SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
เภสัชศาสตร์ศึกษา
เภสัชศาสตร์ศึกษา
1. เภสัชศาสตร์ศึกษาในประเทศไทย
1.1 ความเป็นมาของการศึกษาเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย
เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2456 เปิดสอนแพทย์ปรุงยาขึ้น ปรับแผนเภสัชให้เหมือนตะวันตก
การเรียนเภสัชกรรมไทย แต่เดิมเป็นหมอยาสมุนไพรที่ถ่ายทอดความรู้ภายในครอบครัว โดยเลือกศิษย์ที่มีความเหมาะสม
ไม่มีระยะเวลาที่แน่นอน วิธีการประเมินการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับผู้สอนแต่ละคน
กำเนิดเภสัชศาสตร์ศึกษาแผนตะวันตกในประเทศไทย เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2456 เปิดสอนแพทย์ปรุงยาขึ้น มีหลักสูตรที่
แน่นอนในมหาวิทยาลัย
กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ เป็นผู้ดําริให้แยก “ผู้ที่ทำการรักษา”และ“ผู้ปรุงยา”
ออกจากกันและมีแนวคิดว่าควรตั้งโรงเรียนแพทย์ปรุงยาขึ้นอีกแขนงหนึ่ง
กรมขุนชัยนาทนเรนทร เป็นผู้เปิดสอนแพทย์ปรุงยาขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2456 โดยกล่าวว่า
…แพทย์มีหน้าที่เฉพาะการตรวจรักษา ส่วนแพทย์ปรุงยามีหน้าที่ปรุงยาและขายยา จะไป
ตรวจรักษาคนไข้ไม่ได้…
วันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ เป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัช
กรรมในประเทศไทยจากโรงเรียนปรุงยาสู่การเป็นคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- หลักสูตรประกาศนียบัตรแพทย์ปรุงยา (Certificate of Dispensing) ในปี พ.ศ. 2457-2462
แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย หลักสูตร 3 ปี ผู้สอนคือ หลวงเภสัชกิจโกศล
Dr.G.Bossoni ส่วนมากผู้สอนเป็นชาวต่างชาติ เนื้อหาที่เรียน ได้แก่ Materia medica (เครื่องยา,
วิชาว่าด้วยสรรพคุณยา) , Art of compounding (การเตรียมยา) , วิชาแพทย์แผนไทยยกเลิกไป
ในปี 2458 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยกเลิกกรมแพทย์หลวงในราชสำนัก
การยกเลิกการจ่ายยาไทยให้ผู้ป่วยในโรงพยาบาลศิริราชตั้งแต่ปี 2458 ข้อเสียคือทำให้ในปัจจุบันความรู้ยาไทยไม่พัฒนา
- ในปี 2460 โรงเรียนปรุงยามีฐานะเป็นแผนกแพทย์ผสมยา ในสังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ในปี 2462 หลวงเภสัชกิจโกศลลาออก หยุดการสอน ทำให้คนที่ทำหน้าที่ในการสอน
- ประกาศนียบัตรเภสัชกรรมศาสตร์ (Certificate of Pharmacy) ในปี พ.ศ. 2465-2479 เกิดคำว่า ...เภสัชกรรม (ภ)... มี
การปรับปรุงหลักสูตรแผนกแพทย์ปรุงยา เรียนที่คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการฝึก
ปฏิบัติงานในชั้นปีที่ 3 ที่แผนกเภสัชกรรม ศิริราชพยาบาล ในปี พ.ศ. 2477 มีแผนกอิสระเภสัชกรรมศาสตร์
- ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการออกกฎเสนาบดี พ.ศ. 2472 แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็น 2 ประเภทคือ
การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันและการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
- อนุปริญญาเภสัชกรรมศาสตร์ (Diploma of Pharmacy) ในปี พ.ศ. 2480-2483 เป็นหลักสูตร 3 ปี
เน้นปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม ร้านขายยา เพิ่มความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบ่งออกเป็น
แผนกต่างๆ เช่น เภสัชเวท(ยาที่มาจากธรรมชาติ) เภสัชเคมี(เคมีของยา) เภสัชอุตสาหกรรม(การผลิตยา) นิติ
เภสัชกรรม(กฎหมายเภสัช) และแผนกปรุงยาและจ่ายยาสำเร็จ
- หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 4 ปี Bachelor of science in Pharmacy: B.Sc. In Pharm. ในปี พ.ศ. 2483-2500
มีขยายหลักสูตร วิทยาศาสตร์พื้นฐาน สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ วิชาชีพ เมื่อจบแล้วได้รับปริญญาเภสัชศาสตร
บัณฑิต (ภ.บ.) และในปี พ.ศ. 2494 มีการเปิดหลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc. In Pharm.)
