SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ประวัติและผลงานของ สล่ า เพชร วิริยะ

                                                                      สล่ า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม
                                                                      พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้ านบวกค้ าง อาเภอ
                                                                      สันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นบุตรของ นาย
                                                                      สิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่น้อง 5
                                                                      คน คือ

                                                                      1. นายเพชร วิริยะ

                                                                      2. นายสุภาพ วิริยะ

                                                                      3. นายเสน่ห์ วิริยะ

                                                                      4. นายพิภัคร์ วิริยะ

                                                                      5. นางเพลินจิต วิริยะ

                                                                      ที่อยู่ "บ้ านจ๊ างนัก"

                                                                      บ้ านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้ าง
                                                                      อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่

                                                                โทรศัพท์ (053) 3446891,01-4725051

ครอบครั ว

นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป) มีบตรธิดาทั ้งหมด 2 คน คือ
                                                   ์    ุ

1. นางสาววารียา วิริยะ

2. นางสาวเวรุยา วิริยะ

การศึกษา

ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนผู้ใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่
การศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรียนผู้ใหญ่สนกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
                                                    ั



     วิถีชีวิต : เกษตรศิลปิ น “บ้ านจ๊ างนัก” “สล่าเพชร วิริยะ” “แกะสลัก” อนุรักษ์ “ช้ าง”


“ทีแรกก็ไม่ร้ ูด้วยซ ้าไปว่างานศิลปะคืออะไร... ”

เป็ นประโยคหนึงจากบทสนทนาของชายคนหนึง ชายชาวบ้ านหมู่ 2 ต.บวกค้ าง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ ซึงชายที่กล่าว
              ่                     ่                                                       ่
ประโยคนี ้ ณ วันนี ้นอกจากจะเป็ น “เกษตรกร” แล้ ว...เขายังเป็ น “ศิลปิ น” มีชื่อเสียงคนหนึงแถบล้ านนา...ในฐานะ “นัก
                                                                                          ่
แกะสลัก ” ที่ไม่เพียงสร้ างสรรค์งานศิลปะชั ้นเลิศ...แม้ ว่าครั ้งหนึงจะไม่ร้ ูซึ ้งถึงความหมายของคาว่า “ศิลปะ” แต่งานศิลปะ
                                                                    ่
ที่เขาทายังใหญ่โตระดับ “ช้ าง”



“สล่าเพชร-เพชร วิริยะ ” ศิลปิ น “นักแกะสลัก ” แห่ง “บ้ านจ๊ างนัก ”

“เพชร วิริยะ ” หรือ “สล่าเพชร ” เป็ น “ช่างแกะสลักช้ าง ” ที่มีชื่อเสียง ได้ รับการยกย่องในฝี มือ เป็ นศิลปิ นดีเด่นจังหวัด

เชียงใหม่ปี 2543 สาขาทัศนศิลปด้ านประติมากรรม ซึงเขาเล่าถึงชีวิตตนเองให้ ฟังว่า... เป็ นคนเชียงใหม่โดยกาเนิด เกิดที่
                             ์                  ่
บ้ านบวกค้ าง สันกาแพง เมื่อวันที่ 8 มี.ค.2498 มีพี่น้องทั ้งหมด 5 คน เป็ นบุตรของ นายสิงห์-นางบัวจีน วิริยะ มีภรรยาชื่อ
นงเยาว์ วิริยะ มีบตรด้ วยกัน 2 คนพื ้นฐานครอบครัวที่อยู่ในชนบท พ่อแม่มีอาชีพทาไร่ทานาตามประสาคนต่างจังหวัด
                  ุ
ฐานะทางบ้ านจึงไม่ได้ ร่ารวยเงินทองอะไร แต่ก็ไม่ถงกับยากจนข้ นแค้ น ฐานะก็กลาง ๆ พ่อแม่ก็พอที่จะส่งเสียลูก ๆ ให้ ได้
                                                 ึ
เรียนตามสมควร โดยลูกทุกคน รวมถึงคนที่เติบโตขึ ้นมาเป็ นช่างแกะสลักช้ าง ต่างก็ได้ เรียนจนจบชั ้น ป. 4

