SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
แบบเสนอโครงการ
๑. ชื่อโครงการ: “พัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วม”
ขยายผลสู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย
๒. ผู้รับผิดชอบ: นายพิบูลย์ ยะโสธร
๓. ที่ปรึกษาโครงการ: นายประดิษฐ์พร จิระปัญญาเลิศ นายธนะศักดิ์ บุญชินะ
นายเด่น ณ พิโรจน์ นายเมธี ภุมมาพันธุ์ นายไชยา ประพันธ์ศิริ
๔. ระยะเวลาดําเนินงาน มิถุนายน – ตุลาคม ๒๕๕๖
๕. หลักการและเหตุผล
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้อนุมัติโครงการ “การสร้างความลงตัว
ระหว่างการศึกษาอาชีวะเกษตรกับงานวิจัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารของประเทศ” เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน
๒๕๕๕ ระยะเวลาดําเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างทักษะ
เทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยมีส่วนร่วม” ระหว่างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ถึงวันที่
๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร วัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ
นักวิจัย นักปรับปรุงพันธุ์พืช และสถาบันในด้านการใช้วิธีการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ชุมชนโดยมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชนโดยยึดระบบการเกษตรที่มีอยู่บนพื้นฐานของ
ความหลากหลายทางด้านชีววิทยา ผู้เข้าร่วมรับการอบรมได้แก่ข้าราชการครูสาขาที่เกี่ยวข้องจากวิทยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยี ๑๗ แห่ง โดยมีวิทยากรจากมูลนิธิการศึกษาไทยเป็นผู้จัดการอบรม ทั้งนี้ได้อนุมัติ
งบประมาณให้กับสถานศึกษาแห่งละ ๖๐,๐๐๐ บาท เพื่อดําเนินโครงการ
การมอบหมายงานกับครูผู้เข้ารับการอบรม โดยมีข้อตกลงร่วมกัน ในทุกสถานศึกษาที่เข้าร่วม
โครงการ จะต้องไปขับเคลื่อนให้เกิดกระบวบการจัดตั้ง เตรียมกลุ่มผู้เรียนและเกษตรกรเพื่อการขยายผลในแต่
ละสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมดังนี้
๑) ประสานหาสมาชิกเพิ่มจากครูในสถานศึกษาเพื่อจัดตั้งคณะทํางานระดับสถานศึกษา
๒) คัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ สถานศึกษาละ ๓๐ คนต่อ
๓) คัดเลือกเกษตรกรในพื้นที่เพื่อเข้าร่วมโครงการ จํานวน ๔๐ คน
๔) จัดทําแปลงสาธิต ลดการใช้สารเคมีในพื้นที่ทําการเกษตร เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้
สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน อันส่งผลต่อการพัฒนาเกษตรได้อย่างยั่งยืน
๖. วัตถุประสงค์
๖.๑) ขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ “ทักษะและเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลาย
ทางชีวภาพโดยมีส่วนร่วม” สู้นักศึกษาเกษตรและเกษตรกรให้มีความสามารถที่จะพัฒนาให้เกิดความมั่นคง
ด้านอาหารและพัฒนาระบบการดํารงชีวิตในด้านที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีววิทยา
๖.๒) ทําแปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย โดยการใช้
เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated Pest Management : IPM)ในการผลิตพืช
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
๗. เป้าหมาย
๗.๑ เชิงปริมาณ
๗.๑.๑ ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการมี
ส่วนร่วมให้กับครูในสถานศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจในโครงการเพื่อให้ครูเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือทีมงาน
๗.๑.๒ ถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วมให้กับนักศึกษาจํานวน ๓๐ คน
๗.๑.๓ ถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วมให้กับเกษตรกรจํานวน ๔๐ คน
๗.๑.๔ พัฒนาและจัดทําแปลงสาธิตการเกษตรที่ใช้เทคโนโลยีบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพ โดยการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัยโดยการใช้เทคโนโลยีการ
บริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated pest Management : IPM) ในการผลิตพืชทําให้
เหมาะสมในการเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน จํานวน ๑ แปลง ที่ส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติทางการเกษตรบน
ความหลากหลายทางชีวภาพ อันส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๗.๒ เชิงคุณภาพ
๗.๒.๑ ครู เจ้าหน้าที่ นักเรียน นักศึกษา และเกษตรกรได้รับการพัฒนาทักษะและเทคโนโลยี
บนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม มีความรู้ความสามารถในการทําการเกษตรตามแนวทาง
ของเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการลดการใช้สารเคมีและอนุรักษ์ความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิตตลอดจนความหลากหลายของพันธุ์พืชในพื้นที่การเกษตรโดยการมีส่วนร่วม
๗.๒.๒ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัยมีแปลงสาธิตการเกษตรที่ใช้เทคโนโลยีเกษตร
บนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย
ด้วยการใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated pest Management : IPM)ใน
การผลิตพืช ทําให้เหมาะสมในการเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ที่ส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติทางการเกษตรบน
ความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๘. สนองนโยบายหรือยุทธศาสตร์ถาบันอาชีวศึกษา (สอศ.)
