SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ชุมชนกุฎีจีน เป็นชุมชนของชาวไทยเชือ       ้
สายโปรตุเกสที่อพยพมาจากกรุงศรีอยุธยาเมื่อ
กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310
ปัจจุบันลูกหลานของชาวโปรตุเกสเหล่านั้น
หน้าตาออกไปทางคนไทยไปหมดแล้วหรือ
กล่าวง่ายๆก็คือต้องตั้งใจสังเกตุถึงจะดูออกว่ามี
เชือสายโปรตุเกส ชุมชนแห่งนี้มีโบสถ์ซางตาครู้
   ้
ส เป็นศูนย์กลางของชุมชน ชุมชนแห่งนี้มีขนม
ฝรั่งกุฎีจีนขายเป็นขนมพื้นเมืองของชุมชนนี้
และขนมฝรั่งกุฎีจีนของชุมชนนีถือได้ว่าเป็น
                                   ้
ขนมพื้นเมืองของกรุงเทพมหานครเลยทีเดียว
ชุมชนกุฎีจีนตั้ง อยู่ริมแม่นำ้าเจ้าพระยา ตั้งอยู่ที่
ขนมฝรั่งกุฎีจีน เป็นขนมโบราณที่คน
ไทยรู้จักกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาที่ทำาสืบต่อกัน
มาเรื่อยๆ ปัจจุบนขนมกุฎีจีนได้ทำาอยู่ประจำาที่
                 ั
ชุมชนกุฎีจีน เอกลักษณ์ของขนมกุฎีจีนชนิดนี้
อยู่ที่เป็นขนมลูกผสมระหว่างจีนกับฝรั่ง ตัว
ขนมเป็นตำารับของโปตุเกส ขณะที่หน้าของ
ขนมเป็นจีนซึ่งประกอบด้วยฝักเชือม ชาวจีน
                                  ่
เชือว่ารับประทานแล้วจะร่มเย็น นำ้าตาลทราย
   ่
ทานแล้วจะมั่งคั่งไม่รู้จบเหมือนกับนำ้าตาล
ทรายที่นบเม็ดไม่ได้ นอกจากนียังมีลูกพลับอบ
           ั                    ้
แห้ง และลูกเกด ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีราคาและมี
คุณค่าทางอาหาร
แม้ขนมฝรั่งหน้าตากระเดียดมาทางขนม
เค้ก แต่ด้วยสูตรพิเศษที่สบทอดมาแต่โบราณจะ
                         ื
ใช้เพียงไข่ แป้งสาลี และนำ้าตาลทรายแดง
เท่านั้น ไม่มีส่วนผสมของเนยนม ยีสต์ ผงฟู และ
สารกันบูด แต่เมื่อผ่านการอบด้วยอุณหภูมิความ
ร้อนที่พอเหมาะ จะได้ขนมที่ออกมารสชาติกรอบ
นอกนุ่มในพอดิบพอดี ยากที่จะเลียนแบบ
ขนมฝรั่งกุฎีจีนของร้าน "ธนูสิงห์"ปัจจุบนนี้
                                              ั
มีคณภาคภูมิ สุจจิตรจูล ซึ่งเป็นทายาทรุ่นที่ 5
    ุ
เป็นเจ้าของและเป็นผู้ทำาขนมฝรั่งกุฎีจีนตามแบบ
ฉบับสูตรต้นตำารับขนานแท้
       ร้านธนูสิงห์ เป็นร้านที่ขายความเป็นขนม
ฝรั่งกุฎีจีนแบบโบราณคือ มีลักษณะเด่นตรงที่ใช้
วัตถุดิบอย่างดีมาทำาขนม คือมีแป้ง ไข่ และ
นำ้าตาล เพียงแค่ 3 อย่างนี้ตีให้สวนผสมเข้ากัน
                                  ่
จนขึ้นฟู ด้วยความชำานาญส่วนตัวเท่านั้น โดย
ไม่ได้ใส่ผงฟู หรือว่าวัตถุกันเสียแต่อย่างใด แล้ว
ก็นำาไปเทใส่แม่พิมพ์แล้วอบจนขนมสุกได้ที่ โดย
จะทำาแบบสดใหม่ เรียกว่าจะได้กลิ่นของขนม
ฝรั่งกุฎีจีนที่อบใหม่ๆ ร้อนๆ จากเตาส่งกลิ่นหอม
ขนมฝรั่งกุฎจีนทีร้านนี้จะมีอยู่ 2 แบบ คือ มี
                 ี   ่
ขนมฝรั่งกุฎจีนแบบดังเดิม (ชิ้นเล็ก) คือไม่มหน้า
           ี       ้                        ี
สามารถเก็บไว้ได้นาน 7-10 วัน ตัวขนมเนือจะเบา
                                          ้
นุมหอม ออกรสไม่หวานมาก
  ่




