SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บ้านถวาย หมู่บ้านไม้แกะสลัก
                                                             อดีตที่ผ่านมา 40 กว่าปี บ้านถวายได้สืบสานงานไม้ จากรุ่ นสู่
                                               รุ่ น จากการก่อกาเนิดขึ้น ของปูชนียบุคคล 3 ท่าน คือพ่อหนาน
                                               แดง พันธุสา , พ่อใจ๋ มา อิ่นแก้ว และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ที่ได้เดินทาง
                                               ไปทางานและเรี ยนแกะสลักไม้ที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลาย ประตูเชียงใหม่
                                               อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2500-2505 และได้นามาแพร่ หลาย
                                               ในหมู่บานถวาย จนกลายเป็ นหมู่บานหัตถกรรม ไม้แกะสลักที่มีฝีมือ และ
                                                          ้                          ้
                                               มีชื่อเสี ยง เป็ นที่รู้จกของชาวไทยและชาวต่างประเทศ
                                                                        ั

ประวัติหมู่บ้าน บ้านถวาย เป็ นหมู่บานเก่าแก่ ตั้งมาประมาณ 100 กว่าปี สาเหตุที่ชื่อบ้านถวาย ตามคาบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผู ้
                                   ้
แก่ เล่าว่าบ้านถวาย ดั้งเดิมเป็ นจุดถวายของให้พระนางเจ้าจามเทวีทเี่ สด็จผ่าน จากนครลาพูน ซึ่ งเดินทางโดยทางเกวียนผ่าน
มาทางบ้านถวาย ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวการจะเสด็จผ่านของพระนางฯ จึงพากันเตรี ยมข้าวของ หรื อบางครอบครัวก็จะ
ช่วยกันรี บตีเครื่ องเงินเตรี ยมไว้ถวาย

       บ้านถวายเป็ นหมู่บานหนึ่ง ในตาบลขุนคง อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางห่างจากตัวเมือง
                         ้
เชียงใหม่ ประมาณ 18 กิโลเมตร แต่เดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านการเกษตร แต่เมื่อประสบกับภาวะขาดแคลน
น้ าในฤดูแล้งทาให้ผลผลิตตกต่า ส่ งผลให้ชาวบ้านมีรายได้นอย ดังนั้นหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้านส่ วนใหญ่จะเดินทางไป
                                                         ้
รับจ้างทางานในตัว เมืองเชียงใหม่ เช่น รับจ้าง ก่อสร้าง และอื่น ๆ แต่มีบางส่ วนออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพอยูใน
                                                                                                             ่
ท้องถิ่นของตัวเอง

        จนกระทัง ปี พ.ศ. 2500- 2505 พ่อใจ๋ มา อิ่นแก้ว พ่อหนานแดง พันธุสา และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ทั้งสามท่านได้ไป
                  ่
รับจ้างอยูในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่นเดียวกับชาวบ้านทัวไป จนท่านได้ไปที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลายซึ่ งเป็ นร้านจาหน่ายไม้
           ่                                          ่
แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้น ทั้งสามท่านเกิดความสนใจในการรับจ้างแกะสลักไม้ จึงได้ขอทางร้านทดลองแกะดู ปรากฏว่า
ฝี มือพอทาได้ ทางร้านจึงให้เริ่ มทางานรับจ้างที่ร้านน้อมศิลป์ ตั้งแต่น้ นมา การทางานแกะสลักไม้ของทั้งสามท่านปรากฏว่า
                                                                        ั
มีรายได้ดีกว่าการรับจ้างก่อสร้าง และทุกวันฝี มือการแกะสลักก็พฒนาขึ้นเรื่ อย ๆ ท่านจึงเปลี่ยนอาชีพจากการับจ้างทัวไปมา
                                                                   ั                                               ่
เป็ นการรับจ้างแกะสลักไม้ที่ร้าน ดังกล่าว จนเมื่อเกิดความชานาญ และเมื่อมีงานมากขึ้นทั้งสามท่านจึงได้ขอนามาทาที่
บ้าน และถือเป็ นจุดเริ่ มต้นของการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลาน ญาติพี่นอง เพื่อนบ้านโดยไม่รู้ตวและไม่หวง
                                                                                    ้                     ั
ความรู ้แม้แต่นอย งานที่นามาถ่ายทอดครั้งแรก เป็ นการแกะสลักไม้แผ่นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ลายครุ ฑ ตุ๊กตา
                ้
ดนตรี ต่อมาเริ่ มทาเป็ น ตัวพระ และรับซ่ อมตกแต่งของเก่าประเภทงานไม้ และเริ่ มเลียนแบบของเก่าที่มีผูนามาซ่ อม พร้อม
                                                                                                      ้
ทั้งออกแบบงานที่เป็ นเอกลักษณ์ของบ้านถวายเอง จากนั้นได้มีกลุ่มสตรี แม่บานของบ้านถวายเองซึ่ งออกไปรับจ้างทางานสี
                                                                              ้
งานแอนติค และตกแต่งลวดลายเส้นที่ร้านในเมืองเชียงใหม่ ย่านวัวลาย และได้พฒนาฝี มือ ทาลวดลาย ปิ ดทอง จนเกิดความ
                                                                                 ั
ชานาญเช่นเดียวกัน เมื่อมีงานเพิ่มขึ้นทางร้านให้นามาทาที่บานโดยคิดค่าจ้างทาเป็ นชิ้น เมื่องานเสร็ จก็นาไปส่ งที่ร้าน ก็
                                                           ้
นับว่าเป็ นโอกาสดีที่จะได้นามาถ่ายทอดในหมู่บาน และโอกาสในการพบปะกับลูกค้าของทางร้าน ซึ่ งลูกค้าก็ได้ติดต่อ
                                                 ้
โดยตรงและเข้ามาซื้ อสิ นค้าถึงในหมู่บานจึงทาให้บาน ถวายเริ่ มกลายเป็ นแหล่งซื้ อหาไม้แกะสลักและเกิดธุรกิจขึ้นใน
                                       ้            ้
หมู่บาน ตั้งแต่น้ นมาแต่ละบ้านเริ่ มจะปรับบริ เวณบ้านของตนเอง โดยใช้บริ เวณหน้าบ้านเป็ นร้านค้า ส่ วนหลังบ้านก็
      ้             ั
ทางานหัตถกรรมแกะสลักไม้ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ ในครอบครัวตั้งแต่น้ นมา           ั
งานแกะสลักไม้