“ที่ได้ เรียนกันแค่ชั ้น ป. 4 ก็เพราะว่าสมัยก่อนนั ้นชาวบ้ านแถบนี ้เขาจะคิดกันว่า ให้ ลกหลานเรียนแค่นี ้ก็พอ หลังจากนั ้นก็ให้
                                                                                        ู
ออกมาช่วยกันทามาหากิน ดังนั ้น ในสมัยนั ้นเพื่อน ๆ ทุกคน รวมทั ้งผม จึงมีโอกาสที่จะเรียนได้ แค่นี ้ ทั ้งที่ความจริงแล้ วก็
อยากที่จะเรียนต่อ ”อย่างไรก็ตาม สล่าเพชรบอกว่า... การที่ไม่ได้ เรียนสูง ๆ แต่แรกก็ใช่ว่าจะเป็ นเรื่องเลวร้ ายของชีวิต ก็ยง
                                                                                                                         ั
สามารถที่จะศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้ วยตัวเอง เพื่อพัฒนาชีวิตให้ ดีขึ ้นได้ ซึงสาหรับตัวเขาสิงแรกที่เรียนรู้เพิ่มเติมด้ วยตัวเอง
                                                                             ่              ่
ก็คือ “ฝึ กฝนการวาดภาพ ” เมื่อมีเวลาว่าง โดยเป็ นคนที่ “ชอบงานศิลปะ ” มาตั ้งแต่เด็ก “ทีแรกก็ไม่ร้ ูด้วยซ ้าไปว่างานศิลปะ
คืออะไร แต่จาได้ ว่าเมื่อตอนมีโอกาสได้ เข้ าไปเที่ยวในเมืองกับพ่อแม่ ไปเดินเล่นแล้ วไปพบเห็นหน้ าปกหนังสือที่มีรูป
สวยงาม ก็เกิดความชอบหลงใหล จาได้ ว่าเป็ นหนังสือเพชรพระอุมา ยืนดูชื่นชมเป็ นชัวโมง เมื่อได้ เห็นภาพวาดสวย ๆ ก็
                                                                              ่
เหมือนเป็ นแรงกระตุ้น หลังจากกลับมาก็เริ่มหัดวาดภาพต่าง ๆ ด้ วยตัวเอง ”
พออายุได้ ประมาณ 16-17 ปี เขาก็เริ่มที่จะสนใจงาน “แกะสลัก ” เพราะได้ เห็นเพื่อนรุ่นพี่เป็ นช่างแกะสลัก ซึงในตอนแรกก็
                                                                                                         ่
ไม่ได้ เรียนแกะสลักอย่างจริงจัง จนมาภายหลังได้ ยินในหมู่บ้านว่า “ครูคาอ้ าย เดชดวงตา ” ครูของทางกรมส่งเสริม
อุตสาหกรรมเข้ ามาสอนแกะสลัก ก็เกิดความสนใจและรีบไปสมัครเรียนทันที “ถือว่าเป็ นครูสอนแกะสลักคนแรกผม ”และที่
หันมาชอบงานแกะสลัก ก็เพราะคิดว่ามันเป็ นงานศิลปะที่ต่อเนื่อง เมื่อมีโอกาสที่จะได้ เรียนในเรื่องการแกะสลักจึงรีบไป
เรียน และที่ชอบการแกะสลัก “ช้ าง” ก็เพราะครูคาอ้ ายที่มาสอนนั ้นจะสอนการแกะสลักช้ างเป็ นหลัก ซึงเรียน ไปได้
                                                                                                ่                        2

สัปดาห์ก็สามารถแกะสลักช้ างได้ พอเป็ นรูปเป็ นร่าง “เพื่อน ๆ ที่เรียนด้ วยกันยังแกะไม่ได้ ตรงนี ้ยิ่งเป็ นการสร้ างแรงจูงใจ
มากขึ ้น”