ส่วนอีกแบบมีหน้าชิ้นใหญ่ คือโรยหน้าด้วยลูกเกด
ลูกพลับ ชิ้นฟัก และนำ้าตาลทราย (แต่ถ้าเป็นชิ้นเล็ก
จะไม่ใส่ลูกพลับ) สามารถเก็บไว้ได้ 10-14 วัน ตัว
เนือขนมแห้งฟูนมร่วน แต่ตรงหน้าขนมจะเคี้ยวก
   ้             ุ่
รุบๆ เพราะตัวนำ้าตาลโรยหน้า ส่วนราคาขนมถือว่า
ไม่แพง ขนมฝรั่งกุฎจนชิ้นใหญ่ (ชิ้นละ 20 บาท) ถ้า
                    ี ี
     พื้นเพในชุมชนบ้านครัวเป็นชาวจาม หรือ เขมรจาม  ที่อพยพเพื่อจะ
    พึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
    มหาราช โดยตั้งถิ่นฐานอยูที่ริมครองแสนแสบ ซึ่งเป็นที่ดินที่พระองค์
                                ่
    พระราชทานให้ และได้อาสาเข้าร่วมรบขับไล่ขาศึกที่เข้ามารุกราน
                                                  ้
    กรุงรัตนโกสินทร์  มีอาชีพดั้งเดิมคือการทำาประมงและการทอผ้าไหม
    พื้นเมือง  ในยุคแรกจะทอเป็นผ้าขาวม้า ผ้าโสร่ง   
       ชุมชนนี้อายุกว่า 50 ปี ชุมชนตั้งอยูแถวสองฟากคลองแสนแสบ
                                           ่
    สภาพบ้านเรือนเป็นไม้เก่าแก่ บางหลังมีอายุเกือบร้อยปี ชุมชนบ้าน
    ครัว แบ่งออกเป็นสามส่วนด้วยกัน คือ บ้านครัวเหนือ บ้านครัวใต้ และ
    บ้านครัวตะวันตก การแบ่งออก 3 ส่วนเพื่อการดูแลจัดการชุมชนจะได้
    ง่ายขึ้น
       ต่อมาเมื่อจิม ทอมป์สัน เข้ามาประกอบธุรกิจผ้าไหมส่งออกไปต่าง
    ประเทศ ก็ได้ช่วยพัฒนาปรับปรุงออกแบบลวดลายสีสันและใช้ฝีมือ
    การทอจากชาวชุมชนเป็นหลักซึ่งจุดเด่นของผ้าไหมของชุมชนแห่งนี้
    ก็คือเนื้อผ้าจะมีคุณภาพสูง เส้นไหมจะเนื้อแน่นละเอียด สีจะสดสวย
      เมื่อปี พ.ศ.2510 เหตุการณ์การหายตัวของ จิม ทอมป์สัน ที่
    ประเทศมาเลเซีย ทำาให้ส่งผลกระทบต่อการดำาเนินงานของชุมชนแห่ง
    นี้ และสาเหตุหนึ่งคือการขาดสนับสนุนจากส่วนต่างๆจึงทำาให้หลาย
 ในชุมชนแห่งนี้มความสำาคัญดังนี้
                 ี
 1.สามารถให้ผู้ทอยากศึกษาเรื่องผ้า
                 ี่                กระบวนการ
  การทำาผ้า และภูมปัญญาการทอผ้าไหมสามารถ
                  ิ
  ศึกษาได้
 2.สามารถเรียนรู้วิถีชุมชนของชุมชนบ้านครัวได้
รถประจำาทางที่
ผ่าน:16,29,34,50,79,54,93,
113
รถปรับ
ชุม ชนบ้า นบาตร