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพมาตรฐาน
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ขยายโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ พัฒนางานวิจัย นวัตกรรมเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ พัฒนาระบบความร่วมมือและบูรณาการทรัพยากร
๙. สรุปสาระสําคัญของโครงการ
เป็นโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการให้ความรู้กับนักเรียน นักศึกษา
เกษตรกร ผู้สนใจ ด้วยการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามหลักปฏิบัติเทคโนโลยีเกษตร บนความหลากหลายทาง
ชีวภาพ โดยการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย ด้วยการใช้เทคโนโลยีการ
บริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ( IPM ) ในการผลิตพืช
๑๐. สถานะและความพร้อมของโครงการ
บุคลากร นายพิบูลย์ ยะโสธร และคณะทํางาน
สถานที่ แผนกวิชาพืชศาสตร์
งบประมาณ งบประมาณของสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สํานักคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา ประจําปี ๒๕๕๖ เป็นเงิน ๖๐,๐๐๐. บาท
๑๑. แผนการดําเนินงาน
การดําเนินงานประกอบด้วย ๔ กิจกรรมหลัก ดังนี้
กิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วน
ร่วมให้กับนักศึกษา ๓๐ คน
กิจกรรมที่ ๒ การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพสู่ชุมชน กลุ่มเกษตรกร ๔๐ คน
กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพื้นที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ๔ การเก็บรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เช่น ข้าว ไม้ผล หรือพืชสมุนไพร เพื่อให้
มีความหลากหลายทางสายพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วมให้กับ
นักศึกษา จํานวน ๓๐ คน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู้เกษตรกรได้
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย
นักศึกษาที่ผ่านการพัฒนาองค์ความรู้สาขาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู้เกษตรได้ จํานวน ๓๐ คน
ขั้นตอนการดําเนินงาน
ขั้นตอนการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนิน ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบ
ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๑. จัดตั้งคณะทํางาน เพื่อดําเนินโครงการ ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๒. รับสมัครนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๓. ฝึกอบรมนักศึกษาดังต่อไปนี้
๑) การศึกษาความหลากหลายทาง
ชีวภาพในพื้นที่เกษตร และการประยุกต์ใช้
ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
ครูประเดิม บุตรเพลิง
ครูอําไพ พูลประสาธน์พร
ครูจงกล เชื้อบุญมี
ครูชูชัย เทพวีระ
๒) สถาณการณ์การใช้สารป้องกันการ
กําจัดศัตรูพืชและผลกระทบ
๓) การเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช เช่น
ข้าว ไม้ผล หรือสมุนไพร
๔. คัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ
ครูอําไพ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๕. นํานักศึกษาถ่ายทอดองค์ความรู้
เทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพสู่ชุมชน
ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูประเดิม บุตรเพลิง
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๖. สรุปผลการดําเนินงาน เสนอ
ผู้บังคับบัญชาตามลําดับ
ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๗. รายงานผลการดําเนินงานต่อสํานักวิจัย
และพัฒนาการอาชีวศึกษา
ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
กิจกรรมที่ ๒ การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพสู่ชุมชน
วัตถุประสงค์
เพื่อเผยแพร่ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพสู่เกษตรกรในชุมชน
จํานวน ๔๐ คน
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย
เกษตรที่เข้าร่วมโครงการโครงการได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความ
หลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับที่สามารถนําไปรับการใช้พัฒนาการประกอบอาชีพเกษตร
ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ขั้นตอนการดําเนินงาน
ขั้นตอนการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนิน ๒๕๕๖
ผู้รับผิดชอบก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๑. เตรียมกลุ่มเกษตรกร ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูประเดิม บุตรเพลิงครู
๒. นํานักศึกษาสํารวจข้อมูลพื้นฐานของกลุ่ม
เกษตรกร ตามรายการดังนี้
๒.๑ วิธีการที่ใช้ในการป้องกันกําจัดศัตรูพืช
๒.๒ พฤติกรรมการใช้สารป้องกันกําจัดศัตรูพืช
๒.๓ ผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารป้องกัน
กําจัดศัตรูพืช เช่น ต่อสุขภาพ ต่อเศรษฐกิจ ต่อ
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
๒.๔ ความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน
๒.๕ พันธุกรรมพืชในชุมชน
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
ครูจงกล เชื้อบุญมี
ครูอําไพ พูลประสาธน์พร
ครูชูชัย เทพวีระ
๓. นักศึกษานําข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุป และ
วางแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน
ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูอําไพ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๔. นักศึกษาพบกลุ่มเกษตรกรเพื่อถ่ายทอดองค์
ความรู้ในเรื่องดังนี้
๔.๑ ผลกระทบของสารป้องกันกําจัดศัตรูพืช
๔.๒ ความหลากหลายทางชีวภาพในแปลง
เกษตรกรและชุมชน และการใช้ประโยชน์จาก
ความหลากหลายทางชีวภาพดังกล่าว
๔.๓ การเก็บรวบรวมพันธุ์เพื่อใช้เอง
ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
ครูอําไพ พูลประสาธน์พร
๕. ครูนักศึกษา และชุมชน สร้างความตระหนัก
ร่วมกันถึงผลกระทบของสารเคมีป้องกันกําจัด
ศัตรูพืช ที่มีต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และ
ความจําเป็นในการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง
ครูชูชัย เทพวีระ
ครูประเดิม บุตรเพลิง
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
ชีวภาพโดยการใช้ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความ
หลากหลายทางชีวภาพด้วยการใช้ระบบบริหาร
จัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน
๖. สรุปผลการดําเนินงาน เสนอผู้บังคับบัญชา
ตามลําดับ
ครูครูอําไพ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๗. รายงานผลการดําเนินงานต่อสํานักวิจัยและ
พัฒนาการอาชีวศึกษา
ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพื้นที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในการเกษตร เพื่อส่งเสริมให้วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
เป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่อง การใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานในการผลิตพืช
๒. เพื่อส่งเสริมให้วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัยเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัดและเป้าหมาย
แปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีที่จัดทําขึ้นมีความครอบคลุมพืชเศรษฐกิจหลักของ ท้องถิ่นและมีการ
บํารุงรักษาให้สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑ แปลงสาธิต
ขั้นตอนการดําเนินงานการจัดทําแปลงสาธิต
ขั้นตอนการดําเนินงาน
ระยะเวลาดําเนิน ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบ
ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
๑. เตรียมแปลง / ไถดะ/ไถแปร/ ไถกลบ ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
๒. ให้น้ํา ให้ปุ๋ยอินทรีย์ ดูแลรักษา ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๓. การกําจัดวัชพืช ครูประเดิม บุตรเพลิง
๔. ศึกษาการเจริญเติบโต ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๕. เก็บเกี่ยวผลผลิต/เก็บข้อมูล/สรุปผล ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร
๖. สรุปผลการดําเนินงาน เสนอ
ผู้บังคับบัญชาตามลําดับ
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๗. รายงานผลการดําเนินงานต่อสํานักวิจัย
และพัฒนาการอาชีวศึกษา
ครูพิบูลย์ ยะโสธร
๑๒. งบประมาณในการดําเนินการ
ลําดับ รายการ จํานวนหน่วย ราคา / หน่วย รวม
1 ดินดํา 4 คันรถ 1,000 4,000
2 ขี้วัว 200 กระสอบ 25 5,000
3 ปุ๋ยหมัก 140 กระสอบ 50 7,000
4 รําละเอียด 200 กิโลกรัม 15 3,000
5 แกลบดิบ 2 คันรถ 1,000 2,000
6 เมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวดํา 50 กิโลกรัม 40 2,000
7 เมล็ดพันธุ์ฟักทอง 1 กระป๋อง 450 450
8 ต้นพันธุ์ไพล 100 ถุง 10 1,000
9 ต้นพันธุ์ขมิ้น 100 ถุง 10 1,000
10 ต้นพันธุ์ข่า 50 ถุง 10 500
11 กระดาษเอ 4 5 รีม 110 550
12 เอกสารประกอบการฝึกอบรม 100 ชุด 50 5,000
13 ปากกาเคมี 20 ด้าม 20 400
14 กระดาษปรู๊ฟ 50 แผ่น 10 500
15 สวิงจับแมลง 10 ชุด 250 2,500
16 ถุงพลาสติกขนาด 1 x 1 ½ ฟุต 2 กิโลกรัม 50 100
17 ค่าจ้างเหมาทําอาหารและอาหารว่าง 100 คน 250 25,000
รวม 60,000
๑๓. ความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น
เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนการสอนรายวิชา การผลิตพืชสมุนไพร สารชีวภาพเพื่อการเกษตร และ
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
๑๔. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑๔.๑ ขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ “ทักษะและเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลาย
ทางชีวภาพโดยมีส่วนร่วม” สู่นักศึกษาเกษตรจํานวน ๓๐ คน และเกษตรกร ๔๐ คน มีความสามารถที่จะ
พัฒนาให้เกิดความมั่นคงด้านอาหารและพัฒนาระบบการดํารงชีวิตในด้านที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทาง
ชีววิทยา
๑๔.๒ ได้แปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย โดยการ
ใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ( Integrated Pest Management : IPM ) ในการ
ผลิตพืช เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
๑๕. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ
๑๕.๑ เชิงปริมาณ ได้ผลตามที่กําหนดไว้ในจุดประสงค์ของโครงการ
๑๕.๒ เชิงคุณภาพ ได้ผลตามที่กําหนดไว้ในจุดประสงค์ของโครงการ
๑๖. การติดตามและประเมินผล
๑๖.๑ จากการนิเทศภายในวิทยาลัย
๑๖.๒ จากสรุปและรายงานผล หลังเสร็จสิ้นการดําเนินโครงการ
ลงชื่อ ................................................ผู้เสนอโครงการ
( นายพิบูลย์ ยะโสธร )
ครู คศ. 2
ลงชื่อ...........................................................หัวหน้าแผนกวิชาพืชศาสตร์