สล่าเพชรเล่าต่อไปว่า... หลังจากที่ฝึกฝน รับการประสิทธิประสาทฝี มือการแกะสลักจากครูอยู่            4 ปี   ตั ้งแต่ปี 2515-2519 ก็
พอที่จะมีความรู้ความชานาญในการแกะสลัก จึงตัดสินใจลาครูออกท่องยุทธจักรวงการแกะสลักด้ วยตัวเอง ตระเวนหา
งานแกะสลักทาเพื่อเป็ นการเก็บเกี่ยวประสบการณ์ไปทัวเริ่มจากทางานตามร้ านเฟอร์ นิเจอร์ ที่ จ.ลาปาง ทาอยู่ไม่นานก็
                                                 ่
ย้ ายไปทาที่ จ.เชียงราย และในเชียงใหม่ “เรียกว่าในตอนนั ้นที่ไหนมีงานมีเงินดีไปหมด ”ระหว่างที่ทางาน สล่าเพชรก็ได้
ศึกษาเพิ่มเติมไปด้ วย เพราะเดิมก็อยากเรียนต่ออยู่แล้ ว จึงทางานไปด้ วยเรียนศึกษาผู้ใหญ่ไปด้ วย จนสามารถจบระดับ ม.
ศ.3“พอผมเรียนจบเพื่อน ๆ หลายคนก็ชวนไปรับราชการ แต่ไม่ไป เพราะใจรักในงานแกะสลักมากกว่างานรับราชการ แต่ก็
หนีไม่พ้น เมื่อครูคาอ้ ายลาออกก็มาชวนให้ ไปเป็ นครูต่อจากท่าน จึงตัดสินใจเข้ ากรุงเทพฯไปเป็ นครูสอนแกะสลัก ”เป็ นครู
อยู่ได้ 2 ปี ก็เริ่มเบื่อกับการใช้ ชีวิตในกรุงเทพฯ และเบื่อกับระบบที่ต้องทาตามคาสัง เพราะโดยปกติแล้ วเป็ นคนที่ชอบทา
                                                                                  ่
อะไรที่เป็ นอิสระ ประกอบกับช่วงนั ้นแต่งงาน เลยมีความคิดที่จะลาออกจากระบบราชการแล้ วกลับมาใช้ ชีวิตอยู่บ้านที่
เชียงใหม่กบภรรยา
          ั

หลังจากที่ลาออกมาเมื่อปี    2528 ก็กลับมาใช้ ชีวิตอยู่ที่บ้าน ทางานสร้ างผลงานการแกะสลักตามที่ถนัดไปเรื่อย โดย

นอกจากงานแกะสลักแล้ วสล่าเพชรก็ไม่ทิ ้งความเป็ น “เกษตรกร” ที่มีมาแต่สายเลือด โดยยึดอาชีพทาไร่นาควบคู่ไปด้ วย
พอมีเวลาว่างก็นาความรู้ประสบการณ์ ที่มีสอนการแกะสลักให้ กบเด็ก ๆ ในหมู่บ้าน “ตอนนั ้นสอนเด็ก ๆ ก็เพราะต้ องการที่
                                                         ั
จะให้ พวกเขาได้ สบสานตานานการแกะสลัก และสร้ างรายได้ ให้ กบพวกเขา เมื่อทาไปเรื่อย ๆ ก็เลยสร้ างเป็ นกลุมแกะสลัก
                 ื                                        ั                                            ่
ขึ ้น โดยเงินทุนที่นามาลงนั ้นก็ได้ รับการสนับสนุนจาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) คือนอกจาก
เราจะเป็ นช่างแกะสลักแล้ วยังเป็ นเกษตรกรด้ วย ก็ได้ ก้ เู งิน ธ.ก.ส.มาลงทุนด้ านการเกษตร และแบ่งส่วนหนึงเพื่อลงทุนทา
                                                                                                        ่
กลุมงานแกะสลัก ”
   ่

ช่างแกะสลักช้ างฝี มือเยี่ยมเล่าต่อไปว่า... เมื่อกลับมาอยู่บ้านก็พยายามที่จะสร้ างผลงานให้ ออกมาเป็ นแบบฉบับของ
ตัวเองให้ ได้ ก็ทาการศึกษาเพิ่มเติมไปเรื่อย จนเมื่อได้ อาจารย์อรุณ ชัยเสรี ให้ คาแนะนา ให้ ความรู้ในเรื่องของช้ าง จึงทาให้
มีความรู้เรื่องช้ างมากขึ ้นและสามารถพัฒนาผลงานออกมาได้ ดีขึ ้น

ช้ างที่เขาแกะสลักตอนแรกนั ้นสัดส่วนยังไม่ค่อยดีนก เพราะรู้จกช้ างแค่เท่า ๆ กับชาวบ้ านทัวไป เมื่อได้ คนสอน แนะนาให้
                                                 ั          ั                            ่
ลองไปศึกษาช้ างจริง ๆ จึงรู้จกช้ างมากขึ ้น จนทาให้ สามารถพัฒนาผลงานการแกะสลักช้ างออกมาได้ สดส่วนเหมือนจริง มี
                             ั                                                               ั
อิริยาบถต่าง ๆ และเป็ นแบบฉบับของตัวเองมากขึ ้น ”“การเป็ นช่างแกะสลักไม่ควรที่จะหยุดอยู่กบที่ จาเป็ นต้ องศึกษาหา
                                                                                         ั
ความรู้เพิ่มเติมไปเรื่อย ๆ ความรู้ในเรื่องของศิลปะ การแกะสลัก สามารถเรียนรู้ได้ ไม่มีวนหมด ”กับที่มาของคาว่า
                                                                                      ั
“บ้ านจ๊ างนัก ” ที่ปัจจุบนเป็ นทั ้งที่พกอาศัย สถานที่ทางานแกะสลักช้ าง รวมถึงเป็ นพิพิธภัณฑ์ย่อม ๆ
                          ั              ั

