SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
คอมพิวเตอร์
เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์
(electronic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการ
กับข้อมูลต่างๆที่อาจเป็นได้ โดยคุณสมบัติสาคัญของ
คอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือ
โปรแกรมได้ (programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานได้หลากหลายรูปแบบ ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไป
ประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เครื่องคอมพิวเตอร์จะมี
วงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle)
ขั้นตอนการทางานที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ 4 ขั้นตอน
1. การรับข้อมูลและคาสั่ง การทางาน คอมพิวเตอร์รับ
ข้อมูลและคาสั่งผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล
ตัวอย่างอุปกรณ์ Mouse, Keyboard, Scanner, Microphone
2. การประมวลผลหรือคิดคานวณ การทางาน ข้อมูลที่
คอมพิวเตอร์รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการทางานของ
หน่วยประมวลผลกลาง ตามคาสั่งของโปรแกรม หรือ
ซอฟต์แวร์
ตัวอย่างอุปกรณ์ CPU
3. การแสดงผลลัพธ์ การทางาน คอมพิวเตอร์จะแสดง
ผลลัพธ์ของข้อมูลที่ป้ อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล
ทางอุปกรณ์แสดงผล
ตัวอย่างอุปกรณ์ Monitor, Printer, Speaker
4. การเก็บข้อมูล การทางาน ผลลัพธ์จากการประมวลผล
สามารถเก็บไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล
ตัวอย่างอุปกรณ์ hard disk, floppy disk, CD-ROM
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้
• การทางานเอกสารที่ซ้าๆ ได้อย่างรวดเร็ว
• การคานวณตัวเลข ถูกต้อง แม่นยา
• สามารถเก็บข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ได้โดยง่าย
• การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฐานข้อมูล แล้วสืบค้นได้
• การติดต่อสื่อสาร เพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อบันเทิง
คอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคานวณ โดย
เมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ได้นาแนวความคิดนั้นมา
ประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่ง
เรียกว่าENIAC (Electronic Numericial Integrator and Calculator) ซึ่ง
ต่อมาได้ทาการปรับปรุงการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี
ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal
Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจสามะโนประชากร
ประจาปี
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
มีการนาทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทาให้
เครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ
ทางานให้มีความรวดเร็วและแม่นยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุค
นี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์
ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม
(Integrated-Circuit) หรือ"ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีสามมารถทาให้ระบบวาง
บนลงชิบ (chip)เล็กๆแผ่นเดียวได้ จึงมีการนาเอาแผ่นชิปมาใช้แทน
ทรานซิสเตอร์ทาให้ประหยัดเนื้อที่ได้มากนอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งาน
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management Sy) และมีการพัฒนา
เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลา
เดียวกัน และมีระบบที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน
พร้อมๆ กัน (Time Sharing) stems : DBMS
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
เป็นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very
Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ
วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์
(Microprocessor) ขึ้น ทาให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมี
ความสามารถในการทางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทาให้มี
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกาเนิดขึ้น
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5
ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งาน
เครื่องคอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาสร้างคอมพิวเตอร์แบบ
พกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุค
นี้โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมี
ความสามารถสูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็นหัวใจของการ
พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดยหวังให้ระบบ
คอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
องค์ประกอบของระบบปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย
4 หัวข้อ ได้แก่
1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือ
หุ่นจาลองร่างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทางานด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์เพื่อให้ทางานแทนมนุษย์ในงานที่
ต้องการความเร็ว หรือเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงาน
อุตสาหกรรม หรือหุ่นยนต์กู้ระเบิด เป็นต้น
2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System)
คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถสังเคราะห์เสียงที่มีอยู่ใน
ธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่องคิด
3. การรู้จาเสียงพูด (Speech Recognition System)
คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์ และสามารถ
จดจาคาพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็นการพัฒนาให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ด้วยภาษาพูด เช่น งานระบบรักษาความ
ปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผู้พิการ เป็นต้น
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)คือ การพัฒนาให้ระบบ
คอมพิวเตอร์มีความรู้ ใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้
ที่มี หรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปัญหาอื่น
อย่างมีเหตุผล ระบบนี้จาเป็นต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่ง
มนุษย์ผู้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้กาหนดองค์ความรู้ไว้ใน
ฐานข้อมูลดังกล่าว
สมาชิก
นาย ภัทรเทพ วรเวช ม.5/2 เลขที่ 8
นาย ไตรนท สาเร็จ ม.5/2 เลขที่ 10
นาย ภัทรกานต์ กลิ่นกุหลาบ ม.5/2 เลขที่ 11
นาย ณัฐกิตติ์ ศิริชล ม.5/2 เลขที่ 21
นาย ภูวเดช โพธิกุล ม.5/2 เลขที่ 22

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น Nuttanun Wisetsumon
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Bk Tham
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointBk Tham
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Chaiwattana Tongpramoon
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างsrilakorn
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์Por Oraya
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...ฐนกร คำเรือง
 

What's hot (16)

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
 

Viewers also liked

Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16
Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16
Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16Biblioteca Escolar Marinhas do Sal
 