- เภสัชศาสตรบัณฑิต 5 ปี B.Sc. In Pharm./B.Pharm. ในปี พ.ศ. 2500 ยุคการส่งมอบยาอย่างมีคุณค่า (Dispensing Era)
และโรงพยาบาลมีการขยายตัว เรียนเตรียมเภสัชศาสตร์ 2 ปี เรียนในคณะเภสัชศาสตร์ 3 ปี มีการฝึกงาน 300 ชั่วโมงใน รพ.
โรงงานผลิตยาและร้านขายยา
1.2 คณะเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย มีทั้งสิ้น 20 สถาบัน แห่งแรกคือ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (8 ธ.ค.
2456) แห่งที่สองคือ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เกิดการเรียกร้องโดยปชช. เพื่อศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ช่วงแรกเปิดสอน มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สังคมศาสตร์ ใน พ.ศ. 2509 เริ่มจัดการศึกษาเภสัชศาสตร์ ในฐานะโรงเรียนเภสัชศาสตร์ สังกัดสำนักงานคณะแพทยศาสตร์
เภสัชศาสตร์ศึกษา Pitsanu Duangkartok
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งใน พ.ศ. 2507 ใน พ.ศ. 2509 เริ่มโรงเรียนเภสัชศาสตร์
สังกัดคณะแพทยศาสตร์ เป็นสถานศึกษาสาขาเภสัชศาสตร์แห่งแรกในภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2515 ได้รับการ
ยกฐานะเป็นคณะเภสัชศาสตร์ และใน พ.ศ. 2520 ย้ายมาที่ตั้งปัจจุบัน โดย ศ.ดร.สสี ปันยารชุน
วางรากฐานการเรียน
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2535 ก่อตั้งใน พ.ศ. 2536 เปิดรับนิสิต
หลักสูตร 5 ปี ใน พ.ศ. 2540 เปิดหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบริบาลเภสัชกรรม (Doctor of
Pharmacy Program in Pharmaceutical Care)
ตั้งแต่ปี 2557 สภาเภสัชกรรมจะให้การรับรองเฉพาะปริญญาที่เกิดจากหลักสูตรที่มีมาตรฐานตามหลักเกณฑ์
ของหลักสูตร 6 ปี
2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
2.1 โครงสร้างหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตของไทยในปัจจุบัน เภสัชศาสตร์ศึกษา (กระทรวงอุดมศึกษาฯ สภาเภสัชกรรม
ศศภท.)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกําหนด
ชื่อปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๙
Pharm.D.
ในปี พ.ศ. 2498 เริ่มมีหลักสูตร Doctor of Pharmacy
ที่ Faculty of Pharmacy, University of California, USA ในปี พ.ศ. 2516 ประเทศไทยเริ่มสอนวิชาเภสัชกรรมคลินิก
(Clinical Pharmacy) และในปี พ.ศ. 2540 Doctor of Pharmacy (Pharm.D.) ที่แรก ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
นเรศวร
โครงสร้างหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 6 ปี
- หมวดศึกษาทั่วไป – หมวดวิชาเฉพาะ [ระดับพื้นฐานวิชาชีพ ระดับวิชาชีพ (ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านผู้ป่วย ด้านเภสัชศาสตร์
สังคมและการบริหาร)] – หมวดการฝึกปฏิบัติงาน - หมวดโครงการพิเศษ/การวิจัย – หมวดวิชาเลือกเสรี
สาขาวิชาการด้านเภสัชศาสตร์
- วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม - บริบาลเภสัชกรรม - เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร
สาขา(Track) ของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
- สาขาเภสัชอุตสาหการ (Industrial Pharmacy)
- สาขาคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (Health Consumer Protection)
- สาขาบริบาลเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care)
2.2 หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2563
- เภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.) - Doctor of Pharmacy (Pharm.D.)