ถือว่าเป็ นเอกลักษณ์ของบ้านถวาย และของจังหวัดเชียงใหม่

เครื่องมือที่ใช้ ในการแกะสลัก
1. สิ่ ว เป็ นเหล็กยาวทาจากเหล็กกล้า มีดามถือทาด้วยไม้
                                                ้
ส่ วนมากทาจากไม้ตะโก ปลายมีดคม ซึ่ งจะมีลกษณะ      ั
รู ปร่ าง ขนาดที่แตกต่างกันไป เช่น สิ่ วโค้ง สิ่ วแบน สิ่วฮาย
สิ่ วเล็บมือ สิ่ วขุด สิ่ วฉาก และสิ่ วขมวด
2. มีด เป็ นอุปกรณ์ชิ้นแรกที่จะต้องใช้กบงานแกะสลัก
                                              ั
ไม้ เช่น ใช้ถาก ใช้เหลา
3. หินลับ เป็ นเครื่ องมือแกะสลักที่ใช้ลบคมห้วยหินที่มี
                                            ั
ผิดขรุ ขระเพื่อให้เกิดความคม
4. ค้อน หรื อ ตะลุมพลุก ทาจากไม้เนื้อ
แข็ง เช่น ไม้แดง ไม้ชิงชัน ค้อนไม้ที่ใช้จะมีน้ าหนักเบา ไม่กินแรงเวลาทุบ ควบคุมน้ าหนักของการทุบได้ และรักษา
สภาพของสิ่ งให้มีอายุการใช้งานที่นานขึ้น
5. เหล็กตอกลาย ใช้สาหรับตอกลายผิวไม้ให้เป็ นลวดลายตามต้องการ ในการสร้างงานให้สวยงามหรื อใช้ตอกส่ วนที่เป็ น
พื้นภาพ

ไม้ แกะสลักรูป วัสดุคอ ไม้ ราคา 4000 บาท
                     ื
         ประโยชน์ที่ใช้ในงานภูมิทศน์
                                 ั
    -    ใช้ตกแต่งประดับสวนให้สวยงาม
    -    ใช้วางประดับตกแต่งบริ เวณหน้าบ้าน หรื อหน้าร้าน เพื่อเป็ นการต้อนรับ
-    สร้างเอกลักษณ์ความเป็ นไทย
    -    สามารถใช้ได้ท้ ง กลางแจ้งและในร่ ม
                        ั


บ้านเมืองกุง
                                                   ตะเกียง ออกแบบเป็ น รู ปปั้น เด็ก วัสดุเป็ นปูนปั้น ตกแต่งเก็บ
                                                 รายละเอียด และทาสีให้สวยงาม

                                                 ราคา 200 บาท

                                                 ประโยชน์ใช้ในงานภูมิทศน์
                                                                      ั
                                                      -    ใช้ตกแต่งประดับสวน
                                                      -    ให้แสงสว่างในเวลากลางคืน
                                                      -    สามารถสร้างสุนทรี ยภาพได้ดี
                                                      -    ใช้ประดับได้ท้ ง กลางแจ้ง และในร่ ม
                                                                          ั

                                                 เครื่องมือ สาหรับงานปั้นปูน ของช่างปั้นแต่ละคน เมื่อสมัยก่อนก็ดี
                                                 หรื อ สาหรับช่างปั้นปูนปัจจุบนก็ดี มีเครื่ องมือไม่มากชิ้น ทั้งนี้เป็ น
                                                                              ั
                                                 ด้วยช่างปั้นปูน พอใจจะใช้ฝีมือของตัวเองมากกว่า จะใช้เครื่ องมือช่วย
                                                 ในการปั้นก็เฉพาะที่จาเป็ น หรื อ ในส่ วนที่ใช้นิ้วมือปั้นทาส่ วนย่อยๆ
ในงานปั้นนั้นไม่ถนัด

เครื่ องมือ สาหรับงานปั้น ของช่างปั้นปูนมักทาขึ้นด้วยไม้ไผ่ โดยช่างปั้นปูนแต่ละคนจะทาขึ้นใช้เอง ตามความเหมาะสมแก่
งาน และ ถนัดมือช่างเอง ที่พอยกขึ้นเป็ นตัวอย่าง และอธิบายให้ทราบ มีดงต่อไปนี้
                                                                        ั