Evolucion Antecedentes
Evolucion AntecedentesEvolucion Antecedentes
Evolucion Antecedentesgueste1858b
 
Zeltnera venusta
Zeltnera venustaZeltnera venusta
Zeltnera venustacvadheim
 
Betere dienstverlening door de inzet van it?
Betere dienstverlening door de inzet van it?Betere dienstverlening door de inzet van it?
Betere dienstverlening door de inzet van it?Intercommunale Leiedal
 
Gardening sheet salix lasiolepis
Gardening sheet   salix lasiolepisGardening sheet   salix lasiolepis
Gardening sheet salix lasiolepiscvadheim
 
A D V 410 Quiz 2
A D V 410  Quiz 2A D V 410  Quiz 2
A D V 410 Quiz 2guest82dfc2
 
Tellima grandiflora
Tellima grandifloraTellima grandiflora
Tellima grandifloracvadheim
 
стратегический менеджмент. лекция 1
стратегический менеджмент. лекция 1стратегический менеджмент. лекция 1
стратегический менеджмент. лекция 1Татьяна Дедова
 
Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación
Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación  Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación
Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación carol fernandez
 
Planets Vvodnaza2
Planets Vvodnaza2Planets Vvodnaza2
Planets Vvodnaza2guest173f64
 
Aportes de los Filósofos a la Comunicación
Aportes de los Filósofos a la ComunicaciónAportes de los Filósofos a la Comunicación
Aportes de los Filósofos a la ComunicaciónMaría Gabriela Peña
 

Viewers also liked (20)

ZT 1
ZT 1ZT 1
ZT 1
 
1º lugar 9º - Juliana Reis
1º lugar 9º - Juliana Reis1º lugar 9º - Juliana Reis
1º lugar 9º - Juliana Reis
 
Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16
Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16
Indicadores de funcionamento da BE da EB marinhas do Sal 2015/16
 
Evolucion Antecedentes
Evolucion AntecedentesEvolucion Antecedentes
Evolucion Antecedentes
 
Zeltnera venusta
Zeltnera venustaZeltnera venusta
Zeltnera venusta
 
Betere dienstverlening door de inzet van it?
Betere dienstverlening door de inzet van it?Betere dienstverlening door de inzet van it?
Betere dienstverlening door de inzet van it?
 
Стратегия регионального развития
Стратегия регионального развития Стратегия регионального развития
Стратегия регионального развития
 
Gardening sheet salix lasiolepis
Gardening sheet   salix lasiolepisGardening sheet   salix lasiolepis
Gardening sheet salix lasiolepis
 
ZT 2
ZT 2ZT 2
ZT 2
 
A D V 410 Quiz 2
A D V 410  Quiz 2A D V 410  Quiz 2
A D V 410 Quiz 2
 
1º lugar 8º - Rute Ricarte
1º lugar 8º - Rute Ricarte1º lugar 8º - Rute Ricarte
1º lugar 8º - Rute Ricarte
 
Tellima grandiflora
Tellima grandifloraTellima grandiflora
Tellima grandiflora
 
стратегический менеджмент. лекция 1
стратегический менеджмент. лекция 1стратегический менеджмент. лекция 1
стратегический менеджмент. лекция 1
 
1º lugar 7º ano - Luisa Frazão
1º lugar 7º ano  - Luisa Frazão1º lugar 7º ano  - Luisa Frazão
1º lugar 7º ano - Luisa Frazão
 
BCG DI MALAYSIA
BCG DI MALAYSIABCG DI MALAYSIA
BCG DI MALAYSIA
 
InvestHK: Sharing Investment Promotion Best Practice
InvestHK: Sharing Investment Promotion Best PracticeInvestHK: Sharing Investment Promotion Best Practice
InvestHK: Sharing Investment Promotion Best Practice
 
Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación
Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación  Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación
Aportes de 3 filósofos de suma importancia para la comunicación
 
Planets Vvodnaza2
Planets Vvodnaza2Planets Vvodnaza2
Planets Vvodnaza2
 
Aportes de los Filósofos a la Comunicación
Aportes de los Filósofos a la ComunicaciónAportes de los Filósofos a la Comunicación
Aportes de los Filósofos a la Comunicación
 
Antonio Guzman Blanco
Antonio Guzman BlancoAntonio Guzman Blanco
Antonio Guzman Blanco
 

Similar to งาคอมแบบเร่งรีบ

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นnutty_npk
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นnutty_npk
 
งานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้นงานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้นnutty_npk
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์Manaf Joraka
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Junior Nattamon
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมฐนกร คำเรือง
 

Similar to งาคอมแบบเร่งรีบ (20)

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
งานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้นงานคอมพรีเซ้น
งานคอมพรีเซ้น
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอม
 

More from Phai Trinod

งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้Phai Trinod
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้Phai Trinod
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31Phai Trinod
 
โครงงาน WCM
โครงงาน WCMโครงงาน WCM
โครงงาน WCMPhai Trinod
 
เว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษาเว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษาPhai Trinod
 
เว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษาเว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษาPhai Trinod
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4Phai Trinod
 
Avangers ( age of ultron )
Avangers ( age of ultron )Avangers ( age of ultron )
Avangers ( age of ultron )Phai Trinod
 

More from Phai Trinod (11)

งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
 
โครงงาน WCM
โครงงาน WCMโครงงาน WCM
โครงงาน WCM
 
เว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษาเว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษา
 
เว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษาเว็บไซต์ทางการศึกษา
เว็บไซต์ทางการศึกษา
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Avangers ( age of ultron )
Avangers ( age of ultron )Avangers ( age of ultron )
Avangers ( age of ultron )
 
Ultron
UltronUltron
Ultron
 
ultron
ultronultron
ultron
 

งาคอมแบบเร่งรีบ

  • 2. คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการ กับข้อมูลต่างๆที่อาจเป็นได้ โดยคุณสมบัติสาคัญของ คอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือ โปรแกรมได้ (programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถ ทางานได้หลากหลายรูปแบบ ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไป ประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เครื่องคอมพิวเตอร์จะมี วงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle)
  • 3. ขั้นตอนการทางานที่สาคัญของคอมพิวเตอร์ 4 ขั้นตอน 1. การรับข้อมูลและคาสั่ง การทางาน คอมพิวเตอร์รับ ข้อมูลและคาสั่งผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล ตัวอย่างอุปกรณ์ Mouse, Keyboard, Scanner, Microphone 2. การประมวลผลหรือคิดคานวณ การทางาน ข้อมูลที่ คอมพิวเตอร์รับเข้ามา จะถูกประมวลผลโดยการทางานของ หน่วยประมวลผลกลาง ตามคาสั่งของโปรแกรม หรือ ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างอุปกรณ์ CPU
  • 4. 3. การแสดงผลลัพธ์ การทางาน คอมพิวเตอร์จะแสดง ผลลัพธ์ของข้อมูลที่ป้ อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล ทางอุปกรณ์แสดงผล ตัวอย่างอุปกรณ์ Monitor, Printer, Speaker 4. การเก็บข้อมูล การทางาน ผลลัพธ์จากการประมวลผล สามารถเก็บไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล ตัวอย่างอุปกรณ์ hard disk, floppy disk, CD-ROM
  • 5. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้ • การทางานเอกสารที่ซ้าๆ ได้อย่างรวดเร็ว • การคานวณตัวเลข ถูกต้อง แม่นยา • สามารถเก็บข้อมูล ปรับปรุงแก้ไข ได้โดยง่าย • การจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฐานข้อมูล แล้วสืบค้นได้ • การติดต่อสื่อสาร เพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อบันเทิง
  • 7. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคานวณ โดย เมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ได้นาแนวความคิดนั้นมา ประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่ง เรียกว่าENIAC (Electronic Numericial Integrator and Calculator) ซึ่ง ต่อมาได้ทาการปรับปรุงการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจสามะโนประชากร ประจาปี
  • 8. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 มีการนาทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทาให้ เครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ ทางานให้มีความรวดเร็วและแม่นยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุค นี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 9. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือ"ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีสามมารถทาให้ระบบวาง บนลงชิบ (chip)เล็กๆแผ่นเดียวได้ จึงมีการนาเอาแผ่นชิปมาใช้แทน ทรานซิสเตอร์ทาให้ประหยัดเนื้อที่ได้มากนอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งาน ระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management Sy) และมีการพัฒนา เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลา เดียวกัน และมีระบบที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (Time Sharing) stems : DBMS
  • 10. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 เป็นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทาให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมี ความสามารถในการทางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทาให้มี คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกาเนิดขึ้น ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
  • 11. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาสร้างคอมพิวเตอร์แบบ พกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุค นี้โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมี ความสามารถสูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็นหัวใจของการ พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดยหวังให้ระบบ คอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
  • 12. องค์ประกอบของระบบปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือ หุ่นจาลองร่างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทางานด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์เพื่อให้ทางานแทนมนุษย์ในงานที่ ต้องการความเร็ว หรือเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงาน อุตสาหกรรม หรือหุ่นยนต์กู้ระเบิด เป็นต้น
  • 13. 2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถสังเคราะห์เสียงที่มีอยู่ใน ธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่องคิด 3. การรู้จาเสียงพูด (Speech Recognition System) คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์ และสามารถ จดจาคาพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็นการพัฒนาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ด้วยภาษาพูด เช่น งานระบบรักษาความ ปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผู้พิการ เป็นต้น
  • 14. 4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)คือ การพัฒนาให้ระบบ คอมพิวเตอร์มีความรู้ ใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้ ที่มี หรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปัญหาอื่น อย่างมีเหตุผล ระบบนี้จาเป็นต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่ง มนุษย์ผู้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้กาหนดองค์ความรู้ไว้ใน ฐานข้อมูลดังกล่าว
  • 15. สมาชิก นาย ภัทรเทพ วรเวช ม.5/2 เลขที่ 8 นาย ไตรนท สาเร็จ ม.5/2 เลขที่ 10 นาย ภัทรกานต์ กลิ่นกุหลาบ ม.5/2 เลขที่ 11 นาย ณัฐกิตติ์ ศิริชล ม.5/2 เลขที่ 21 นาย ภูวเดช โพธิกุล ม.5/2 เลขที่ 22