ปัจจุบันตั้งอยู่ : บริเวณสี่แยกเมรุปูน ซอยบ้านบาตร ถนน
บำารุงเมืองและถนนบริพตร แขวงสำาราญราษฎร์ เขต
                          ั
ป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีพนที่ประมาณ 4 ไร่ 37
                                          ื้
งาน ที่ดินเป็นของสำานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
สภาพทั่วไปเป็นบ้านไม้ชั้นเดียวและสองชั้น
   เนื้อความในพงศาวดารฉบับหนึ่งกล่าวถึงภูมิสถานอยุธยาว่า
    ตลาดหน้าวัดพระมหาธาตุที่กลางกรุง เป็นตลาดค้าบาตรถลก
    บาตร เฉกเช่นเดียวกับตลาดเสาชิงช้ากลางกรุงเทพมหานคร
    อันเป็นย่านการค้าพระพุทธรูปใหญ่น้อยและเครื่องสังฆภัณฑ์
    นานาชนิด สถานที่ดังกล่าวนี้เองเคยเป็นตลาดใหญ่ขายส่ง
    บาตรของชาวบ้านเมื่อหลายสิบปีล่วงมาแล้ว ทั้งนี้ด้วยอาศัยแรง
    ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนร่วมกันทำานุบำารุงค้าชูพระศาสนา
    โดยประเพณีบวชลูกหลานสืบเนื่องต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย
    ชาวบ้านบาตรจึงมีงามอุดมพอเลี้ยงชีพและผดุงศิลปะการทำา
    บาตร
    ต่อมาในชุมชนบ้านบาตรทุกเหย้าเรือน
    "จนกระทั่งปีพ.ศ.2514มีการก่อตั้งโรงงานผลิตบาตรพระขึ้นมา
    จึงทำาให้กจการทำาบาตรพระที่บ้านบาตรค่อยๆลดน้อย
              ิ
    ลงไป "ก่อนหน้านั้นบ้านบาตรทำาบาตรพระกันทั้งหมู่บ้าน พอ
    เจอบาตรปั๊มจากโรงงานตีตลาด
    เราก็หยุดไปประมาณ 20-30 ปี มาปี พ.ศ.2544 มีการตั้งกลุมทำา
                                                          ่
    บาตรพระขึ้นมา โดยท่านชาญชัย วามะศิริ ผู้อำานวยการเขต
    ป้อมปราบฯ ท่านได้ส่งเสริมอนุรักษ์การทำาบาตรของเรา โดย
 วัสดุที่ใช้ทำาบาตร ในอดีตคือ ตัวถังเหล็กยางมะตอย ทีทาง
                                                       ่
  เทศบาลกรุงเทพมหานครใช้ใส่ยางมะตอยเพื่อราดถนน เมื่อถึง
  เวลาจะมีคนนำาถังยางมะตอยที่ใช้แล้วมาส่งให้ที่ชุมชน ราคา
  ประมาณ 10 กว่าบาทต่อถัง 1 ใบ โดยถังยางมะตอยทำาจาก
  เหล็ก มีเนือบาง ทำาให้สามารถตีบาตรได้ง่าย
              ้
   จึงต้องทำาจากเหล็กหนา ด้วยขั้นตอนที่ซับซ้อนในการทำาบาตร
  ด้วยเหล็กคุณภาพดี
 ด้วยคุณสมบัติของบาตรที่ทำาด้วยมือของชาวบ้านบาตร เมื่อ
  เทียบกับราคาแล้วถือว่าคุ้มค่าเป็นอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับ
  บาตรปั๊มที่ทำาจากเครื่องจักรกล นอกจากนั้น บาตรยังต้องกับ
  พระวินัยและ ยังมีความคงทนมีความหลากหลายในรูปทรงที่
  สืบทอดภูมิปัญญามาแต่โบราณ ซึ่งช่างทำาบาตรที่ยึดอาชีพนี้จะ
  ต้องทำาด้วยใจรักอย่างแท้จริง ทำาขึ้นด้วยความศรัทธาใน
  พระพุทธศาสนา ด้วยความเคารพในวิชาความรู้ ครูบาอาจารย์
  ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้สอยในการยังชีพทุกชิ้น ตาม
  แบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทย บาตรของชาว
  บ้านบาตรจึงกอปรด้วยคุณค่าที่ผสานฝีมือแรงงานและจิตใจไว้
 การทำาบาตรแบบโบราณ มีทั้งหมด 21 ขั้นตอน ซึ่งค่อน
  ข้างละเอียด แต่ที่ป้ายชุมชนเขียนไว้ประมาณ 12-13 ขั้น
  ตอนคือหลักใหญ่
 ขั้นตอนแรก คือ การตีปากบาตร หรือ ขอบบาตร หลังจาก
  นั้น แล้วก็ ไปตัดแผ่นเหล็ก ตามอัตราส่วนของบาตร แต่ละ
  ใบ แต่ละขนาด แล้วก็มาขึ้นรูป หลังจากขึนรูปแล้ว เราก็
                                           ้
  เอาไปเชื่อม พอเชื่อมเสร็จเราก็มาตีตะเข็บ ตีตะเข็บเสร็จก็
  มาทำาทรง ทำาทรงเสร็จก็ตีเก็บเนื้อ คือการตีเม็ด คือต้องตี
  ให้เรียบเหมือนอย่างเดิม แล้วก็ไปตะไบผิวให้มันเกลี้ยง
  แล้วไปทำาสี คือวิธีการรมดำา นั่นคือขั้นตอนสุดท้าย อันนี้คือ
  แบบคร่าวคร่าว
   แบบใหม่กับแบบเก่า ซึ่งที่หมายถึงคือบาตรปั๊มนั้น ที่ทำา
    ด้วยเครื่องไม่มีตะเข็บ เค้าจะสามารถทำาด้วยเครื่อง ได้เป็น
    ร้อยร้อยพันพันใบ คือเค้ามีบล็อกของเค้าแล้ว แต่ถ้าถามว่า
    วัสดุของเค้าเกรดค่อนข้างจะตำ่ากว่าบาตรของบ้านบาตร
    แต่ถ้าบาตรทำามือมันจะใช้เวลาค่อนข้างนาน อย่างบาตร
    ใบใหญ่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 นิ้ว จะใช้เวลา
    ประมาณหนึ่งอาทิตย์ ทำาไมถึงช้า ช้าเพราะว่าตอนนี้
    จำานวนช่างที่ทำามันเหลือน้อยลง มีผู้ประกอบการเพียง 5
    ครอบครัว รวมทั้งช่างด้วย ไม่เกิน 20 คน ขั้นตอนการทำา
    เหมือนอย่างเดิม แต่เวลาจะค่อนข้างช้า
รูป ทรงต่า ง ๆ