โครงสร้างหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2563
- หมวดศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต - หมวดวิชาเฉพาะ 185 หน่วยกิต - หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
รวมทั้งหมด 221 หน่วยกิต
- แผน 1 เภสัชอุตสาหการ (Industrial Pharmacy) - แผน 2 บริบาลเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care)
3. การสอบเพื่อรับใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม เพื่อประเมินความรู้ ความสามารถของผู้สำเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร์
เพื่อเข้าสู่วิชาชีพเภสัชกรรม เพื่อรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
การสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม โดยนักศึกษาเภสัชศาสตร์จะต้องผ่านการสอบความรู้ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรม จำนวน 2 ครั้ง จึงจะสามารถรับใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมได้
- ครั้งที่ 1 เมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ 4 - ครั้งที่ 2 เมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ 6
การสอบความรู้ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
1. สอบข้อเขียนความรู้ทางเภสัชศาสตร์เชิงบูรณาการ (MCQ)
2. สอบทักษะทางวิชาชีพ (OSPE)
4. การศึกษาหลังปริญญา (บัณฑิตศึกษา)
Academic Degree Professional Degree
◦ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ◦ ปริญญาโท (Master) ◦ อนุมัติบัตร
◦ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ◦ ปริญญาเอก (Ph.D.) ◦ วุฒิบัตร
◦ การศึกษาหลังปริญญา (Post.Doc.)
4.1 ทางด้านวิชาการ (Academic degree)
Master degree
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา... - หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขา.... ->รับคนที่จบเภสัช
Doctoral degree
- วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขา... - เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขา... - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา....
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาในคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาเภสัชกรรมคลินิก
- หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการเภสัชกรรม
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง
- หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์
Post Doctoral fellowship เป็นตำแหน่งการทำงานในสายวิชาการ ซึ่งจะทำงานในตำแหน่งนี้ได้จะต้องเป็นคนที่กำลังจบหรือ
จบ PhD แล้ว
4.2 ทางด้านวิชาชีพ (Professional degree) ->ทักษะเฉพาะทาง
วิทยาลัยในสังกัดสภาเภสัชกรรม
- วิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย: ว.ภบ. College of Pharmacotherapy of Thailand: CPT โดยมีหน้าที่ในการจัด
สอบประเมินความรู้ ความสามารถด้านเภสัชบำบัดให้แก่เภสัชกรที่ทำหน้าที่บริบาลทางเภสัชกรรม ให้ได้รับหนังสืออนุมัติแสดง
ความรู้ ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาเภสัชบำบัด โดยผู้ขอรับการประเมินต้องมีคุณสมบัติดังนี้
1. ได้รับอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางเภสัชกรรม
2. ประกอบวิชาชีพในสาขาเภสัชบำบัดหรือที่เกี่ยวข้อง มาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 10 ปี
3. มีคุณสมบัติเทียบเท่าตามที่สภาเภสัชกรรมรับรอง
วุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัด
- ระยะเวลาในการฝึกอบรม 4 ปี
- วิธีการฝึกอบรมประกอบด้วย
: ภาคทฤษฏีจำนวน 10 หน่วยกิต
: ภาคปฏิบัติ ปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติงานในสาขาเภสัชบำบัด ในสถาบันฝึกอบรมของสภาเภสัชกรรม
จำนวน 91 หน่วยกิต
: การทำวิจัย จำนวน 32 หน่วยกิต
- ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมในปีที่ 1 จะได้รับประกาศนียบัตร General residency in pharmacotherapy
- ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมในปีที่ 3 จะได้รับประกาศนียบัตร Specialized residency in _________ pharmacotherapy
- ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมในปีที่ 4 จะได้รับประกาศนียบัตร Specialized fellowship in _________ pharmacotherapy
Nephrology Infectious Internal Med Nutrition Critical Care
Cardiology Pediatric Psychiatric Oncology Geriatric
วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัด สามารถบรรจุ แต่งตั้ง ในอัตรา
เงินเดือนเทียบเท่าอัตราเงินเดือนวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก
ประกาศนียบัตรวิชาชีพเภสัชกรรม :วิทยาลัยเภสัชบําบัด
- ประกอบไปด้วยสาขาต่างๆ ดังนี้ สาขาการตรวจติดตามระดับยาในเลือด สาขาผู้ป่วยมะเร็ง สาขาผู้ป่วยนอก สาขาผู้ป่วยติดเชื้อ
เอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ป่วยวัณโรค สาขาการประเมินและติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา สาขาการบริหารจัดการ
ระบบยาเพื่อการบริบาลเภสัชกรรม ณ ต่างประเทศ สาขาผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด สาขาพื้นฐานเภสัชกรรม
ชุมชน 1 สาขาพื้นฐานเภสัชกรรมชุมชน 2 สาขาผู้ป่วยมะเร็งทางโลหิตวิทยา สาขาผู้ป่วยใน สาขาเภสัชกรครอบครัว สาขา
โรคหัวใจและหลอดเลือด สาขาผู้ป่วยวิกฤต สาขาจิตเวช
- วิทยาลัยการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพแห่งประเทศไทย: วคบท. College of Pharmaceutical and Health
Consumer Protection of Thailand: CPHCP
- เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมและมีประสบการณ์ในงานคุ้มครองผู้บริโภค
ด้านยาและสุขภาพอย่างน้อย 10 ปี
หนังสืออนุมัติ แสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ
- ระยะเวลาหลักสูตร 4 ปี
- จำนวนหน่วยกิตรวมเท่ากับ 129 หน่วยกิต
◦ ภาคทฤษฎี จำนวน 10 หน่วยกิต ◦ ภาคปฏิบัติการ จำนวน 8 หน่วยกิต
◦ ภาคฝึกปฏิบัติวิชาชีพ จำนวน 111 หน่วยกิต ◦ การฝึกปฏิบัติเพื่อทักษะเฉพาะจำนวน 21 หน่วยกิต
◦ การฝึกปฏิบัติเพื่อความชำนาญในงานคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 58 หน่วยกิต
◦ การปฏิบัติการวิจัยเพื่อความเชี่ยวชาญ จำนวน 32 หน่วย
วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพเภสัชกรรมด้านยาและสุขภาพแห่งประเทศไทย
- หลักสูตรกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค
- หลักสูตรการวิเคราะห์การจัดการความเสี่ยงในงานคุ้มครองผู้บริโภค
- หลักสูตรคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
- วิทยาลัยเภสัชกรรมสมุนไพรแห่งประเทศไทย: ว.ภส. College of Herbal Pharmacy of Thailand: CHP
ข้อมูลผู้ได้รับอนุมัติบัตรและวุฒิบัตร สภาเภสัชกรรม
5. การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์
ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ->ต้องเรียนทุกคน
วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาต่อเนื่องแก่ผู้ประกอบวิชาชีพ
1. เสริมความรู้และวิทยาการใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ
2. เสริมทักษะและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานวิชาชีพในด้านต่างๆ เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นในการประกอบวิชาชีพ
3. ยกระดับและพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้า
4. การอื่นๆ ตามมติของคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม โดยออกเป็นประกาศสภาเภสัชกรรม
รูปแบบกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง
1. การประชุมวิชาการ 2. การศึกษาด้วยตนเอง
3. การเป็นวิทยากรในการประชุมวิชาการ 4. การเป็นผู้เขียนบทความวิชาการ
เกณฑ์การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
- ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทุกคน ต้องมีการศึกษาต่อเนื่องรวมไม่น้อยกว่า 100 หน่วยกิต/5ปี ต้องมีการศึกษาต่อเนื่องทุกปี
ปีละไม่น้อยกว่า ๑๐ หน่วยกิต ในรอบ 5 ปีต่อไป ให้เริ่มเก็บสะสมหน่วยกิตใหม่ ไม่รวมของเดิม

More Related Content

Similar to เภสัชศาสตร์ศึกษา

การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandkamolwantnok
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติLoadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถีปลั๊ก พิมวิเศษ