    1. เกรี ยง เกรี ยงสาหรับงานปั้นปูน มีหลายขนาด ใช้สาหรับตัก ป้ าย ปาด แตะ แต่งปูนเพื่อขึ้นรู ปประเภทต่างๆ หรื อ
       ขูดแต่งผิวปูน
    2. ไม้กวด ทาด้วยไผ่เหลาเป็ นชินแบนๆ ใช้สาหรับปาดปูน แต่ง และ กวดผิวปูนให้เรี ยบเกลี้ยง
                                     ้
    3. ไม้เนียน ทาด้วยไม้ไผ่เหลาเป็ นชิ้นแบนอย่างท้องปลิง ปลายข้างหนึ่ งปาดเฉี ยง ใช้สาหรับปั้นแต่งส่ วนย่อยๆ ใน
       งานปั้นปูน เช่นขีดทาเป็ นเส้น ทารอยบากขอบลวดลาย
    4. ไม้เล็บมือ ทาด้วยไม้ไผ่ก่งเล็กๆ ช่างปั้นบางคนเรี ยกว่า ไม้แวว ใช้สาหรับกด ทาเป็ นวงกลมล้อมลายตาไก่บาง ลาย
                                 ิ                                                                            ้
       มุกบ้าง ไม้เล็บมือนี้ อาจทาขึ้นไว้หลายอัน และต่างขนาดกันเพื่อให้เหมาะสมแก่งานที่จะปั้น
    5. ขวาน ทาด้วยเหล็กใส่ ดามไม้ ใช้สาหรับ ฟัน หรื อ เฉาะพื้นปูนให้เป็ นรอยถี่ๆ เพื่อช่วยให้ปูนที่จะปั้นทับลงบนฝา
                               ้
       หรื อ พื้นปูนเกาะ หรื อ จับติดแน่น
    6. ตะลุมพุก ทาด้วยไม้รูปทรงกระบอกสั้นๆ ต่อด้ามไม้ยาวขนาดจับถนัด ใช้สาหรับตอก “ทอย” ลงบนพื้นปูน หรื อ
       พื้นไม้
พิพธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก
                                                ิ
                                              ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่ งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจน
                                             ลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝี มือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบ
                                             ล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา

                                             เมื่อปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่ง
                                             หนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อ
                                                                                                ่
                                             บ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย
                                                                                       ้

                                             บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมี
                                             การแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะซ้ ากัน มาเป็ นการแกะสลักช้างที่ดูมี
                                             ชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่ งนับเป็ นแห่งแรกที่มีการ
แกะสลักช้าง รู ปแบบนี้

บ้านจ๊างนักยังเป็ นแห่งแรกที่มีการทดลองนาวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นบวันมีแต่จะหายากมาก
                                                                                               ั
ขึ้น เช่น มีการนาเอาไม้ข้ ีเหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่ งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ข้ ีเหล็ก ในสมัยก่อน คือนามาทาเป็ น
เชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนามาแกะสลักพบว่า ไม้ข้ ีเหล็กเป็ นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยากกว่าไม้สัก แต่
ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็ นธรรมชาติ

นอกจากการทดลองเรื่ องของไม้แล้ว ยังมีการนาเอาภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นันก็         ่
คือ นาเอาลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสี ไม้ซ่ ึ งก็ให้สีที่เป็ นธรรมชาติและ ไม่มีสารพิษตกค้างเป็ นอันตราย ต่อมนุษย์
และสิ่ งแวดล้อม

เมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็ นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ทองถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็ นที่รู้จก กันอย่าง
                                                                      ้                                       ั
แพร่ หลายในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้นอกจากนี้ หนึ่งในความ
                   ั
ภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็ นส่ วนหนึ่งของการทาให้ผคน ได้เกิดความรัก หวงแหน และ ตระหนักถึง
                                                                        ู้
ความสาคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบน และร่ วมกันอนุรักษ์ชางไทยให้อยูคู่กบคนไทยอีกนานเท่านานประวัติและ
                                             ั                      ้           ่ ั
ผลงานของ สล่า เพชร วิริยะ
ศิลปิ นดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543
สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม
ประวัติ
สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498
สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัด
เชียงใหม่ เป็ นบุตรของ นายสิ งห์ วิริยะ และ นางบัว
จีน วิริยะ มีพี่นอง 5 คน คือ
                 ้
1. นายเพชร วิริยะ
2. นายสุ ภาพ วิริยะ
3. นายเสน่ห์ วิริยะ
4. นายพิภคร์ วิริยะ
             ั
5. นางเพลินจิต วิริยะ
ที่อยู่ "บ้านจ๊างนัก"
บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
โทรศัพท์ (053) 3446891,01-4725051
ครอบครัว
นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป์ ) มีบุตรธิดาทั้งหมด 2 คน คือ
1. นางสาววารี ยา วิริยะ
2. นางสาวเวรุ ยา วิริยะ
การศึกษา
ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ยนผูใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่
                                          ้
การศึกษาผูใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรี ยนผูใหญ่สันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
               ้                                  ้