รูปทรงต่าง ๆ เป็นแบบโบราณตั้งแต่สมัยอยุธยา มี 4 รูปทรง
ทรงไทยเดิม ทรงตะโก ทรงมะนาว ทรงลูกจันทร์ แต่ปัจจุบัน
พระจะเรียกขึ้นมาอีกชื่อหนึ่ง คือ ทรงหัวเสือ ซึ่งไม่ใช่ทรงที่ 5
มันเป็นทรงเดียวกับทรงตะโก 4 รูปทรงก็ยังเป็นโบราณอยู่
เพียงแต่เพิ่มชื่อขึ้นมา เท่านั้น แล้วก็ตามพระวินัย กำาหนดให้
ใช้คือบาตรทีทำาจากดินและโลหะ
              ่
ข้อ แตกต่า งระหว่า งบาตรเหล็ก กับ บาตรสแตนเลส
บาตรเหล็กก็คือ 1 พระสายธรรมยุติ เวลาท่านมาสังซื้อใน   ่
ชุมชนบ้านเราไปแล้ว ท่านจะต้องไปทำาวิธีบ่มบาตร คือการ
เผาบาตร เผาบาตรตั้งแต่ 18 ชั่วโมงขึ้นไป ทิ้งให้เย็นเป็น
เวลาประมาณ 2 วัน แล้วก็ผิวของวัสดุที่ถกเผาไปเนี่ย มันจะ
                                             ู
เปลี่ยนไปเป็นคล้าย ๆ เหมือนสารเทฟลอนที่เคลือบ แต่อันนี้
เค้าไม่ได้ใช้สารอะไร ใช้แต่เผาอย่างเดียว วัสดุก็จะเปลี่ยน
ไป แต่บาตรใบนั้นก็จะถูกนำ้าได้โดยไม่เป็นสนิม ถ้าถามอันนี้
เป็นภูมิปัญญาของพระมั้ย ไม่ใช่ เป็นพุทธวินัยกำาหนดใน
พระไตรปิฎกเลย ให้สุ่มบาตรเป็น 5ไฟ ไฟนึงเนี่ยจะใช้เวลา
ครั้งแรกคือถือไปแล้วใช้ไปแล้วประมาณ 2 เดือนแล้วก็สีมัน
อาจจะลอก ก็สุ่มอีกครั้งที่ 2 ที่ 3 จนถึงครั้งที่ 5ต่างกับเหล็ก
กับสแตนเลส ก็คือ สแตนเลสปัจจุบันไม่เป็นสนิม และเกรด
ของสแตนเลสทีเราใช้อยู่เป็นเกรดที่ดี ลูกค้าอันดับหนึ่งเป็น
                ่
ชาวต่างประเทศ รองลงมาก็คือพระสงฆ์ แต่พระสงฆ์ส่วน
ใหญ่จะเป็นธรรมยุตินิกายหรือพระป่า จะนิยมใช้บาตรที่ทำา
แบบโบราณ แต่ถ้าเป็นมหานิกาย เค้าใช้ความสะดวก
สามารถซื้อที่ไหนก็ได้ แม้จะเป็นบาตรปั๊มเค้าก็ซื้อได้
การทำา บาตร
 นายสมชาย     ล้วนวิลัยได้รับการฝากฝังจากผู้ใหญ่
  ให้เข้าฝึกหัดทำาโขนจากครูชิด แก้วดวงใหญ่ช่าง
  ทำาหัวโขนฝีมอเยี่ยมทีได้รับการถ่ายทอดวิชาการ
                ื       ่
  ทำาหัวโขนจากคุณพระเทพยนต์และขุนสกล
  บัณฑิตช่างหลวงในกรมช่างสิบหมูสมัยรัชกาลที่
                                    ่
  ๕-๖
 นายสมชายเป็นลูกมือของครูชิดจนกระทั่งลา
  สิกขาแล้วเข้ารับราชการสังกัดกรมสรรพาวุธ
  ทหารบก ในระหว่างที่รับราชการก็รับทำาและ
  ซ่อมแซมหัวโขนรวมทังเครื่องละคร จนกระทั่งลา
                          ้
  ออกจากราชการและได้ถ่ายทอดวิชาเกี่ยวกับการ
  ทำาหัวโขนให้ภรรยาและลูกๆได้ทำาเป็นอาชีพ
 บ้านโขนไทยสามารถทำาให้คนในชุมชนได้มี
  อาชีพ
 บ้านโขนไทยสามารถให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเกี่ยว
  กับหัวโขน
 ….”วัดไผ่ตัน” ตั้งอยู่ริมคลองบางซื่อ ซอยพหลโยธิน 15 มี
  เนือที่ 13 ไร่เศษ
      ้
  แต่เดิมชื่อวัดไส้ตัน มีอายุกว่า 200 ปี วิหารจตุรมุข
  ประดิษฐานหลวงพ่อพุทธโสธรจำาลอง ซึ่งหล่อในปี พ.ศ.
  2496
  โบสถ์วิหาร หอระฆัง ของเดิมเก่าแก่ชำารุดทรุดโทรม ได้ถูก
  รือและสร้างขึ้นใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2504
    ้
  พร้อมพระประธานปางสะดุ้งมาร บานประตู หน้าต่างลงรัก
  ปิดทองภาพเรื่องราวพุทธประวัติ
 ….เนื่องจากเป็นวัดแห่งเดียวในพื้นที่เขตพญาไท จึงเป็น
  สถานที่จัดกิจกรรมงานประเพณี เป็นประจำาทุกปี อาทิ งาน
  ปิดทองหลวงพ่อพุทธโสธรจำาลอง วันที่ 1 – 7 เมษายน,
  งานทำาบุญสงกรานต์ของชาวชุมชนประมาณวันที่ 11 – 13
  เมษายน, พิธีแห่และถวายเทียนจำานำาพรรษา ก่อนวันขึ้น 1
  5 คำ่า เดือน 8, ประเพณีตักบาตรเทโว วันแรม 1 คำ่า เดือน 8
  , ประเพณีตักบาตรเทโววันแรม 1 คำ่า เดือน 11 และ
   ที่อ ยู่: ซ.พหลโยธิน15 ถ.พหลโยธิน ต.สามเสนใน
    อ.พญาไท จ.กรุงเทพ