( นางอําไพ พูลประสาธน์พร )
ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
( นายเมธี ภุมมาพันธุ์ )
รองผู้อํานวยการสถานศึกษา
ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
( นายไชยา ประพันธ์ศิริ )
รองผู้อํานวยการสถานศึกษา
ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายบริหารทรัพยากร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
( นายธนะศักดิ์ บุญชินะ )
รองผู้อํานวยการสถานศึกษา
ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
( นายเด่น ณ พิโรจน์ )
รองผู้อํานวยการสถานศึกษา
ความเห็นของผู้อํานวยการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
( นายประดิษฐ์พร จิระปัญญาเลิศ )
ผู้อํานวยการสถานศึกษา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย
รายระเอียดค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
“พัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วม”
ขยายผลสู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย
ประจําปีงบประมาณ ๒๕๕๖
รายการงบประมาณ จํานวนเงิน
กิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วน
ร่วมให้กับ นักศึกษา จํานวน ๓๐ คน
กิจกรรมย่อย ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม จํานวน ๒ วัน
- ค่าวัสดุฝึกอบรม
๑. สวิงจับแมลง จํานวน ๑๐ ชุด x ชุดละ ๑๕๐ บาท
๒. ถุงพลาสติกขนาด 4x5 นิ้ว ๒ กิโลกรัม x ๕๐ บาท
๓. เอกสารการฝึกอบรม จํานวน ๗๐ ชุด x ชุดละ ๔๐ บาท
๔. กระดาษปรู๊ฟ จํานวน ๓๐ แผ่น x แผ่นละ ๒๐ บาท
๕. ปากกาเคมี จํานวน ๒๐ แท่ง x แท่งละ ๒๐ บาท
๗. กระดาษกาว จํานวน ๕ ม้วน x ม้วนละ ๓๐ บาท
๘. ซองพลาสติกใส จํานวน ๘๐ ซอง x ซองละ ๑๐ บาท
๙. สมุดปกอ่อน จํานวน ๖ โหล x โหลละ ๑๐๐ บาท
๑๐. ปากกาลูกลื่น จํานวน ๖ โหล x หลอดละ ๑๐๐ บาท
๑๑. ค่าอาหารว่าง ๓๐ บาท/มื้อ x ๒ มื้อ/วัน x ๒ วัน x ๓๐ คน
๑๐. ค่าวิทยากรเหมาจ่าย ๕๐๐ บาท/วัน x ๑ วัน x ๖ คน
รวมค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมกิจกรรมที่ ๑
๒,๕๐๐ บาท
๑๐๐ บาท
๒,๘๐๐ บาท
๖๐๐ บาท
๔๐๐ บาท
๑๕๐ บาท
๘๐๐ บาท
๖๐๐ บาท
๔๕๐ บาท
๓,๖๐๐ บาท
๓,๐๐๐ บาท
๑๕,๐๐๐ บาท
รายการงบประมาณ จํานวนเงิน
กิจกรรมที่ ๒ การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพสู่ชุมชน โดยผ่านนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย โดยมีเกษตรกรได้รับ
การถ่ายทอด จํานวน ๔๐ คน
กิจกรรมย่อย ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม จํานวน ๒ วัน
- ค่าวัสดุฝึกอบรม
๑. กระดาษ A4 จํานวน ๑ กล่อง x กล่องละ ๕๕๐ บาท
๒. จอบพร้อมด้าม จํานวน ๕ ชุด x ชุดละ ๓๐๐ บาท
๓. เอกสารการฝึกอบรม จํานวน ๕๐ ชุด x ชุดละ ๕๐ บาท
๕. ค่าอาหารว่าง ๓๐ บาท/มื้อ x ๒ มื้อ/วัน x ๒ วัน x ๔๐ คน
๕๕๐บาท
๑,๕๐๐ บาท
๒,๕๐๐ บาท
๔,๘๐๐ บาท
๖. ค่าอาหารกลางวัน ๑๐๐ บาท/ x ๑ มื้อ/วัน x ๒ วัน x ๔๐ คน
๗. ค่าพาหนะเหมาจ่าย ๑๐๐ บาท /คัน x ๒ วัน x ๔๐ คน
๘. ค่าวิทยาการ เหมาจ่าย ๘๐๐ บาท/ วัน x ๒ วัน x ๖ คน
รวมค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมกิจกรรมที่ ๒
๘,๐๐๐ บาท
๘,๐๐๐ บาท
๙,๖๐๐ บาท
๓๕,๐๐๐ บาท
รายการงบประมาณ จํานวนเงิน
กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมี
ในพื้นที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย
ค่าใช้จ่ายในการ ทําแปลงสาธิต ระยะเวลาดําเนินการ-สรุป 3 เดือน
จัดทําแปลงสาธิต/เตรียมแปลง/วางแผนการปลูก/ปลูกแบบหว่านเมล็ด/เก็บรวบรวมข้อมูล
ผลผลิตของถั่วเขียวผิวดํา จํานวน ๒ ไร่ วิเคราะห์ข้อมูล/สรุปผลการดําเนินงาน/รายงานผลการ
การดําเนินงาน
- ค่าวัสดุจัดทําแปลงสาธิต/เตรียมแปลง ๒ ไร่
๑. ป้ายโครงการ ขนาด ๑.๕ x ๒.๕ เมตร จํานวน ๒ ป้าย
๒. ค่าจ้างเตรียมแปลง (ไถดะ,ไถแปร,ไถกลบ) จํานวน ๒ ไร่ x ไร่ละ ๑,๐๐๐ บาท
๓. ค่าจ้างถอนวัชพืชในแปลงสาธิต ๒ วัน x ๒ คน ๆ ละ ๓๐๐ บาท
๔. ค่าเมล็ดพันธุ์ จํานวน ๒๐ ก.ก. x ๕๐ บาท
๕. ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ ๒๐ กระสอบ x กระสอบละ ๕๐ บาท
๖. ค่าเก็บเกี่ยว ค่าขนส่ง ค่านวด
รวมค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมกิจกรรมที่ ๓
๑,๕๐๐ บาท
๒,๐๐๐ บาท
๑,๒๐๐ บาท
๑,๐๐๐ บาท
๑,๐๐๐ บาท
๓,๓๐๐ บาท
๑๐,๐๐๐บาท
รวมทั้งสิ้น ๖๐,๐๐๐บาท
( นายพิบูลย์ ยะโสธร )
ตําแหน่ง ครู
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย
ผู้ดําเนินโครงการ

More Related Content

Similar to โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1
ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1
ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1warijung2012
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 

Similar to โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ (20)

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Anhperf 6
Anhperf 6Anhperf 6
Anhperf 6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1
ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1
ตอนที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
โครงการ56
โครงการ56โครงการ56
โครงการ56
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 

More from Piboon Yasotorn

3นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,113นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,11Piboon Yasotorn
 