                              ผลงาน
                                         ผลงานของสล่าเพชรทาจาหน่ายในนาม "บ้านจ๊างนัก” ซึ่ งเขาเป็ นหัวเรื อใหญ่ใน
                             การรวบรวมช่างฝี มือในท้องถิ่น ต.บวกค้าง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ และผ่านการคัดเลือก
                             ให้เป็ นสิ นค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับภาค ทุกวันนี้สินค้า
                             จากชุมชนแห่ งนี้กระจายไปอยูทวโลก
                                                            ่ ั่
                             กว่าจะถึงจุดนี้ สล่าเพชร ย้อนเรื่ องราวในวัยหนุ่มว่า เมื่อปี 2515-2519 ได้เรี ยนรู ้การ
                             แกะสลักไม้รูปช้าง กับ ครู คาอ้าย เดชดวงตา พร้อมกับเพื่อนร่ วม
                             รุ่ นอีกหลายคน พอมีฝีมือติดตัวก็ตระเวนทางานแกะสลักไม้ตาม
                             สถานที่ต่างๆ และตามประสาวัยรุ่ นที่รักความท้าทาย
                             หลังจากเป็ นหนุ่มพเนจรอยูหลายปี จึงหวนคืนสู่ บานเกิดที่สัน
                                                         ่                     ้
กาแพงราวปี 2528 และคิดปักหลักทามาหากินบนผืนดินมารดา จึงรวบรวมเพื่อนสล่าและลูกศิษย์
5-6 คน ก่อตัวเป็ นทีมงานแกะสลักช้างในแบบเหมือนจริ งจาหน่าย จนมีผลงานออกมาเป็ นที่รู้ จก      ั
ของคนทัวไป    ่
"ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียนการ์ ตนชื่อดัง เป็ นผูต้ งให้ บ้านจ๊างนักเป็ นภาษาถิ่นความหมาย
                                                                           ู               ้ั
ว่า มีชางแกะสลักมากนันเอง ทุกวันนี้บานจ๊างนักมีทีมงานแกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่ งเป็ นญาติพี่นอง เพื่อน ลูกศิษย์ และคน
         ้                  ่                  ้                                                               ้
หนุ่มๆ ในหมู่บานทั้งสิ้ น" สล่าเพชร เล่าความเป็ นมา
                      ้
มาถึงยุคปัจจุบนงานฝี มือจากบ้านจ๊างนักยิงทวีความนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ ที่มี
                    ั                            ่                                            ั
โอกาสแวะชมงานหัตถกรรมล้านนา ต่างซื้ อติดมือกลับบ้านเพื่อเป็ นของฝากหรื อนาไปตกแต่งบ้าน แต่ถาเป็ นช้างตัวโตๆ        ้
ทีมงานของสล่าเพชรก็จะหาหนทางจัดส่ งให้ลูกค้าถึงปลายทาง งานศิลปะของบ้านจ๊างนักจึงกระจายไปทัวทุกมุมโลก                 ่
"การทาช้างของบ้านจ๊างนักตอนนี้ มีท้ งงานแกะสลักไม้และปูนปั้น เดือนหนึ่งมีผลงานนับร้อยชิน ราคาขึ้นอยูกบขนาดเฉลี่ย
                                           ั                                                               ้           ่ ั
                                                                                 ตั้งแต่ 1,000 บาท ไปจนถึงมูลค่า 7 หลัก ซึ่ งผลงาน
                                                                                 ที่เราภูมิใจมากคือการแกะ สลักช้างไม้ชื่อ คิริเมขล์
                                                                                 ไตยดายุค เป็ นช้างสามเศียรขนาดสู ง 5 เมตร กว้าง 3
                                                                                 เมตร ใช้เวลาสร้างประมาณ 3 ปี ผมเตรี ยมส่ งให้
                                                                                 ลูกค้าราวกลางเดือนสิ งหาคมนี้" สล่าเพชร กล่าว
                                                                                 สล่าเพชร บอกอีกว่า งานมหกรรมพืชสวนโลก
                                                                                 เฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ 2549 ซึ่ งประเทศไทย
                                                                                 เป็ นเจ้าภาพจัดขึ้นที่ จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 1
                                                                                 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2550 สล่า
                                                                                 เพชรได้รับความไว้วางใจจากภาครัฐให้ทาช้าง
ประดับทางเข้าสู่ เข้างาน ประกอบด้วย บริ เวณวงแหวน 5 ตัว สะพาน 4 ตัว และหัวช้างประดับเสา 44 หัว
สาหรับวัตถุดิบสาคัญคือ "ไม้" ใช้ได้ท้ งไม้เนื้ออ่อน และไม้เนื้อแข็ง แต่ที่นิยมกันมากและทากันมาโดยตลอดคือ ไม้สัก ซึ่ ง
                                             ั
เป็ นไม้เนื้อละเอียดง่ายต่อการ นามาแกะสลักเป็ นลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะ
เป็ นสัตว์ หรื อต้นไม้ แต่ไม้ชนิดนี้ขนาดใหญ่หายาก และราคาสู ง จึงเลือกใช้
ไม้ข้ ีเหล็ก ไม้ฉาฉา และไม้ขนุน ซึ่ งในอดีตเป็ นเพียงไม้ทาฟื นของชาวบ้าน
เท่านั้น
       เครื่ องมือที่ใช้แกะสลัก คือ สิ่ วหมัก หรื อ สิ่ วตัววี (V) ใช้สลักนาเส้น
ตามแบบงานและใช้แต่งลาย เส้นต่างๆ สิ่ วแบน ใช้ถากย้าเส้นต่างๆ และตัด
ไม้ส่วนที่ไม่ตองการออก สิ่ วแกะ หรื อ สิ่ วตัวยู (U) ใช้ถาก เจาะ และ
                  ้
ตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงาน และ ค้อน อุปกรณ์ที่ตองใช้ตอกสิ่ ว  ้
วิธีแกะสลัก ร่ างแบบงานบนกระดาษแข็ง แล้วนามาทาบกับไม้ที่เตรี ยมไว้ แกะเอาไม้ส่วนที่ไม่ตองการออกให้เหลือแต่   ้
โครงสร้างตามแบบที่ร่างไว้ ส่ วนความเว้าก็แกะออกจนเป็ นรู ปร่ างตามแบบที่ร่างไว้เช่นกัน จากนั้นตกแต่งรายละเอียด เช่น
ลายผิวหนัง หรื อลายกลีบดอกไม้
ขั้นตอนสุ ดท้าย ทาสี และขัดตกแต่ง ใช้สีธรรมชาติทาจากผลมะเกลือ ขั้นตอนคือนาผลมะเกลือมาตา แล้วหมักกับน้ าปูนใส
ก่อนใช้น้ าที่หมักทาผลงานให้เป็ นสี ดา และทาซ้ าจนกระทังดาจนพอใจ จึงนาไปตากให้แห้งสนิท ใช้แปลงทองเหลืองขัด
                                                                    ่
กากของมะเกลือออก จะได้ชินงานสี ดาเทาดูเป็ นธรรมชาติ
                                 ้
ทั้งนี้ “บ้านจ๊างนัก” นับเป็ นแหล่งศึกษาด้านการแกะสลักช้าง และการท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สาคัญของ อ.
สันกาแพง
งานบ้านถวาย

More Related Content

What's hot

จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนักleam2531
 
Poopoopaper 111
Poopoopaper 111Poopoopaper 111
Poopoopaper 111okokmax234
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาphaudjantuk
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนN'Mom Sirintip
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนN'Mom Sirintip
 
งานอาจารย..
งานอาจารย..งานอาจารย..
งานอาจารย..PN17
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3PN17
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329Siwa Muanfu
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
Ddd
DddDdd
DddPN17
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Nat Ty
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 