   เปิด : ทุกวัน

   รถโดยสารประจำา ทาง: 8 26 27 29 34 38 96 97

   บีท ีเ อส: สถานีสะพานควาย
ภูมิปัญญา
ภูมิปัญญา

More Related Content

Similar to ภูมิปัญญา

บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงPN17
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงCH OO
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการfufee
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนักleam2531
 
บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,moowhanza
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวาพิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวาmoowhanza
 

Similar to ภูมิปัญญา (20)

บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
File
FileFile
File
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
จางหนัก
จางหนักจางหนัก
จางหนัก
 
บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวาพิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก ศิวา
 

ภูมิปัญญา

  • 1.
  • 2.
  • 3. ชุมชนกุฎีจีน เป็นชุมชนของชาวไทยเชือ ้ สายโปรตุเกสที่อพยพมาจากกรุงศรีอยุธยาเมื่อ กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 ปัจจุบันลูกหลานของชาวโปรตุเกสเหล่านั้น หน้าตาออกไปทางคนไทยไปหมดแล้วหรือ กล่าวง่ายๆก็คือต้องตั้งใจสังเกตุถึงจะดูออกว่ามี เชือสายโปรตุเกส ชุมชนแห่งนี้มีโบสถ์ซางตาครู้ ้ ส เป็นศูนย์กลางของชุมชน ชุมชนแห่งนี้มีขนม ฝรั่งกุฎีจีนขายเป็นขนมพื้นเมืองของชุมชนนี้ และขนมฝรั่งกุฎีจีนของชุมชนนีถือได้ว่าเป็น ้ ขนมพื้นเมืองของกรุงเทพมหานครเลยทีเดียว ชุมชนกุฎีจีนตั้ง อยู่ริมแม่นำ้าเจ้าพระยา ตั้งอยู่ที่
  • 4.
  • 5. ขนมฝรั่งกุฎีจีน เป็นขนมโบราณที่คน ไทยรู้จักกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาที่ทำาสืบต่อกัน มาเรื่อยๆ ปัจจุบนขนมกุฎีจีนได้ทำาอยู่ประจำาที่ ั ชุมชนกุฎีจีน เอกลักษณ์ของขนมกุฎีจีนชนิดนี้ อยู่ที่เป็นขนมลูกผสมระหว่างจีนกับฝรั่ง ตัว ขนมเป็นตำารับของโปตุเกส ขณะที่หน้าของ ขนมเป็นจีนซึ่งประกอบด้วยฝักเชือม ชาวจีน ่ เชือว่ารับประทานแล้วจะร่มเย็น นำ้าตาลทราย ่ ทานแล้วจะมั่งคั่งไม่รู้จบเหมือนกับนำ้าตาล ทรายที่นบเม็ดไม่ได้ นอกจากนียังมีลูกพลับอบ ั ้ แห้ง และลูกเกด ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีราคาและมี คุณค่าทางอาหาร
  • 6. แม้ขนมฝรั่งหน้าตากระเดียดมาทางขนม เค้ก แต่ด้วยสูตรพิเศษที่สบทอดมาแต่โบราณจะ ื ใช้เพียงไข่ แป้งสาลี และนำ้าตาลทรายแดง เท่านั้น ไม่มีส่วนผสมของเนยนม ยีสต์ ผงฟู และ สารกันบูด แต่เมื่อผ่านการอบด้วยอุณหภูมิความ ร้อนที่พอเหมาะ จะได้ขนมที่ออกมารสชาติกรอบ นอกนุ่มในพอดิบพอดี ยากที่จะเลียนแบบ
  • 7.
  • 8. ขนมฝรั่งกุฎีจีนของร้าน "ธนูสิงห์"ปัจจุบนนี้ ั มีคณภาคภูมิ สุจจิตรจูล ซึ่งเป็นทายาทรุ่นที่ 5 ุ เป็นเจ้าของและเป็นผู้ทำาขนมฝรั่งกุฎีจีนตามแบบ ฉบับสูตรต้นตำารับขนานแท้ ร้านธนูสิงห์ เป็นร้านที่ขายความเป็นขนม ฝรั่งกุฎีจีนแบบโบราณคือ มีลักษณะเด่นตรงที่ใช้ วัตถุดิบอย่างดีมาทำาขนม คือมีแป้ง ไข่ และ นำ้าตาล เพียงแค่ 3 อย่างนี้ตีให้สวนผสมเข้ากัน ่ จนขึ้นฟู ด้วยความชำานาญส่วนตัวเท่านั้น โดย ไม่ได้ใส่ผงฟู หรือว่าวัตถุกันเสียแต่อย่างใด แล้ว ก็นำาไปเทใส่แม่พิมพ์แล้วอบจนขนมสุกได้ที่ โดย จะทำาแบบสดใหม่ เรียกว่าจะได้กลิ่นของขนม ฝรั่งกุฎีจีนที่อบใหม่ๆ ร้อนๆ จากเตาส่งกลิ่นหอม