2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13Piboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11Piboon Yasotorn
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13Piboon Yasotorn
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชาPiboon Yasotorn
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชาPiboon Yasotorn
 
ตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรมตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรมPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัยPiboon Yasotorn
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาPiboon Yasotorn
 

More from Piboon Yasotorn (16)

3นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,113นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,11
 
2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา
 
ตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรมตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรม
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัย
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 

โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ

  • 1. แบบเสนอโครงการ ๑. ชื่อโครงการ: “พัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วม” ขยายผลสู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ๒. ผู้รับผิดชอบ: นายพิบูลย์ ยะโสธร ๓. ที่ปรึกษาโครงการ: นายประดิษฐ์พร จิระปัญญาเลิศ นายธนะศักดิ์ บุญชินะ นายเด่น ณ พิโรจน์ นายเมธี ภุมมาพันธุ์ นายไชยา ประพันธ์ศิริ ๔. ระยะเวลาดําเนินงาน มิถุนายน – ตุลาคม ๒๕๕๖ ๕. หลักการและเหตุผล สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้อนุมัติโครงการ “การสร้างความลงตัว ระหว่างการศึกษาอาชีวะเกษตรกับงานวิจัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารของประเทศ” เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๕ ระยะเวลาดําเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างทักษะ เทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยมีส่วนร่วม” ระหว่างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ถึงวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร วัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ นักวิจัย นักปรับปรุงพันธุ์พืช และสถาบันในด้านการใช้วิธีการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ชุมชนโดยมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชนโดยยึดระบบการเกษตรที่มีอยู่บนพื้นฐานของ ความหลากหลายทางด้านชีววิทยา ผู้เข้าร่วมรับการอบรมได้แก่ข้าราชการครูสาขาที่เกี่ยวข้องจากวิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยี ๑๗ แห่ง โดยมีวิทยากรจากมูลนิธิการศึกษาไทยเป็นผู้จัดการอบรม ทั้งนี้ได้อนุมัติ งบประมาณให้กับสถานศึกษาแห่งละ ๖๐,๐๐๐ บาท เพื่อดําเนินโครงการ การมอบหมายงานกับครูผู้เข้ารับการอบรม โดยมีข้อตกลงร่วมกัน ในทุกสถานศึกษาที่เข้าร่วม โครงการ จะต้องไปขับเคลื่อนให้เกิดกระบวบการจัดตั้ง เตรียมกลุ่มผู้เรียนและเกษตรกรเพื่อการขยายผลในแต่ ละสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมดังนี้ ๑) ประสานหาสมาชิกเพิ่มจากครูในสถานศึกษาเพื่อจัดตั้งคณะทํางานระดับสถานศึกษา ๒) คัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ สถานศึกษาละ ๓๐ คนต่อ ๓) คัดเลือกเกษตรกรในพื้นที่เพื่อเข้าร่วมโครงการ จํานวน ๔๐ คน ๔) จัดทําแปลงสาธิต ลดการใช้สารเคมีในพื้นที่ทําการเกษตร เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน อันส่งผลต่อการพัฒนาเกษตรได้อย่างยั่งยืน ๖. วัตถุประสงค์ ๖.๑) ขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ “ทักษะและเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลาย ทางชีวภาพโดยมีส่วนร่วม” สู้นักศึกษาเกษตรและเกษตรกรให้มีความสามารถที่จะพัฒนาให้เกิดความมั่นคง ด้านอาหารและพัฒนาระบบการดํารงชีวิตในด้านที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีววิทยา ๖.๒) ทําแปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย โดยการใช้ เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated Pest Management : IPM)ในการผลิตพืช เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
  • 2. ๗. เป้าหมาย ๗.๑ เชิงปริมาณ ๗.๑.๑ ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการมี ส่วนร่วมให้กับครูในสถานศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจในโครงการเพื่อให้ครูเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือทีมงาน ๗.๑.๒ ถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วมให้กับนักศึกษาจํานวน ๓๐ คน ๗.๑.๓ ถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วมให้กับเกษตรกรจํานวน ๔๐ คน ๗.๑.๔ พัฒนาและจัดทําแปลงสาธิตการเกษตรที่ใช้เทคโนโลยีบนความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัยโดยการใช้เทคโนโลยีการ บริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated pest Management : IPM) ในการผลิตพืชทําให้ เหมาะสมในการเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน จํานวน ๑ แปลง ที่ส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติทางการเกษตรบน ความหลากหลายทางชีวภาพ อันส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๗.