนสง สินคาราคาถูกอาจจะขายไมไดเสมอไป เนนเรื่องความสะดวกในการสั่งซื้อ สินคาที่มีราคาถูกเกินไปอาจขายแบบรวม แพ็ก BY Ramate Sodarat 24
  • 25. องคประกอบที่ 3 ชองทางการจัดจําหนาย (Place) ปจจัยในการพิจารณา ตองใชงานงาย เขาเว็บไซตหรือดาวนโหลดเร็ว ขอมูลที่ชัดเจนนาสนใจ ความปลอดภัยของขอมูล BY Ramate Sodarat 25
  • 26. หลักการตั้งชื่อเว็บไซต (Domain Name) ตองสั้น กระชับ เพื่อสรางความจดจํา จํางาย พูดงาย และสะกดงาย ถาชื่อยาวควรสื่อความหมายใหชัดเจน หลีกเลี่ยงการใช เครื่องหมายขีดกลาง (-) ถามีชื่อสินคาหรือบริการก็ควรนํามาใชเปน ชื่อเว็บไซต BY Ramate Sodarat 26
  • 27. สวนขยายบอกประเภทขององคกร .ac หรือ .edu คือ สถาบันการศึกษา (Academic) .co หรือ .com คือ องคกรธุรกิจ (Commercial) .or หรือ .org คือ องคกรอื่น ๆ (Organization) .go หรือ .gov คือ หนวยงานของรัฐบาล (Government) .mi หรือ .mil คือ องคกรทหาร (Military organization) .net คือ ผูวางระบบเน็ตเวิรก (Networking) BY Ramate Sodarat 27
  • 28. สวนขยายบอกประเทศ .au คือ ออสเตรเลีย .ca คือ แคนาดา .fr คือ ฝรั่งเศส .it คือ อิตาลี .jp คือ ญี่ปุน .ru คือ รัสเซีย .uk คือ อังกฤษ .us คือ สหรัฐอเมริกา .th คือ ไทย BY Ramate Sodarat 28
  • 29. เว็บไซตที่ตองจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส มีระบบการสั่งซื้อ เชน ระบบตะกรา มีระบบการชําระเงิน มีการคิดคาสมัครสมาชิก รับจางโฆษณาสินคาหรือบริการ รับจางออกแบบเว็บไซต เว็บไซตใหบริการเกมสออนไลน เว็บไซตที่มีการสงมอบสินคาหรือบริการผาน อินเทอรเน็ต ธุรกิจนายหนาหรือตัวแทนที่มีเว็บไซตประกอบ ธุรกิจ BY Ramate Sodarat 29
  • 30. การคาปลีกอิเล็กทรอนิกส แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก อิเล็กทรอนิกสสโตรฟรอนท(Electronic Storefront) ใชเสนอขายสินคาภายในเว็บไซตของตนเองเทานัน ้ เชน www.amazon.com อิเล็กทรอนิกสมอลล (Electronic Mall) เปนเว็บไซตกลางที่รวบรวมเว็บไซตตางๆ เขาไวในที่ เดียวกัน เปรียบเสมือนหางสรรพสินคา เชน www.pantip.com BY Ramate Sodarat 30
  • 31. การใหบริการอิเล็กทรอนิกส การใหบริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส (E-Banking) การใหบริการชําระเงินออนไลน (E-Billing) การใหบริการตลาดนัดแรงงาน (E-Job) การใหบริการเดินทางและทองเที่ยว (E-Travel) การใหบริการชุมชนอิเล็กทรอนิกส (E-Community) การใหบริการอีเลิรนนิ่ง (E-Learning) BY Ramate Sodarat 31
  • 32. องคประกอบที่ 4 การสงเสริมการขาย (Promotion) การเตรียมความพรอมกอนประชาสัมพันธ ตองมีขอมูลตางๆ พรอมและสมบูรณ สรางจุดเดนของเว็บไซตเพื่อจดจํางาย สรางบรรยากาศความคึกคัก โดยใหลูกคา เขารวมกิจกรรม พิจารณากลุมเปาหมาย และงบประมาณ BY Ramate Sodarat 32
  • 33. การประชาสัมพันธผานสื่อออนไลน วิธีการประชาสัมพันธมีหลายวิธี เชน โฆษณาดวยแบนเนอร (ปายโฆษณา) โฆษณาผานทาง E-mail โฆษณาดวยการเสียคาใชจายกับเว็บไซตอื่น โฆษณาดวยระบบสมาชิกแนะนําสมาชิก โฆษณาดวยการแลกลิงคกับเว็บไซตอื่น โฆษณาบน Search Engine หรือ Web Directory BY Ramate Sodarat 33
  • 34. เครืองมือคนหา (Search Engine) ่ เป น เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ ค น หาข อ มู ล จากเว็ บ ไซต บ น เครือขายอินเทอรเน็ต โดยการสราง index เพื่อให ผู ใ ช ง านสามารถป อ นคํ า ที่ ต อ งการค น หา เช น www.google.com Web Directory มีลักษณะคลายสมุดหนาเหลือง ใชคนหาเว็บไซตดวยการแบงเปนหมวดหมู เชน www.yahoo.com, www.sanook.com BY Ramate Sodarat 34
  • 35. การประชาสัมพันธผานสื่อออฟไลน วิธีการประชาสัมพันธมีหลายวิธี เชน ใสในนามบัตร, หัว-ซองจดหมาย ทําเปนของชํารวย เชน ปากกา พวงกุญแจ โฆษณาติดตามสื่อเคลื่อนที่ เชน รถประจําทาง โฆษณาตามสื่อตางๆ เชน วารสาร หนังสือพิมพ จัดสัมมนาใหความรู จัดงานแถลงเปดตัวสินคาหรือบริการ ฯลฯ BY Ramate Sodarat 35
  • 36. องคประกอบที่ 5 การรักษาความเปนสวนตัว (Privacy) ผูประกอบการควรกําหนดนโยบาย เพื่อสรางความ นาเชือถือ โดยเฉพาะขอมูลเกี่ยวกับ ่ ที่อยู หมายเลขโทรศัพท หมายเลขบัตรเครดิต BY Ramate Sodarat 36
  • 37. องคประกอบที่ 6 การใหบริการสวนบุคคล (Personalization) ควรเป น ลั ก ษณะการบริ ก ารแบบโต ต อบร ว มกั น (Interactive) ระหวางผูประกอบการกับลูกคาแบบ เจาะจงบุคคล เรียกวา การตลาดแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One to One Marketing) เพื่อ นําเสนอสิ่งที่ตรงใจลูกคา อํานวยความสะดวกใหกบลูกคา ั สรางความเปนกันเองและความประทับใจ BY Ramate Sodarat 37