  • 9. ขนมฝรั่งกุฎจีนทีร้านนี้จะมีอยู่ 2 แบบ คือ มี ี ่ ขนมฝรั่งกุฎจีนแบบดังเดิม (ชิ้นเล็ก) คือไม่มหน้า ี ้ ี สามารถเก็บไว้ได้นาน 7-10 วัน ตัวขนมเนือจะเบา ้ นุมหอม ออกรสไม่หวานมาก ่ ส่วนอีกแบบมีหน้าชิ้นใหญ่ คือโรยหน้าด้วยลูกเกด ลูกพลับ ชิ้นฟัก และนำ้าตาลทราย (แต่ถ้าเป็นชิ้นเล็ก จะไม่ใส่ลูกพลับ) สามารถเก็บไว้ได้ 10-14 วัน ตัว เนือขนมแห้งฟูนมร่วน แต่ตรงหน้าขนมจะเคี้ยวก ้ ุ่ รุบๆ เพราะตัวนำ้าตาลโรยหน้า ส่วนราคาขนมถือว่า ไม่แพง ขนมฝรั่งกุฎจนชิ้นใหญ่ (ชิ้นละ 20 บาท) ถ้า ี ี
  • 10.
  • 11.   พื้นเพในชุมชนบ้านครัวเป็นชาวจาม หรือ เขมรจาม  ที่อพยพเพื่อจะ พึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช โดยตั้งถิ่นฐานอยูที่ริมครองแสนแสบ ซึ่งเป็นที่ดินที่พระองค์ ่ พระราชทานให้ และได้อาสาเข้าร่วมรบขับไล่ขาศึกที่เข้ามารุกราน ้ กรุงรัตนโกสินทร์  มีอาชีพดั้งเดิมคือการทำาประมงและการทอผ้าไหม พื้นเมือง  ในยุคแรกจะทอเป็นผ้าขาวม้า ผ้าโสร่ง     ชุมชนนี้อายุกว่า 50 ปี ชุมชนตั้งอยูแถวสองฟากคลองแสนแสบ ่ สภาพบ้านเรือนเป็นไม้เก่าแก่ บางหลังมีอายุเกือบร้อยปี ชุมชนบ้าน ครัว แบ่งออกเป็นสามส่วนด้วยกัน คือ บ้านครัวเหนือ บ้านครัวใต้ และ บ้านครัวตะวันตก การแบ่งออก 3 ส่วนเพื่อการดูแลจัดการชุมชนจะได้ ง่ายขึ้น  ต่อมาเมื่อจิม ทอมป์สัน เข้ามาประกอบธุรกิจผ้าไหมส่งออกไปต่าง ประเทศ ก็ได้ช่วยพัฒนาปรับปรุงออกแบบลวดลายสีสันและใช้ฝีมือ การทอจากชาวชุมชนเป็นหลักซึ่งจุดเด่นของผ้าไหมของชุมชนแห่งนี้ ก็คือเนื้อผ้าจะมีคุณภาพสูง เส้นไหมจะเนื้อแน่นละเอียด สีจะสดสวย     เมื่อปี พ.ศ.2510 เหตุการณ์การหายตัวของ จิม ทอมป์สัน ที่ ประเทศมาเลเซีย ทำาให้ส่งผลกระทบต่อการดำาเนินงานของชุมชนแห่ง นี้ และสาเหตุหนึ่งคือการขาดสนับสนุนจากส่วนต่างๆจึงทำาให้หลาย
  • 12.  ในชุมชนแห่งนี้มความสำาคัญดังนี้ ี  1.สามารถให้ผู้ทอยากศึกษาเรื่องผ้า ี่ กระบวนการ การทำาผ้า และภูมปัญญาการทอผ้าไหมสามารถ ิ ศึกษาได้  2.สามารถเรียนรู้วิถีชุมชนของชุมชนบ้านครัวได้
  • 13.
  • 15. ชุม ชนบ้า นบาตร ปัจจุบันตั้งอยู่ : บริเวณสี่แยกเมรุปูน ซอยบ้านบาตร ถนน บำารุงเมืองและถนนบริพตร แขวงสำาราญราษฎร์ เขต ั ป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีพนที่ประมาณ 4 ไร่ 37 ื้ งาน ที่ดินเป็นของสำานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สภาพทั่วไปเป็นบ้านไม้ชั้นเดียวและสองชั้น
  • 16. เนื้อความในพงศาวดารฉบับหนึ่งกล่าวถึงภูมิสถานอยุธยาว่า ตลาดหน้าวัดพระมหาธาตุที่กลางกรุง เป็นตลาดค้าบาตรถลก บาตร เฉกเช่นเดียวกับตลาดเสาชิงช้ากลางกรุงเทพมหานคร อันเป็นย่านการค้าพระพุทธรูปใหญ่น้อยและเครื่องสังฆภัณฑ์ นานาชนิด สถานที่ดังกล่าวนี้เองเคยเป็นตลาดใหญ่ขายส่ง บาตรของชาวบ้านเมื่อหลายสิบปีล่วงมาแล้ว ทั้งนี้ด้วยอาศัยแรง ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนร่วมกันทำานุบำารุงค้าชูพระศาสนา โดยประเพณีบวชลูกหลานสืบเนื่องต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย ชาวบ้านบาตรจึงมีงามอุดมพอเลี้ยงชีพและผดุงศิลปะการทำา บาตร ต่อมาในชุมชนบ้านบาตรทุกเหย้าเรือน "จนกระทั่งปีพ.