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร ikanok
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา... Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...nawaporn khamseanwong
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมtanong2516
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติnawaporn khamseanwong
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to เภสัชศาสตร์ศึกษา (20)

การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailand
 
Anhperf6
Anhperf6Anhperf6
Anhperf6
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติLoadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา... Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfpitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfpitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfpitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfpitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfpitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfpitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)pitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 

เภสัชศาสตร์ศึกษา

  • 2. 1. เภสัชศาสตร์ศึกษาในประเทศไทย 1.1 ความเป็นมาของการศึกษาเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2456 เปิดสอนแพทย์ปรุงยาขึ้น ปรับแผนเภสัชให้เหมือนตะวันตก การเรียนเภสัชกรรมไทย แต่เดิมเป็นหมอยาสมุนไพรที่ถ่ายทอดความรู้ภายในครอบครัว โดยเลือกศิษย์ที่มีความเหมาะสม ไม่มีระยะเวลาที่แน่นอน วิธีการประเมินการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับผู้สอนแต่ละคน กำเนิดเภสัชศาสตร์ศึกษาแผนตะวันตกในประเทศไทย เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2456 เปิดสอนแพทย์ปรุงยาขึ้น มีหลักสูตรที่ แน่นอนในมหาวิทยาลัย กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ เป็นผู้ดําริให้แยก “ผู้ที่ทำการรักษา”และ“ผู้ปรุงยา” ออกจากกันและมีแนวคิดว่าควรตั้งโรงเรียนแพทย์ปรุงยาขึ้นอีกแขนงหนึ่ง กรมขุนชัยนาทนเรนทร เป็นผู้เปิดสอนแพทย์ปรุงยาขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2456 โดยกล่าวว่า …แพทย์มีหน้าที่เฉพาะการตรวจรักษา ส่วนแพทย์ปรุงยามีหน้าที่ปรุงยาและขายยา จะไป ตรวจรักษาคนไข้ไม่ได้… วันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ เป็นวันสถาปนาคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัช กรรมในประเทศไทยจากโรงเรียนปรุงยาสู่การเป็นคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตรแพทย์ปรุงยา (Certificate of Dispensing) ในปี พ.ศ. 2457-2462 แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย หลักสูตร 3 ปี ผู้สอนคือ หลวงเภสัชกิจโกศล Dr.G.Bossoni ส่วนมากผู้สอนเป็นชาวต่างชาติ เนื้อหาที่เรียน ได้แก่ Materia medica (เครื่องยา, วิชาว่าด้วยสรรพคุณยา) , Art of compounding (การเตรียมยา) , วิชาแพทย์แผนไทยยกเลิกไป ในปี 2458 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยกเลิกกรมแพทย์หลวงในราชสำนัก การยกเลิกการจ่ายยาไทยให้ผู้ป่วยในโรงพยาบาลศิริราชตั้งแต่ปี 2458 ข้อเสียคือทำให้ในปัจจุบันความรู้ยาไทยไม่พัฒนา - ในปี 2460 โรงเรียนปรุงยามีฐานะเป็นแผนกแพทย์ผสมยา ในสังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ในปี 2462 หลวงเภสัชกิจโกศลลาออก หยุดการสอน ทำให้คนที่ทำหน้าที่ในการสอน - ประกาศนียบัตรเภสัชกรรมศาสตร์ (Certificate of Pharmacy) ในปี พ.ศ. 2465-2479 เกิดคำว่า ...เภสัชกรรม (ภ)... มี การปรับปรุงหลักสูตรแผนกแพทย์ปรุงยา เรียนที่คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการฝึก ปฏิบัติงานในชั้นปีที่ 3 ที่แผนกเภสัชกรรม ศิริราชพยาบาล ในปี พ.ศ. 2477 มีแผนกอิสระเภสัชกรรมศาสตร์ - ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการออกกฎเสนาบดี พ.ศ. 2472 แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็น 2 ประเภทคือ การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันและการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ - อนุปริญญาเภสัชกรรมศาสตร์ (Diploma of Pharmacy) ในปี พ.