สล่าเพชรบอกว่า... ตอนที่กลับมาอยู่บ้านก็มีโอกาสสร้ างสรรค์ผลงานการแกะสลักช้ างออกมาเรื่อย ๆ ก็มีผลงานมากจนไม่
มีที่เก็บ จึงใช้ ย้ งข้ าวของพ่อดัดแปลงทาเป็ นที่เก็บผลงานทั ้งหมดที่อยากเก็บรักษาไว้
                    ุ

จนเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2531 อาจารย์อรุณ ชัยเสรี ได้ พา ประยูร จรรยาวงษ์ นักเขียนการ์ ตนชื่อดัง มาเยี่ยมชมผลงานการ
                                                                                     ู
แกะสลักช้ าง เมื่อได้ เห็นผลงานช้ างแกะสลักมากมายเต็มบ้ าน จึงตั ้งชื่อตามภาษาท้ องถิ่นว่า “บ้ านจ๊ างนัก ” ที่แปลว่าบ้ านมี
ช้ างมากมาย จึงใช้ ชื่อนี ้เป็ นชื่อบ้ าน-ชื่อกลุมแกะสลักเรื่อยมาถามว่าผลงานที่ทามาชิ ้นไหนที่สร้ างความภูมิใจให้ มากที่สด
                                                 ่                                                                       ุ      ?

คาตอบที่ได้ จากศิลปิ นคนนี ้ก็คือ... “ผลงานที่ผมทาออกมาเป็ นสิงที่ภูมิใจทุกชิ ้น เพราะผลงานทุกชิ ้นที่ทาออกมานั ้นเกิด
                                                              ่
จากการที่เราตั ้งใจ ใส่ใจที่จะสร้ างสรรค์ออกมา แต่ถ้าพูดถึงงานที่สร้ างความท้ าทายที่สดชิ ้นแรกก็เห็นจะเป็ นการแกะสลัก
                                                                                      ุ
ช้ างไม้ ที่ใหญ่เท่าตัวจริงที่สด ”เมื่อประมาณปี
                               ุ                  2537-2538 ทางบริษัทยูคอมได้ ว่าจ้ างแกะสลักช้ างไม้ ที่ใหญ่เท่าช้ างจริง มี

ความสูงจากเท้ าถึงหัวไหล่ 2.60 เมตร ถือว่าเป็ นงานแกะ สลักชิ ้นใหญ่ชิ ้นแรกที่เขารับทา เพราะคิดว่าเป็ นงานที่ท้าทาย
แถมยังได้ แรงบันดาลใจมาจากม้ าไม้ ขนาดใหญ่ในภาพยนตร์ เรื่องทรอย ซึงกว่าที่จะทาได้ สาเร็จก็ใช้ เวลาอยู่เป็ นปี แต่ก็
                                                                  ่
สร้ างความภูมิใจให้ ไม่น้อย “และล่าสุดผมก็กาลังแกะสลักช้ างเอราวัณสามเศียรที่สง
                                                                              ู          5 เมตรอยู่”นอกจากนี ้ ในงานพืชสวน

โลกที่ไทยจะเป็ นเจ้ าภาพจัดขึ ้นปลายปี นี ้ที่ จ.เชียงใหม่ ซึงจะมีการทาช้ างขึ ้นมาเป็ นส่วนหนึงในการทาให้ งานนี ้ดูยิ่งใหญ่
                                                             ่                                 ่
สล่าเพชรก็ได้ รับมอบหมายให้ สร้ างสรรค์ต้นแบบของช้ างด้ วย