ศ.2514มีการก่อตั้งโรงงานผลิตบาตรพระขึ้นมา จึงทำาให้กจการทำาบาตรพระที่บ้านบาตรค่อยๆลดน้อย ิ ลงไป "ก่อนหน้านั้นบ้านบาตรทำาบาตรพระกันทั้งหมู่บ้าน พอ เจอบาตรปั๊มจากโรงงานตีตลาด เราก็หยุดไปประมาณ 20-30 ปี มาปี พ.ศ.2544 มีการตั้งกลุมทำา ่ บาตรพระขึ้นมา โดยท่านชาญชัย วามะศิริ ผู้อำานวยการเขต ป้อมปราบฯ ท่านได้ส่งเสริมอนุรักษ์การทำาบาตรของเรา โดย
  • 17.  วัสดุที่ใช้ทำาบาตร ในอดีตคือ ตัวถังเหล็กยางมะตอย ทีทาง ่ เทศบาลกรุงเทพมหานครใช้ใส่ยางมะตอยเพื่อราดถนน เมื่อถึง เวลาจะมีคนนำาถังยางมะตอยที่ใช้แล้วมาส่งให้ที่ชุมชน ราคา ประมาณ 10 กว่าบาทต่อถัง 1 ใบ โดยถังยางมะตอยทำาจาก เหล็ก มีเนือบาง ทำาให้สามารถตีบาตรได้ง่าย ้ จึงต้องทำาจากเหล็กหนา ด้วยขั้นตอนที่ซับซ้อนในการทำาบาตร ด้วยเหล็กคุณภาพดี  ด้วยคุณสมบัติของบาตรที่ทำาด้วยมือของชาวบ้านบาตร เมื่อ เทียบกับราคาแล้วถือว่าคุ้มค่าเป็นอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับ บาตรปั๊มที่ทำาจากเครื่องจักรกล นอกจากนั้น บาตรยังต้องกับ พระวินัยและ ยังมีความคงทนมีความหลากหลายในรูปทรงที่ สืบทอดภูมิปัญญามาแต่โบราณ ซึ่งช่างทำาบาตรที่ยึดอาชีพนี้จะ ต้องทำาด้วยใจรักอย่างแท้จริง ทำาขึ้นด้วยความศรัทธาใน พระพุทธศาสนา ด้วยความเคารพในวิชาความรู้ ครูบาอาจารย์ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้สอยในการยังชีพทุกชิ้น ตาม แบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทย บาตรของชาว บ้านบาตรจึงกอปรด้วยคุณค่าที่ผสานฝีมือแรงงานและจิตใจไว้
  • 18.  การทำาบาตรแบบโบราณ มีทั้งหมด 21 ขั้นตอน ซึ่งค่อน ข้างละเอียด แต่ที่ป้ายชุมชนเขียนไว้ประมาณ 12-13 ขั้น ตอนคือหลักใหญ่  ขั้นตอนแรก คือ การตีปากบาตร หรือ ขอบบาตร หลังจาก นั้น แล้วก็ ไปตัดแผ่นเหล็ก ตามอัตราส่วนของบาตร แต่ละ ใบ แต่ละขนาด แล้วก็มาขึ้นรูป หลังจากขึนรูปแล้ว เราก็ ้ เอาไปเชื่อม พอเชื่อมเสร็จเราก็มาตีตะเข็บ ตีตะเข็บเสร็จก็ มาทำาทรง ทำาทรงเสร็จก็ตีเก็บเนื้อ คือการตีเม็ด คือต้องตี ให้เรียบเหมือนอย่างเดิม แล้วก็ไปตะไบผิวให้มันเกลี้ยง แล้วไปทำาสี คือวิธีการรมดำา นั่นคือขั้นตอนสุดท้าย อันนี้คือ แบบคร่าวคร่าว
  • 19. แบบใหม่กับแบบเก่า ซึ่งที่หมายถึงคือบาตรปั๊มนั้น ที่ทำา ด้วยเครื่องไม่มีตะเข็บ เค้าจะสามารถทำาด้วยเครื่อง ได้เป็น ร้อยร้อยพันพันใบ คือเค้ามีบล็อกของเค้าแล้ว แต่ถ้าถามว่า วัสดุของเค้าเกรดค่อนข้างจะตำ่ากว่าบาตรของบ้านบาตร แต่ถ้าบาตรทำามือมันจะใช้เวลาค่อนข้างนาน อย่างบาตร ใบใหญ่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 นิ้ว จะใช้เวลา ประมาณหนึ่งอาทิตย์ ทำาไมถึงช้า ช้าเพราะว่าตอนนี้ จำานวนช่างที่ทำามันเหลือน้อยลง มีผู้ประกอบการเพียง 5 ครอบครัว รวมทั้งช่างด้วย ไม่เกิน 20 คน ขั้นตอนการทำา เหมือนอย่างเดิม แต่เวลาจะค่อนข้างช้า
  • 20. รูป ทรงต่า ง ๆ รูปทรงต่าง ๆ เป็นแบบโบราณตั้งแต่สมัยอยุธยา มี 4 รูปทรง ทรงไทยเดิม ทรงตะโก ทรงมะนาว ทรงลูกจันทร์ แต่ปัจจุบัน พระจะเรียกขึ้นมาอีกชื่อหนึ่ง คือ ทรงหัวเสือ ซึ่งไม่ใช่ทรงที่ 5 มันเป็นทรงเดียวกับทรงตะโก 4 รูปทรงก็ยังเป็นโบราณอยู่ เพียงแต่เพิ่มชื่อขึ้นมา เท่านั้น แล้วก็ตามพระวินัย กำาหนดให้ ใช้คือบาตรทีทำาจากดินและโลหะ ่