ศ. 2480-2483 เป็นหลักสูตร 3 ปี เน้นปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม ร้านขายยา เพิ่มความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบ่งออกเป็น แผนกต่างๆ เช่น เภสัชเวท(ยาที่มาจากธรรมชาติ) เภสัชเคมี(เคมีของยา) เภสัชอุตสาหกรรม(การผลิตยา) นิติ เภสัชกรรม(กฎหมายเภสัช) และแผนกปรุงยาและจ่ายยาสำเร็จ - หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 4 ปี Bachelor of science in Pharmacy: B.Sc. In Pharm. ในปี พ.ศ. 2483-2500 มีขยายหลักสูตร วิทยาศาสตร์พื้นฐาน สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ วิชาชีพ เมื่อจบแล้วได้รับปริญญาเภสัชศาสตร บัณฑิต (ภ.บ.) และในปี พ.ศ. 2494 มีการเปิดหลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc. In Pharm.) - เภสัชศาสตรบัณฑิต 5 ปี B.Sc. In Pharm./B.Pharm. ในปี พ.ศ. 2500 ยุคการส่งมอบยาอย่างมีคุณค่า (Dispensing Era) และโรงพยาบาลมีการขยายตัว เรียนเตรียมเภสัชศาสตร์ 2 ปี เรียนในคณะเภสัชศาสตร์ 3 ปี มีการฝึกงาน 300 ชั่วโมงใน รพ. โรงงานผลิตยาและร้านขายยา 1.2 คณะเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย มีทั้งสิ้น 20 สถาบัน แห่งแรกคือ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (8 ธ.ค. 2456) แห่งที่สองคือ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เกิดการเรียกร้องโดยปชช. เพื่อศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ช่วงแรกเปิดสอน มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ ใน พ.ศ. 2509 เริ่มจัดการศึกษาเภสัชศาสตร์ ในฐานะโรงเรียนเภสัชศาสตร์ สังกัดสำนักงานคณะแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ศึกษา Pitsanu Duangkartok
  • 3. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งใน พ.ศ. 2507 ใน พ.ศ. 2509 เริ่มโรงเรียนเภสัชศาสตร์ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ เป็นสถานศึกษาสาขาเภสัชศาสตร์แห่งแรกในภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2515 ได้รับการ ยกฐานะเป็นคณะเภสัชศาสตร์ และใน พ.ศ. 2520 ย้ายมาที่ตั้งปัจจุบัน โดย ศ.ดร.สสี ปันยารชุน วางรากฐานการเรียน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2535 ก่อตั้งใน พ.ศ. 2536 เปิดรับนิสิต หลักสูตร 5 ปี ใน พ.ศ. 2540 เปิดหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบริบาลเภสัชกรรม (Doctor of Pharmacy Program in Pharmaceutical Care) ตั้งแต่ปี 2557 สภาเภสัชกรรมจะให้การรับรองเฉพาะปริญญาที่เกิดจากหลักสูตรที่มีมาตรฐานตามหลักเกณฑ์ ของหลักสูตร 6 ปี 2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 2.1 โครงสร้างหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตของไทยในปัจจุบัน เภสัชศาสตร์ศึกษา (กระทรวงอุดมศึกษาฯ สภาเภสัชกรรม ศศภท.) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกําหนด ชื่อปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๙ Pharm.D. ในปี พ.ศ. 2498 เริ่มมีหลักสูตร Doctor of Pharmacy ที่ Faculty of Pharmacy, University of California, USA ในปี พ.ศ. 2516 ประเทศไทยเริ่มสอนวิชาเภสัชกรรมคลินิก (Clinical Pharmacy) และในปี พ.ศ. 2540 Doctor of Pharmacy (Pharm.D.) ที่แรก ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร โครงสร้างหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 6 ปี - หมวดศึกษาทั่วไป – หมวดวิชาเฉพาะ [ระดับพื้นฐานวิชาชีพ ระดับวิชาชีพ (ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านผู้ป่วย ด้านเภสัชศาสตร์ สังคมและการบริหาร)] – หมวดการฝึกปฏิบัติงาน - หมวดโครงการพิเศษ/การวิจัย – หมวดวิชาเลือกเสรี สาขาวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ - วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม - บริบาลเภสัชกรรม - เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร สาขา(Track) ของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต - สาขาเภสัชอุตสาหการ (Industrial Pharmacy) - สาขาคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (Health Consumer Protection) - สาขาบริบาลเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care)