What's hot (16)

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนัก
 
Poopoopaper 111
Poopoopaper 111Poopoopaper 111
Poopoopaper 111
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาภูมิปัญญา
ภูมิปัญญา
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
 
งานอาจารย..
งานอาจารย..งานอาจารย..
งานอาจารย..
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
Ddd
DddDdd
Ddd
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
We play art
We play artWe play art
We play art
 

Viewers also liked (13)

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
ยางมะตอย
ยางมะตอยยางมะตอย
ยางมะตอย
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
หินขัด
หินขัดหินขัด
หินขัด
 
mjnbnbn,
mjnbnbn,mjnbnbn,
mjnbnbn,
 
Terrazzo
TerrazzoTerrazzo
Terrazzo
 
Em mktg
Em mktgEm mktg
Em mktg
 
หินขัด1
หินขัด1หินขัด1
หินขัด1
 
Dilated cardiomyopathy
Dilated cardiomyopathyDilated cardiomyopathy
Dilated cardiomyopathy
 

Similar to งานบ้านถวาย

ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
ศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงานnonmorning
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงหอย ลี่
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..PN17
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักArtit Songsee
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนักpawidchaya
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนักpawidchaya
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนักpawidchaya
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนN'Mom Sirintip
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจPN17
 
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาphaudjantuk
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงหอย ลี่
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักnonmorning
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1rever39
 
เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานีเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานีkuytumzakuytum
 
ตุงล้านนา
ตุงล้านนาตุงล้านนา
ตุงล้านนาAlyssa Ny
 

Similar to งานบ้านถวาย (18)

งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงาน
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
 
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญาภูมิปัญญา
ภูมิปัญญา
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานีเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
 