  • 21. ข้อ แตกต่า งระหว่า งบาตรเหล็ก กับ บาตรสแตนเลส บาตรเหล็กก็คือ 1 พระสายธรรมยุติ เวลาท่านมาสังซื้อใน ่ ชุมชนบ้านเราไปแล้ว ท่านจะต้องไปทำาวิธีบ่มบาตร คือการ เผาบาตร เผาบาตรตั้งแต่ 18 ชั่วโมงขึ้นไป ทิ้งให้เย็นเป็น เวลาประมาณ 2 วัน แล้วก็ผิวของวัสดุที่ถกเผาไปเนี่ย มันจะ ู เปลี่ยนไปเป็นคล้าย ๆ เหมือนสารเทฟลอนที่เคลือบ แต่อันนี้ เค้าไม่ได้ใช้สารอะไร ใช้แต่เผาอย่างเดียว วัสดุก็จะเปลี่ยน ไป แต่บาตรใบนั้นก็จะถูกนำ้าได้โดยไม่เป็นสนิม ถ้าถามอันนี้ เป็นภูมิปัญญาของพระมั้ย ไม่ใช่ เป็นพุทธวินัยกำาหนดใน พระไตรปิฎกเลย ให้สุ่มบาตรเป็น 5ไฟ ไฟนึงเนี่ยจะใช้เวลา ครั้งแรกคือถือไปแล้วใช้ไปแล้วประมาณ 2 เดือนแล้วก็สีมัน อาจจะลอก ก็สุ่มอีกครั้งที่ 2 ที่ 3 จนถึงครั้งที่ 5ต่างกับเหล็ก กับสแตนเลส ก็คือ สแตนเลสปัจจุบันไม่เป็นสนิม และเกรด ของสแตนเลสทีเราใช้อยู่เป็นเกรดที่ดี ลูกค้าอันดับหนึ่งเป็น ่ ชาวต่างประเทศ รองลงมาก็คือพระสงฆ์ แต่พระสงฆ์ส่วน ใหญ่จะเป็นธรรมยุตินิกายหรือพระป่า จะนิยมใช้บาตรที่ทำา แบบโบราณ แต่ถ้าเป็นมหานิกาย เค้าใช้ความสะดวก สามารถซื้อที่ไหนก็ได้ แม้จะเป็นบาตรปั๊มเค้าก็ซื้อได้
  • 23.
  • 24.  นายสมชาย ล้วนวิลัยได้รับการฝากฝังจากผู้ใหญ่ ให้เข้าฝึกหัดทำาโขนจากครูชิด แก้วดวงใหญ่ช่าง ทำาหัวโขนฝีมอเยี่ยมทีได้รับการถ่ายทอดวิชาการ ื ่ ทำาหัวโขนจากคุณพระเทพยนต์และขุนสกล บัณฑิตช่างหลวงในกรมช่างสิบหมูสมัยรัชกาลที่ ่ ๕-๖  นายสมชายเป็นลูกมือของครูชิดจนกระทั่งลา สิกขาแล้วเข้ารับราชการสังกัดกรมสรรพาวุธ ทหารบก ในระหว่างที่รับราชการก็รับทำาและ ซ่อมแซมหัวโขนรวมทังเครื่องละคร จนกระทั่งลา ้ ออกจากราชการและได้ถ่ายทอดวิชาเกี่ยวกับการ ทำาหัวโขนให้ภรรยาและลูกๆได้ทำาเป็นอาชีพ
  • 25.  บ้านโขนไทยสามารถทำาให้คนในชุมชนได้มี อาชีพ  บ้านโขนไทยสามารถให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเกี่ยว กับหัวโขน
  • 26.
  • 27.
  • 28.  ….”วัดไผ่ตัน” ตั้งอยู่ริมคลองบางซื่อ ซอยพหลโยธิน 15 มี เนือที่ 13 ไร่เศษ ้ แต่เดิมชื่อวัดไส้ตัน มีอายุกว่า 200 ปี วิหารจตุรมุข ประดิษฐานหลวงพ่อพุทธโสธรจำาลอง ซึ่งหล่อในปี พ.ศ. 2496 โบสถ์วิหาร หอระฆัง ของเดิมเก่าแก่ชำารุดทรุดโทรม ได้ถูก รือและสร้างขึ้นใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2504 ้ พร้อมพระประธานปางสะดุ้งมาร บานประตู หน้าต่างลงรัก ปิดทองภาพเรื่องราวพุทธประวัติ  ….เนื่องจากเป็นวัดแห่งเดียวในพื้นที่เขตพญาไท จึงเป็น สถานที่จัดกิจกรรมงานประเพณี เป็นประจำาทุกปี อาทิ งาน ปิดทองหลวงพ่อพุทธโสธรจำาลอง วันที่ 1 – 7 เมษายน, งานทำาบุญสงกรานต์ของชาวชุมชนประมาณวันที่ 11 – 13 เมษายน, พิธีแห่และถวายเทียนจำานำาพรรษา ก่อนวันขึ้น 1 5 คำ่า เดือน 8, ประเพณีตักบาตรเทโว วันแรม 1 คำ่า เดือน 8 , ประเพณีตักบาตรเทโววันแรม 1 คำ่า เดือน 11 และ
  • 29. ที่อ ยู่: ซ.พหลโยธิน15 ถ.พหลโยธิน ต.สามเสนใน อ.พญาไท จ.กรุงเทพ  เปิด : ทุกวัน  รถโดยสารประจำา ทาง: 8 26 27 29 34 38 96 97  บีท ีเ อส: สถานีสะพานควาย