  • 4. 2.2 หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2563 - เภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.) - Doctor of Pharmacy (Pharm.D.) โครงสร้างหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2563 - หมวดศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต - หมวดวิชาเฉพาะ 185 หน่วยกิต - หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวมทั้งหมด 221 หน่วยกิต - แผน 1 เภสัชอุตสาหการ (Industrial Pharmacy) - แผน 2 บริบาลเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care) 3. การสอบเพื่อรับใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม เพื่อประเมินความรู้ ความสามารถของผู้สำเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร์ เพื่อเข้าสู่วิชาชีพเภสัชกรรม เพื่อรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม การสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม โดยนักศึกษาเภสัชศาสตร์จะต้องผ่านการสอบความรู้ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรม จำนวน 2 ครั้ง จึงจะสามารถรับใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมได้ - ครั้งที่ 1 เมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ 4 - ครั้งที่ 2 เมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ 6 การสอบความรู้ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 1. สอบข้อเขียนความรู้ทางเภสัชศาสตร์เชิงบูรณาการ (MCQ) 2. สอบทักษะทางวิชาชีพ (OSPE) 4. การศึกษาหลังปริญญา (บัณฑิตศึกษา) Academic Degree Professional Degree ◦ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ◦ ปริญญาโท (Master) ◦ อนุมัติบัตร ◦ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ◦ ปริญญาเอก (Ph.D.) ◦ วุฒิบัตร ◦ การศึกษาหลังปริญญา (Post.Doc.)
  • 5. 4.1 ทางด้านวิชาการ (Academic degree) Master degree - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา... - หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขา.... ->รับคนที่จบเภสัช Doctoral degree - วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขา... - เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขา... - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา.... หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาในคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาเภสัชกรรมคลินิก - หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการเภสัชกรรม - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ Post Doctoral fellowship เป็นตำแหน่งการทำงานในสายวิชาการ ซึ่งจะทำงานในตำแหน่งนี้ได้จะต้องเป็นคนที่กำลังจบหรือ จบ PhD แล้ว 4.2 ทางด้านวิชาชีพ (Professional degree) ->ทักษะเฉพาะทาง วิทยาลัยในสังกัดสภาเภสัชกรรม - วิทยาลัยเภสัชบำบัดแห่งประเทศไทย: ว.ภบ. College of Pharmacotherapy of Thailand: CPT โดยมีหน้าที่ในการจัด สอบประเมินความรู้ ความสามารถด้านเภสัชบำบัดให้แก่เภสัชกรที่ทำหน้าที่บริบาลทางเภสัชกรรม ให้ได้รับหนังสืออนุมัติแสดง ความรู้ ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาเภสัชบำบัด โดยผู้ขอรับการประเมินต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 1. ได้รับอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางเภสัชกรรม 2. ประกอบวิชาชีพในสาขาเภสัชบำบัดหรือที่เกี่ยวข้อง มาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 10 ปี 3. มีคุณสมบัติเทียบเท่าตามที่สภาเภสัชกรรมรับรอง