ตุงล้านนา
ตุงล้านนาตุงล้านนา
ตุงล้านนา
 

งานบ้านถวาย

  • 1. บ้านถวาย หมู่บ้านไม้แกะสลัก อดีตที่ผ่านมา 40 กว่าปี บ้านถวายได้สืบสานงานไม้ จากรุ่ นสู่ รุ่ น จากการก่อกาเนิดขึ้น ของปูชนียบุคคล 3 ท่าน คือพ่อหนาน แดง พันธุสา , พ่อใจ๋ มา อิ่นแก้ว และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ที่ได้เดินทาง ไปทางานและเรี ยนแกะสลักไม้ที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลาย ประตูเชียงใหม่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2500-2505 และได้นามาแพร่ หลาย ในหมู่บานถวาย จนกลายเป็ นหมู่บานหัตถกรรม ไม้แกะสลักที่มีฝีมือ และ ้ ้ มีชื่อเสี ยง เป็ นที่รู้จกของชาวไทยและชาวต่างประเทศ ั ประวัติหมู่บ้าน บ้านถวาย เป็ นหมู่บานเก่าแก่ ตั้งมาประมาณ 100 กว่าปี สาเหตุที่ชื่อบ้านถวาย ตามคาบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผู ้ ้ แก่ เล่าว่าบ้านถวาย ดั้งเดิมเป็ นจุดถวายของให้พระนางเจ้าจามเทวีทเี่ สด็จผ่าน จากนครลาพูน ซึ่ งเดินทางโดยทางเกวียนผ่าน มาทางบ้านถวาย ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวการจะเสด็จผ่านของพระนางฯ จึงพากันเตรี ยมข้าวของ หรื อบางครอบครัวก็จะ ช่วยกันรี บตีเครื่ องเงินเตรี ยมไว้ถวาย บ้านถวายเป็ นหมู่บานหนึ่ง ในตาบลขุนคง อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางห่างจากตัวเมือง ้ เชียงใหม่ ประมาณ 18 กิโลเมตร แต่เดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านการเกษตร แต่เมื่อประสบกับภาวะขาดแคลน น้ าในฤดูแล้งทาให้ผลผลิตตกต่า ส่ งผลให้ชาวบ้านมีรายได้นอย ดังนั้นหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้านส่ วนใหญ่จะเดินทางไป ้ รับจ้างทางานในตัว เมืองเชียงใหม่ เช่น รับจ้าง ก่อสร้าง และอื่น ๆ แต่มีบางส่ วนออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพอยูใน ่ ท้องถิ่นของตัวเอง จนกระทัง ปี พ.ศ. 2500- 2505 พ่อใจ๋ มา อิ่นแก้ว พ่อหนานแดง พันธุสา และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ทั้งสามท่านได้ไป ่ รับจ้างอยูในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่นเดียวกับชาวบ้านทัวไป จนท่านได้ไปที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลายซึ่ งเป็ นร้านจาหน่ายไม้ ่ ่ แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้น ทั้งสามท่านเกิดความสนใจในการรับจ้างแกะสลักไม้ จึงได้ขอทางร้านทดลองแกะดู ปรากฏว่า ฝี มือพอทาได้ ทางร้านจึงให้เริ่ มทางานรับจ้างที่ร้านน้อมศิลป์ ตั้งแต่น้ นมา การทางานแกะสลักไม้ของทั้งสามท่านปรากฏว่า ั มีรายได้ดีกว่าการรับจ้างก่อสร้าง และทุกวันฝี มือการแกะสลักก็พฒนาขึ้นเรื่ อย ๆ ท่านจึงเปลี่ยนอาชีพจากการับจ้างทัวไปมา ั ่ เป็ นการรับจ้างแกะสลักไม้ที่ร้าน ดังกล่าว จนเมื่อเกิดความชานาญ และเมื่อมีงานมากขึ้นทั้งสามท่านจึงได้ขอนามาทาที่ บ้าน และถือเป็ นจุดเริ่ มต้นของการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลาน ญาติพี่นอง เพื่อนบ้านโดยไม่รู้ตวและไม่หวง ้ ั ความรู ้แม้แต่นอย งานที่นามาถ่ายทอดครั้งแรก เป็ นการแกะสลักไม้แผ่นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ลายครุ ฑ ตุ๊กตา ้ ดนตรี ต่อมาเริ่ มทาเป็ น ตัวพระ และรับซ่ อมตกแต่งของเก่าประเภทงานไม้ และเริ่ มเลียนแบบของเก่าที่มีผูนามาซ่ อม พร้อม ้ ทั้งออกแบบงานที่เป็ นเอกลักษณ์ของบ้านถวายเอง จากนั้นได้มีกลุ่มสตรี แม่บานของบ้านถวายเองซึ่ งออกไปรับจ้างทางานสี ้ งานแอนติค และตกแต่งลวดลายเส้นที่ร้านในเมืองเชียงใหม่ ย่านวัวลาย และได้พฒนาฝี มือ ทาลวดลาย ปิ ดทอง จนเกิดความ ั ชานาญเช่นเดียวกัน เมื่อมีงานเพิ่มขึ้นทางร้านให้นามาทาที่บานโดยคิดค่าจ้างทาเป็ นชิ้น เมื่องานเสร็ จก็นาไปส่ งที่ร้าน ก็ ้ นับว่าเป็ นโอกาสดีที่จะได้นามาถ่ายทอดในหมู่บาน และโอกาสในการพบปะกับลูกค้าของทางร้าน ซึ่ งลูกค้าก็ได้ติดต่อ ้ โดยตรงและเข้ามาซื้ อสิ นค้าถึงในหมู่บานจึงทาให้บาน ถวายเริ่ มกลายเป็ นแหล่งซื้ อหาไม้แกะสลักและเกิดธุรกิจขึ้นใน ้ ้ หมู่บาน ตั้งแต่น้ นมาแต่ละบ้านเริ่ มจะปรับบริ เวณบ้านของตนเอง โดยใช้บริ เวณหน้าบ้านเป็ นร้านค้า ส่ วนหลังบ้านก็ ้ ั ทางานหัตถกรรมแกะสลักไม้ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ ในครอบครัวตั้งแต่น้ นมา ั
  • 2. งานแกะสลักไม้ ถือว่าเป็ นเอกลักษณ์ของบ้านถวาย และของจังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ ในการแกะสลัก 1. สิ่ ว เป็ นเหล็กยาวทาจากเหล็กกล้า มีดามถือทาด้วยไม้ ้ ส่ วนมากทาจากไม้ตะโก ปลายมีดคม ซึ่ งจะมีลกษณะ ั รู ปร่ าง ขนาดที่แตกต่างกันไป เช่น สิ่ วโค้ง สิ่ วแบน สิ่วฮาย สิ่ วเล็บมือ สิ่ วขุด สิ่ วฉาก และสิ่ วขมวด 2. มีด เป็ นอุปกรณ์ชิ้นแรกที่จะต้องใช้กบงานแกะสลัก ั ไม้ เช่น ใช้ถาก ใช้เหลา 3. หินลับ เป็ นเครื่ องมือแกะสลักที่ใช้ลบคมห้วยหินที่มี ั ผิดขรุ ขระเพื่อให้เกิดความคม 4. ค้อน หรื อ ตะลุมพลุก ทาจากไม้เนื้อ แข็ง เช่น ไม้แดง ไม้ชิงชัน ค้อนไม้ที่ใช้จะมีน้ าหนักเบา ไม่กินแรงเวลาทุบ ควบคุมน้ าหนักของการทุบได้ และรักษา สภาพของสิ่ งให้มีอายุการใช้งานที่นานขึ้น 5. เหล็กตอกลาย ใช้สาหรับตอกลายผิวไม้ให้เป็ นลวดลายตามต้องการ ในการสร้างงานให้สวยงามหรื อใช้ตอกส่ วนที่เป็ น พื้นภาพ ไม้ แกะสลักรูป วัสดุคอ ไม้ ราคา 4000 บาท ื ประโยชน์ที่ใช้ในงานภูมิทศน์ ั - ใช้ตกแต่งประดับสวนให้สวยงาม - ใช้วางประดับตกแต่งบริ เวณหน้าบ้าน หรื อหน้าร้าน เพื่อเป็ นการต้อนรับ