๒ เชิงคุณภาพ ๗.๒.๑ ครู เจ้าหน้าที่ นักเรียน นักศึกษา และเกษตรกรได้รับการพัฒนาทักษะและเทคโนโลยี บนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม มีความรู้ความสามารถในการทําการเกษตรตามแนวทาง ของเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการลดการใช้สารเคมีและอนุรักษ์ความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตตลอดจนความหลากหลายของพันธุ์พืชในพื้นที่การเกษตรโดยการมีส่วนร่วม ๗.๒.๒ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัยมีแปลงสาธิตการเกษตรที่ใช้เทคโนโลยีเกษตร บนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย ด้วยการใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated pest Management : IPM)ใน การผลิตพืช ทําให้เหมาะสมในการเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ที่ส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติทางการเกษตรบน ความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๘. สนองนโยบายหรือยุทธศาสตร์ถาบันอาชีวศึกษา (สอศ.) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพมาตรฐาน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ขยายโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ ๖ พัฒนางานวิจัย นวัตกรรมเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ ๗ พัฒนาระบบความร่วมมือและบูรณาการทรัพยากร ๙. สรุปสาระสําคัญของโครงการ เป็นโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการให้ความรู้กับนักเรียน นักศึกษา เกษตรกร ผู้สนใจ ด้วยการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามหลักปฏิบัติเทคโนโลยีเกษตร บนความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย ด้วยการใช้เทคโนโลยีการ บริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ( IPM ) ในการผลิตพืช
  • 3. ๑๐. สถานะและความพร้อมของโครงการ บุคลากร นายพิบูลย์ ยะโสธร และคณะทํางาน สถานที่ แผนกวิชาพืชศาสตร์ งบประมาณ งบประมาณของสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สํานักคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ประจําปี ๒๕๕๖ เป็นเงิน ๖๐,๐๐๐. บาท ๑๑. แผนการดําเนินงาน การดําเนินงานประกอบด้วย ๔ กิจกรรมหลัก ดังนี้ กิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วน ร่วมให้กับนักศึกษา ๓๐ คน กิจกรรมที่ ๒ การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพสู่ชุมชน กลุ่มเกษตรกร ๔๐ คน กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพื้นที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี กิจกรรมที่ ๔ การเก็บรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เช่น ข้าว ไม้ผล หรือพืชสมุนไพร เพื่อให้ มีความหลากหลายทางสายพันธุ์พืช
  • 4. กิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วมให้กับ นักศึกษา จํานวน ๓๐ คน วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู้เกษตรกรได้ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย นักศึกษาที่ผ่านการพัฒนาองค์ความรู้สาขาทักษะเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้สู้เกษตรได้ จํานวน ๓๐ คน ขั้นตอนการดําเนินงาน ขั้นตอนการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนิน ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ๑. จัดตั้งคณะทํางาน เพื่อดําเนินโครงการ ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๒. รับสมัครนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๓. ฝึกอบรมนักศึกษาดังต่อไปนี้ ๑) การศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพในพื้นที่เกษตร และการประยุกต์ใช้ ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร ครูประเดิม บุตรเพลิง ครูอําไพ พูลประสาธน์พร ครูจงกล เชื้อบุญมี ครูชูชัย เทพวีระ ๒) สถาณการณ์การใช้สารป้องกันการ กําจัดศัตรูพืชและผลกระทบ ๓) การเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช เช่น ข้าว ไม้ผล หรือสมุนไพร ๔. คัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ครูอําไพ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๕. นํานักศึกษาถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพสู่ชุมชน ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูประเดิม บุตรเพลิง ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๖. สรุปผลการดําเนินงาน เสนอ ผู้บังคับบัญชาตามลําดับ ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๗. รายงานผลการดําเนินงานต่อสํานักวิจัย และพัฒนาการอาชีวศึกษา ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร
  • 5. กิจกรรมที่ ๒ การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพสู่ชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพสู่เกษตรกรในชุมชน จํานวน ๔๐ คน ตัวชี้วัดและเป้าหมาย เกษตรที่เข้าร่วมโครงการโครงการได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความ หลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วนร่วม ในระดับที่สามารถนําไปรับการใช้พัฒนาการประกอบอาชีพเกษตร ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ขั้นตอนการดําเนินงาน ขั้นตอนการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนิน ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ๑. เตรียมกลุ่มเกษตรกร ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูประเดิม บุตรเพลิงครู ๒. นํานักศึกษาสํารวจข้อมูลพื้นฐานของกลุ่ม เกษตรกร ตามรายการดังนี้ ๒.๑ วิธีการที่ใช้ในการป้องกันกําจัดศัตรูพืช ๒.๒ พฤติกรรมการใช้สารป้องกันกําจัดศัตรูพืช ๒.๓ ผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารป้องกัน กําจัดศัตรูพืช เช่น ต่อสุขภาพ ต่อเศรษฐกิจ ต่อ ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ๒.๔ ความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน ๒.๕ พันธุกรรมพืชในชุมชน ครูพิบูลย์ ยะโสธร ครูจงกล เชื้อบุญมี ครูอําไพ พูลประสาธน์พร ครูชูชัย เทพวีระ ๓. นักศึกษานําข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุป และ วางแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูอําไพ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๔. นักศึกษาพบกลุ่มเกษตรกรเพื่อถ่ายทอดองค์ ความรู้ในเรื่องดังนี้ ๔.๑ ผลกระทบของสารป้องกันกําจัดศัตรูพืช ๔.๒ ความหลากหลายทางชีวภาพในแปลง เกษตรกรและชุมชน และการใช้ประโยชน์จาก ความหลากหลายทางชีวภาพดังกล่าว ๔.๓ การเก็บรวบรวมพันธุ์เพื่อใช้เอง ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร ครูอําไพ พูลประสาธน์พร ๕. ครูนักศึกษา และชุมชน สร้างความตระหนัก ร่วมกันถึงผลกระทบของสารเคมีป้องกันกําจัด ศัตรูพืช ที่มีต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และ ความจําเป็นในการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ครูชูชัย เทพวีระ ครูประเดิม บุตรเพลิง ครูพิบูลย์ ยะโสธร
  • 6. ชีวภาพโดยการใช้ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความ หลากหลายทางชีวภาพด้วยการใช้ระบบบริหาร จัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ๖. สรุปผลการดําเนินงาน เสนอผู้บังคับบัญชา ตามลําดับ ครูครูอําไพ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๗. รายงานผลการดําเนินงานต่อสํานักวิจัยและ พัฒนาการอาชีวศึกษา ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ครูพิบูลย์ ยะโสธร กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในพื้นที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมีในการเกษตร เพื่อส่งเสริมให้วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่อง การใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานในการผลิตพืช ๒. เพื่อส่งเสริมให้วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัยเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัดและเป้าหมาย แปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีที่จัดทําขึ้นมีความครอบคลุมพืชเศรษฐกิจหลักของ ท้องถิ่นและมีการ บํารุงรักษาให้สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑ แปลงสาธิต ขั้นตอนการดําเนินงานการจัดทําแปลงสาธิต ขั้นตอนการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนิน ๒๕๕๖ ผู้รับผิดชอบ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ๑. เตรียมแปลง / ไถดะ/ไถแปร/ ไถกลบ ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ๒. ให้น้ํา ให้ปุ๋ยอินทรีย์ ดูแลรักษา ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๓. การกําจัดวัชพืช ครูประเดิม บุตรเพลิง ๔. ศึกษาการเจริญเติบโต ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๕. เก็บเกี่ยวผลผลิต/เก็บข้อมูล/สรุปผล ครูอมรศักดิ์ พูลประสาธน์พร ๖. สรุปผลการดําเนินงาน เสนอ ผู้บังคับบัญชาตามลําดับ ครูพิบูลย์ ยะโสธร ๗. รายงานผลการดําเนินงานต่อสํานักวิจัย และพัฒนาการอาชีวศึกษา ครูพิบูลย์ ยะโสธร
  • 7. ๑๒. งบประมาณในการดําเนินการ ลําดับ รายการ จํานวนหน่วย ราคา / หน่วย รวม 1 ดินดํา 4 คันรถ 1,000 4,000 2 ขี้วัว 200 กระสอบ 25 5,000 3 ปุ๋ยหมัก 140 กระสอบ 50 7,000 4 รําละเอียด 200 กิโลกรัม 15 3,000 5 แกลบดิบ 2 คันรถ 1,000 2,000 6 เมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวผิวดํา 50 กิโลกรัม 40 2,000 7 เมล็ดพันธุ์ฟักทอง 1 กระป๋อง 450 450 8 ต้นพันธุ์ไพล 100 ถุง 10 1,000 9 ต้นพันธุ์ขมิ้น 100 ถุง 10 1,000 10 ต้นพันธุ์ข่า 50 ถุง 10 500 11 กระดาษเอ 4 5 รีม 110 550 12 เอกสารประกอบการฝึกอบรม 100 ชุด 50 5,000 13 ปากกาเคมี 20 ด้าม 20 400 14 กระดาษปรู๊ฟ 50 แผ่น 10 500 15 สวิงจับแมลง 10 ชุด 250 2,500 16 ถุงพลาสติกขนาด 1 x 1 ½ ฟุต 2 กิโลกรัม 50 100 17 ค่าจ้างเหมาทําอาหารและอาหารว่าง 100 คน 250 25,000 รวม 60,000 ๑๓. ความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนการสอนรายวิชา การผลิตพืชสมุนไพร สารชีวภาพเพื่อการเกษตร และ โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๑๔. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๔.๑ ขยายผลและถ่ายทอดองค์ความรู้ “ทักษะและเทคโนโลยีการเกษตรบนความหลากหลาย ทางชีวภาพโดยมีส่วนร่วม” สู่นักศึกษาเกษตรจํานวน ๓๐ คน และเกษตรกร ๔๐ คน มีความสามารถที่จะ พัฒนาให้เกิดความมั่นคงด้านอาหารและพัฒนาระบบการดํารงชีวิตในด้านที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทาง ชีววิทยา ๑๔.๒ ได้แปลงสาธิตการลดการใช้สารเคมีในการผลิตพืชในพื้นที่ทําการเกษตรของวิทยาลัย โดยการ ใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ( Integrated Pest Management : IPM ) ในการ ผลิตพืช เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