  • 6. วุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัด - ระยะเวลาในการฝึกอบรม 4 ปี - วิธีการฝึกอบรมประกอบด้วย : ภาคทฤษฏีจำนวน 10 หน่วยกิต : ภาคปฏิบัติ ปฏิบัติการและฝึกปฏิบัติงานในสาขาเภสัชบำบัด ในสถาบันฝึกอบรมของสภาเภสัชกรรม จำนวน 91 หน่วยกิต : การทำวิจัย จำนวน 32 หน่วยกิต - ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมในปีที่ 1 จะได้รับประกาศนียบัตร General residency in pharmacotherapy - ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมในปีที่ 3 จะได้รับประกาศนียบัตร Specialized residency in _________ pharmacotherapy - ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมในปีที่ 4 จะได้รับประกาศนียบัตร Specialized fellowship in _________ pharmacotherapy Nephrology Infectious Internal Med Nutrition Critical Care Cardiology Pediatric Psychiatric Oncology Geriatric วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัด สามารถบรรจุ แต่งตั้ง ในอัตรา เงินเดือนเทียบเท่าอัตราเงินเดือนวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก ประกาศนียบัตรวิชาชีพเภสัชกรรม :วิทยาลัยเภสัชบําบัด - ประกอบไปด้วยสาขาต่างๆ ดังนี้ สาขาการตรวจติดตามระดับยาในเลือด สาขาผู้ป่วยมะเร็ง สาขาผู้ป่วยนอก สาขาผู้ป่วยติดเชื้อ เอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ และผู้ป่วยวัณโรค สาขาการประเมินและติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา สาขาการบริหารจัดการ ระบบยาเพื่อการบริบาลเภสัชกรรม ณ ต่างประเทศ สาขาผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด สาขาพื้นฐานเภสัชกรรม ชุมชน 1 สาขาพื้นฐานเภสัชกรรมชุมชน 2 สาขาผู้ป่วยมะเร็งทางโลหิตวิทยา สาขาผู้ป่วยใน สาขาเภสัชกรครอบครัว สาขา โรคหัวใจและหลอดเลือด สาขาผู้ป่วยวิกฤต สาขาจิตเวช - วิทยาลัยการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพแห่งประเทศไทย: วคบท. College of Pharmaceutical and Health Consumer Protection of Thailand: CPHCP - เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมและมีประสบการณ์ในงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านยาและสุขภาพอย่างน้อย 10 ปี หนังสืออนุมัติ แสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ - ระยะเวลาหลักสูตร 4 ปี - จำนวนหน่วยกิตรวมเท่ากับ 129 หน่วยกิต ◦ ภาคทฤษฎี จำนวน 10 หน่วยกิต ◦ ภาคปฏิบัติการ จำนวน 8 หน่วยกิต ◦ ภาคฝึกปฏิบัติวิชาชีพ จำนวน 111 หน่วยกิต ◦ การฝึกปฏิบัติเพื่อทักษะเฉพาะจำนวน 21 หน่วยกิต ◦ การฝึกปฏิบัติเพื่อความชำนาญในงานคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 58 หน่วยกิต ◦ การปฏิบัติการวิจัยเพื่อความเชี่ยวชาญ จำนวน 32 หน่วย วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเภสัชกรรมด้านยาและสุขภาพแห่งประเทศไทย - หลักสูตรกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค - หลักสูตรการวิเคราะห์การจัดการความเสี่ยงในงานคุ้มครองผู้บริโภค - หลักสูตรคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน - วิทยาลัยเภสัชกรรมสมุนไพรแห่งประเทศไทย: ว.ภส. College of Herbal Pharmacy of Thailand: CHP
  • 7. ข้อมูลผู้ได้รับอนุมัติบัตรและวุฒิบัตร สภาเภสัชกรรม 5. การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ->ต้องเรียนทุกคน วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาต่อเนื่องแก่ผู้ประกอบวิชาชีพ 1. เสริมความรู้และวิทยาการใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ 2. เสริมทักษะและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานวิชาชีพในด้านต่างๆ เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นในการประกอบวิชาชีพ 3. ยกระดับและพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้า 4. การอื่นๆ ตามมติของคณะกรรมการสภาเภสัชกรรม โดยออกเป็นประกาศสภาเภสัชกรรม รูปแบบกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง 1. การประชุมวิชาการ 2. การศึกษาด้วยตนเอง 3. การเป็นวิทยากรในการประชุมวิชาการ 4. การเป็นผู้เขียนบทความวิชาการ เกณฑ์การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม - ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทุกคน ต้องมีการศึกษาต่อเนื่องรวมไม่น้อยกว่า 100 หน่วยกิต/5ปี ต้องมีการศึกษาต่อเนื่องทุกปี ปีละไม่น้อยกว่า ๑๐ หน่วยกิต ในรอบ 5 ปีต่อไป ให้เริ่มเก็บสะสมหน่วยกิตใหม่ ไม่รวมของเดิม