  • 3. - สร้างเอกลักษณ์ความเป็ นไทย - สามารถใช้ได้ท้ ง กลางแจ้งและในร่ ม ั บ้านเมืองกุง ตะเกียง ออกแบบเป็ น รู ปปั้น เด็ก วัสดุเป็ นปูนปั้น ตกแต่งเก็บ รายละเอียด และทาสีให้สวยงาม ราคา 200 บาท ประโยชน์ใช้ในงานภูมิทศน์ ั - ใช้ตกแต่งประดับสวน - ให้แสงสว่างในเวลากลางคืน - สามารถสร้างสุนทรี ยภาพได้ดี - ใช้ประดับได้ท้ ง กลางแจ้ง และในร่ ม ั เครื่องมือ สาหรับงานปั้นปูน ของช่างปั้นแต่ละคน เมื่อสมัยก่อนก็ดี หรื อ สาหรับช่างปั้นปูนปัจจุบนก็ดี มีเครื่ องมือไม่มากชิ้น ทั้งนี้เป็ น ั ด้วยช่างปั้นปูน พอใจจะใช้ฝีมือของตัวเองมากกว่า จะใช้เครื่ องมือช่วย ในการปั้นก็เฉพาะที่จาเป็ น หรื อ ในส่ วนที่ใช้นิ้วมือปั้นทาส่ วนย่อยๆ ในงานปั้นนั้นไม่ถนัด เครื่ องมือ สาหรับงานปั้น ของช่างปั้นปูนมักทาขึ้นด้วยไม้ไผ่ โดยช่างปั้นปูนแต่ละคนจะทาขึ้นใช้เอง ตามความเหมาะสมแก่ งาน และ ถนัดมือช่างเอง ที่พอยกขึ้นเป็ นตัวอย่าง และอธิบายให้ทราบ มีดงต่อไปนี้ ั 1. เกรี ยง เกรี ยงสาหรับงานปั้นปูน มีหลายขนาด ใช้สาหรับตัก ป้ าย ปาด แตะ แต่งปูนเพื่อขึ้นรู ปประเภทต่างๆ หรื อ ขูดแต่งผิวปูน 2. ไม้กวด ทาด้วยไผ่เหลาเป็ นชินแบนๆ ใช้สาหรับปาดปูน แต่ง และ กวดผิวปูนให้เรี ยบเกลี้ยง ้ 3. ไม้เนียน ทาด้วยไม้ไผ่เหลาเป็ นชิ้นแบนอย่างท้องปลิง ปลายข้างหนึ่ งปาดเฉี ยง ใช้สาหรับปั้นแต่งส่ วนย่อยๆ ใน งานปั้นปูน เช่นขีดทาเป็ นเส้น ทารอยบากขอบลวดลาย 4. ไม้เล็บมือ ทาด้วยไม้ไผ่ก่งเล็กๆ ช่างปั้นบางคนเรี ยกว่า ไม้แวว ใช้สาหรับกด ทาเป็ นวงกลมล้อมลายตาไก่บาง ลาย ิ ้ มุกบ้าง ไม้เล็บมือนี้ อาจทาขึ้นไว้หลายอัน และต่างขนาดกันเพื่อให้เหมาะสมแก่งานที่จะปั้น 5. ขวาน ทาด้วยเหล็กใส่ ดามไม้ ใช้สาหรับ ฟัน หรื อ เฉาะพื้นปูนให้เป็ นรอยถี่ๆ เพื่อช่วยให้ปูนที่จะปั้นทับลงบนฝา ้ หรื อ พื้นปูนเกาะ หรื อ จับติดแน่น 6. ตะลุมพุก ทาด้วยไม้รูปทรงกระบอกสั้นๆ ต่อด้ามไม้ยาวขนาดจับถนัด ใช้สาหรับตอก “ทอย” ลงบนพื้นปูน หรื อ พื้นไม้
  • 4. พิพธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ิ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่ งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจน ลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝี มือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบ ล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา เมื่อปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่ง หนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อ ่ บ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย ้ บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมี การแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะซ้ ากัน มาเป็ นการแกะสลักช้างที่ดูมี ชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่ งนับเป็ นแห่งแรกที่มีการ แกะสลักช้าง รู ปแบบนี้ บ้านจ๊างนักยังเป็ นแห่งแรกที่มีการทดลองนาวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นบวันมีแต่จะหายากมาก ั ขึ้น เช่น มีการนาเอาไม้ข้ ีเหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่ งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ข้ ีเหล็ก ในสมัยก่อน คือนามาทาเป็ น เชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนามาแกะสลักพบว่า ไม้ข้ ีเหล็กเป็ นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยากกว่าไม้สัก แต่ ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็ นธรรมชาติ นอกจากการทดลองเรื่ องของไม้แล้ว ยังมีการนาเอาภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นันก็ ่ คือ นาเอาลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสี ไม้ซ่ ึ งก็ให้สีที่เป็ นธรรมชาติและ ไม่มีสารพิษตกค้างเป็ นอันตราย ต่อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้อม เมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็ นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ทองถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็ นที่รู้จก กันอย่าง ้ ั แพร่ หลายในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้นอกจากนี้ หนึ่งในความ ั ภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็ นส่ วนหนึ่งของการทาให้ผคน ได้เกิดความรัก หวงแหน และ ตระหนักถึง ู้ ความสาคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบน และร่ วมกันอนุรักษ์ชางไทยให้อยูคู่กบคนไทยอีกนานเท่านานประวัติและ ั ้ ่ ั ผลงานของ สล่า เพชร วิริยะ ศิลปิ นดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543 สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม
  • 5. ประวัติ สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัด เชียงใหม่ เป็ นบุตรของ นายสิ งห์ วิริยะ และ นางบัว จีน วิริยะ มีพี่นอง 5 คน คือ ้ 1. นายเพชร วิริยะ 2. นายสุ ภาพ วิริยะ 3. นายเสน่ห์ วิริยะ 4. นายพิภคร์ วิริยะ ั 5. นางเพลินจิต วิริยะ ที่อยู่ "บ้านจ๊างนัก" บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ (053) 3446891,01-4725051 ครอบครัว นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป์ ) มีบุตรธิดาทั้งหมด 2 คน คือ 1. นางสาววารี ยา วิริยะ 2. นางสาวเวรุ ยา วิริยะ การศึกษา ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ยนผูใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่ ้ การศึกษาผูใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรี ยนผูใหญ่สันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ้ ้ ผลงาน ผลงานของสล่าเพชรทาจาหน่ายในนาม "บ้านจ๊างนัก” ซึ่ งเขาเป็ นหัวเรื อใหญ่ใน การรวบรวมช่างฝี มือในท้องถิ่น ต.บวกค้าง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ และผ่านการคัดเลือก ให้เป็ นสิ นค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทผลิตภัณฑ์ 5 ดาว ระดับภาค ทุกวันนี้สินค้า จากชุมชนแห่ งนี้กระจายไปอยูทวโลก ่ ั่ กว่าจะถึงจุดนี้ สล่าเพชร ย้อนเรื่ องราวในวัยหนุ่มว่า เมื่อปี 2515-2519 ได้เรี ยนรู ้การ แกะสลักไม้รูปช้าง กับ ครู คาอ้าย เดชดวงตา พร้อมกับเพื่อนร่ วม รุ่ นอีกหลายคน พอมีฝีมือติดตัวก็ตระเวนทางานแกะสลักไม้ตาม สถานที่ต่างๆ และตามประสาวัยรุ่ นที่รักความท้าทาย หลังจากเป็ นหนุ่มพเนจรอยูหลายปี จึงหวนคืนสู่ บานเกิดที่สัน ่ ้ กาแพงราวปี 2528 และคิดปักหลักทามาหากินบนผืนดินมารดา จึงรวบรวมเพื่อนสล่าและลูกศิษย์ 5-6 คน ก่อตัวเป็ นทีมงานแกะสลักช้างในแบบเหมือนจริ งจาหน่าย จนมีผลงานออกมาเป็ นที่รู้ จก ั
  • 6. ของคนทัวไป ่ "ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียนการ์ ตนชื่อดัง เป็ นผูต้ งให้ บ้านจ๊างนักเป็ นภาษาถิ่นความหมาย ู ้ั ว่า มีชางแกะสลักมากนันเอง ทุกวันนี้บานจ๊างนักมีทีมงานแกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่ งเป็ นญาติพี่นอง เพื่อน ลูกศิษย์ และคน ้ ่ ้ ้ หนุ่มๆ ในหมู่บานทั้งสิ้ น" สล่าเพชร เล่าความเป็ นมา ้ มาถึงยุคปัจจุบนงานฝี มือจากบ้านจ๊างนักยิงทวีความนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ ที่มี ั ่ ั โอกาสแวะชมงานหัตถกรรมล้านนา ต่างซื้ อติดมือกลับบ้านเพื่อเป็ นของฝากหรื อนาไปตกแต่งบ้าน แต่ถาเป็ นช้างตัวโตๆ ้ ทีมงานของสล่าเพชรก็จะหาหนทางจัดส่ งให้ลูกค้าถึงปลายทาง งานศิลปะของบ้านจ๊างนักจึงกระจายไปทัวทุกมุมโลก ่ "การทาช้างของบ้านจ๊างนักตอนนี้ มีท้ งงานแกะสลักไม้และปูนปั้น เดือนหนึ่งมีผลงานนับร้อยชิน ราคาขึ้นอยูกบขนาดเฉลี่ย ั ้ ่ ั ตั้งแต่ 1,000 บาท ไปจนถึงมูลค่า 7 หลัก ซึ่ งผลงาน ที่เราภูมิใจมากคือการแกะ สลักช้างไม้ชื่อ คิริเมขล์ ไตยดายุค เป็ นช้างสามเศียรขนาดสู ง 5 เมตร กว้าง 3 เมตร ใช้เวลาสร้างประมาณ 3 ปี ผมเตรี ยมส่ งให้ ลูกค้าราวกลางเดือนสิ งหาคมนี้" สล่าเพชร กล่าว สล่าเพชร บอกอีกว่า งานมหกรรมพืชสวนโลก เฉลิมพระเกียรติ ราชพฤกษ์ 2549 ซึ่ งประเทศไทย เป็ นเจ้าภาพจัดขึ้นที่ จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2550 สล่า เพชรได้รับความไว้วางใจจากภาครัฐให้ทาช้าง ประดับทางเข้าสู่ เข้างาน ประกอบด้วย บริ เวณวงแหวน 5 ตัว สะพาน 4 ตัว และหัวช้างประดับเสา 44 หัว สาหรับวัตถุดิบสาคัญคือ "ไม้" ใช้ได้ท้ งไม้เนื้ออ่อน และไม้เนื้อแข็ง แต่ที่นิยมกันมากและทากันมาโดยตลอดคือ ไม้สัก ซึ่ ง ั เป็ นไม้เนื้อละเอียดง่ายต่อการ นามาแกะสลักเป็ นลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็ นสัตว์ หรื อต้นไม้ แต่ไม้ชนิดนี้ขนาดใหญ่หายาก และราคาสู ง จึงเลือกใช้ ไม้ข้ ีเหล็ก ไม้ฉาฉา และไม้ขนุน ซึ่ งในอดีตเป็ นเพียงไม้ทาฟื นของชาวบ้าน เท่านั้น เครื่ องมือที่ใช้แกะสลัก คือ สิ่ วหมัก หรื อ สิ่ วตัววี (V) ใช้สลักนาเส้น ตามแบบงานและใช้แต่งลาย เส้นต่างๆ สิ่ วแบน ใช้ถากย้าเส้นต่างๆ และตัด ไม้ส่วนที่ไม่ตองการออก สิ่ วแกะ หรื อ สิ่ วตัวยู (U) ใช้ถาก เจาะ และ ้ ตกแต่งรายละเอียดของชิ้นงาน และ ค้อน อุปกรณ์ที่ตองใช้ตอกสิ่ ว ้ วิธีแกะสลัก ร่ างแบบงานบนกระดาษแข็ง แล้วนามาทาบกับไม้ที่เตรี ยมไว้ แกะเอาไม้ส่วนที่ไม่ตองการออกให้เหลือแต่ ้ โครงสร้างตามแบบที่ร่างไว้ ส่ วนความเว้าก็แกะออกจนเป็ นรู ปร่ างตามแบบที่ร่างไว้เช่นกัน จากนั้นตกแต่งรายละเอียด เช่น ลายผิวหนัง หรื อลายกลีบดอกไม้ ขั้นตอนสุ ดท้าย ทาสี และขัดตกแต่ง ใช้สีธรรมชาติทาจากผลมะเกลือ ขั้นตอนคือนาผลมะเกลือมาตา แล้วหมักกับน้ าปูนใส ก่อนใช้น้ าที่หมักทาผลงานให้เป็ นสี ดา และทาซ้ าจนกระทังดาจนพอใจ จึงนาไปตากให้แห้งสนิท ใช้แปลงทองเหลืองขัด ่ กากของมะเกลือออก จะได้ชินงานสี ดาเทาดูเป็ นธรรมชาติ ้ ทั้งนี้ “บ้านจ๊างนัก” นับเป็ นแหล่งศึกษาด้านการแกะสลักช้าง และการท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สาคัญของ อ. สันกาแพง