  • 8. ๑๕. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ๑๕.๑ เชิงปริมาณ ได้ผลตามที่กําหนดไว้ในจุดประสงค์ของโครงการ ๑๕.๒ เชิงคุณภาพ ได้ผลตามที่กําหนดไว้ในจุดประสงค์ของโครงการ ๑๖. การติดตามและประเมินผล ๑๖.๑ จากการนิเทศภายในวิทยาลัย ๑๖.๒ จากสรุปและรายงานผล หลังเสร็จสิ้นการดําเนินโครงการ ลงชื่อ ................................................ผู้เสนอโครงการ ( นายพิบูลย์ ยะโสธร ) ครู คศ. 2 ลงชื่อ...........................................................หัวหน้าแผนกวิชาพืชศาสตร์ ( นางอําไพ พูลประสาธน์พร ) ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ( นายเมธี ภุมมาพันธุ์ ) รองผู้อํานวยการสถานศึกษา ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ( นายไชยา ประพันธ์ศิริ ) รองผู้อํานวยการสถานศึกษา ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายบริหารทรัพยากร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ( นายธนะศักดิ์ บุญชินะ ) รองผู้อํานวยการสถานศึกษา
  • 9. ความเห็นรองผู้อํานวยการ ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ( นายเด่น ณ พิโรจน์ ) รองผู้อํานวยการสถานศึกษา ความเห็นของผู้อํานวยการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ( นายประดิษฐ์พร จิระปัญญาเลิศ ) ผู้อํานวยการสถานศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย
  • 10. รายระเอียดค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม “พัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยการมีส่วนร่วม” ขยายผลสู่นักศึกษาเกษตรและเกษตรกร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ประจําปีงบประมาณ ๒๕๕๖ รายการงบประมาณ จํานวนเงิน กิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทางชีวภาพโดยการมีส่วน ร่วมให้กับ นักศึกษา จํานวน ๓๐ คน กิจกรรมย่อย ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม จํานวน ๒ วัน - ค่าวัสดุฝึกอบรม ๑. สวิงจับแมลง จํานวน ๑๐ ชุด x ชุดละ ๑๕๐ บาท ๒. ถุงพลาสติกขนาด 4x5 นิ้ว ๒ กิโลกรัม x ๕๐ บาท ๓. เอกสารการฝึกอบรม จํานวน ๗๐ ชุด x ชุดละ ๔๐ บาท ๔. กระดาษปรู๊ฟ จํานวน ๓๐ แผ่น x แผ่นละ ๒๐ บาท ๕. ปากกาเคมี จํานวน ๒๐ แท่ง x แท่งละ ๒๐ บาท ๗. กระดาษกาว จํานวน ๕ ม้วน x ม้วนละ ๓๐ บาท ๘. ซองพลาสติกใส จํานวน ๘๐ ซอง x ซองละ ๑๐ บาท ๙. สมุดปกอ่อน จํานวน ๖ โหล x โหลละ ๑๐๐ บาท ๑๐. ปากกาลูกลื่น จํานวน ๖ โหล x หลอดละ ๑๐๐ บาท ๑๑. ค่าอาหารว่าง ๓๐ บาท/มื้อ x ๒ มื้อ/วัน x ๒ วัน x ๓๐ คน ๑๐. ค่าวิทยากรเหมาจ่าย ๕๐๐ บาท/วัน x ๑ วัน x ๖ คน รวมค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมกิจกรรมที่ ๑ ๒,๕๐๐ บาท ๑๐๐ บาท ๒,๘๐๐ บาท ๖๐๐ บาท ๔๐๐ บาท ๑๕๐ บาท ๘๐๐ บาท ๖๐๐ บาท ๔๕๐ บาท ๓,๖๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท ๑๕,๐๐๐ บาท รายการงบประมาณ จํานวนเงิน กิจกรรมที่ ๒ การถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะเทคโนโลยีเกษตรบนความหลากหลายทาง ชีวภาพสู่ชุมชน โดยผ่านนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย โดยมีเกษตรกรได้รับ การถ่ายทอด จํานวน ๔๐ คน กิจกรรมย่อย ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม จํานวน ๒ วัน - ค่าวัสดุฝึกอบรม ๑. กระดาษ A4 จํานวน ๑ กล่อง x กล่องละ ๕๕๐ บาท ๒. จอบพร้อมด้าม จํานวน ๕ ชุด x ชุดละ ๓๐๐ บาท ๓. เอกสารการฝึกอบรม จํานวน ๕๐ ชุด x ชุดละ ๕๐ บาท ๕. ค่าอาหารว่าง ๓๐ บาท/มื้อ x ๒ มื้อ/วัน x ๒ วัน x ๔๐ คน ๕๕๐บาท ๑,๕๐๐ บาท ๒,๕๐๐ บาท ๔,๘๐๐ บาท
  • 11. ๖. ค่าอาหารกลางวัน ๑๐๐ บาท/ x ๑ มื้อ/วัน x ๒ วัน x ๔๐ คน ๗. ค่าพาหนะเหมาจ่าย ๑๐๐ บาท /คัน x ๒ วัน x ๔๐ คน ๘. ค่าวิทยาการ เหมาจ่าย ๘๐๐ บาท/ วัน x ๒ วัน x ๖ คน รวมค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมกิจกรรมที่ ๒ ๘,๐๐๐ บาท ๘,๐๐๐ บาท ๙,๖๐๐ บาท ๓๕,๐๐๐ บาท รายการงบประมาณ จํานวนเงิน กิจกรรมที่ ๓ การจัดทําแปลงสาธิตลดการใช้สารเคมี ในพื้นที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ค่าใช้จ่ายในการ ทําแปลงสาธิต ระยะเวลาดําเนินการ-สรุป 3 เดือน จัดทําแปลงสาธิต/เตรียมแปลง/วางแผนการปลูก/ปลูกแบบหว่านเมล็ด/เก็บรวบรวมข้อมูล ผลผลิตของถั่วเขียวผิวดํา จํานวน ๒ ไร่ วิเคราะห์ข้อมูล/สรุปผลการดําเนินงาน/รายงานผลการ การดําเนินงาน - ค่าวัสดุจัดทําแปลงสาธิต/เตรียมแปลง ๒ ไร่ ๑. ป้ายโครงการ ขนาด ๑.๕ x ๒.๕ เมตร จํานวน ๒ ป้าย ๒. ค่าจ้างเตรียมแปลง (ไถดะ,ไถแปร,ไถกลบ) จํานวน ๒ ไร่ x ไร่ละ ๑,๐๐๐ บาท ๓. ค่าจ้างถอนวัชพืชในแปลงสาธิต ๒ วัน x ๒ คน ๆ ละ ๓๐๐ บาท ๔. ค่าเมล็ดพันธุ์ จํานวน ๒๐ ก.ก. x ๕๐ บาท ๕. ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ ๒๐ กระสอบ x กระสอบละ ๕๐ บาท ๖. ค่าเก็บเกี่ยว ค่าขนส่ง ค่านวด รวมค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมกิจกรรมที่ ๓ ๑,๕๐๐ บาท ๒,๐๐๐ บาท ๑,๒๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท ๓,๓๐๐ บาท ๑๐,๐๐๐บาท รวมทั้งสิ้น ๖๐,๐๐๐บาท ( นายพิบูลย์ ยะโสธร ) ตําแหน่ง ครู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย ผู้ดําเนินโครงการ