“งานแกะสลักช้ างนี่ก็คงจะทาไปเรื่อย ๆ เพราะเป็ นงานที่รักและชอบที่จะทาตรงนี ้ แล้ วยังถือว่าเป็ นหน้ าที่ ปั จจุบนนี ้การ
                                                                                                                 ั
แกะสลักช้ างให้ ผ้ คนได้ ชื่นชมชื่นชอบไม่ใช่จิตวิญญาณที่แท้ จริง แต่ในความเป็ นจริงคืออยากที่จะสะท้ อนให้ คนไทยทุกคน
                   ู
หันมาให้ ความสนใจในเผ่าพันธุ์ของช้ างอย่างจริงจัง อยากให้ มีการอนุรักษ์ ให้ ช้างอยู่ค่กบบ้ านเมืองเราไปตราบนานเท่า
                                                                                      ูั
นาน สิงนี ้มันเป็ นสาระสาคัญของผลงานที่ผมทาออกมาทั ้งหมด... ”
      ่

“สล่าเพชร ” แห่ง “บ้ านจ๊ างนัก” กล่าวทิ ้งท้ ายก่อนจะเป็ น “ช้ างแกะสลัก ”




                                           “เสกสรรค์งานศิลป ถิ่นล้ านนา
                                                           ์

                                       สืบสานคุณค่า จิตวิญญาณช้ างไทย”
“เสกสรรค์งานศิลป ถิ่นล้ านนาสืบสานคุณค่า จิตวิญญาณช้ างไทย”
                        ์

นี่เป็ นคาจากัดความหนึงของ “บ้ านจ๊ างนัก” ศูนย์รวมกลุมสล่า-ช่างแกะสลักช้ างหลายสิบชีวิต ที่นาโดย
                      ่                               ่

“สล่าเพชร ” ซึงการแกะสลักช้ างของกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนักเป็ นทั ้งการสืบสานต่อศิลปะวิธีการแกะสลักช้ างที่ทาสืบทอดกัน
              ่                     ่
มาเป็ นเวลายาวนานใน จ.เชียงใหม่ เป็ นการสร้ างรายได้ ให้ กบคนในท้ องถิ่นและช่วยสร้ างฝี มือไว้ แก่คนรุ่นหลังไม่ให้ สญ
                                                          ั                                                         ู
หาย อีกทั ้งยังเป็ นการนาวัตถุดิบไม้ ที่หาได้ ในท้ องถิ่นมาสร้ างคุณค่าให้ เพิ่มพูนอย่างสูงสุด



ทั ้งนี ้ กับผลงานแกะสลักช้ างนั ้น นอกจากฝี มือการแกะแล้ วก็จาเป็ นต้ องมีองค์ประกอบในเชิงช่าง ไม่ว่าจะเป็ นเครื่องมือที่
หลัก ๆ ก็มี... สิวหมัก (สิวตัว V) มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ใช้ สลักนาเส้ นตามแบบงานและใช้ แต่งลายเส้ นต่าง ๆ , สิวแบน มี
                 ่        ่                                                                                  ่
หลายขนาด ทั ้งใหญ่ กลาง เล็ก ใช้ ถาก ย ้าเส้ นต่าง ๆ และตัดไม้ สวนที่ไม่ต้องการออก , สิวแกะ (สิวตัว U) ขนาดใหญ่ กลาง
                                                                ่                      ่       ่
เล็ก ใช้ แกะ ถาก เจาะ และตกแต่งรายละเอียดของชิ ้นงานค้ อน ใช้ ตอกสิว ทาด้ วยไม้ เนื ้อแข็งมีด้ามจับ มีหลายขนาดและ
                                                                   ่
หลายน ้าหนัก

ไม้ ปั จจุบน ไม้ ขี ้เหล็ก-ไม้ ฉาฉา-ไม้ ขนุน เป็ นไม้ ที่บ้านจ๊ างนักเลือกใช้ แทนไม้ สก เนื่องจากเป็ นไม้ ที่ขึ ้นในท้ องถิ่น ไม่ใช่ไม้ จาก
           ั                                                                          ั
ป่ า ซึงในอดีตเป็ นเพียงไม้ ทาฟื นของชาวบ้ าน และก็ยงใช้ บางส่วนของ ไม้ ตาล ด้ วยสี ก็เป็ นสีที่ได้ จากธรรมชาติ เป็ นสีของ
       ่                                            ั
ผลมะเกลือ นามาผ่านกรรมวิธีเฉพาะ

ว่าไปแล้ ว “ช้ างแกะสลัก ” บ้ านจ๊ างนัก...ก็มีจดกาเนิดจากธรรมชาติเฉกเช่นช้ างจริง ในวันที่ 15 มิถนายน 2550 เป็ นวันเปิ ด
                                                ุ                                                 ุ
งานแสดงผลงาน “พลังหญิงพลังศิลป ” เป็ นการรวมตัวของศิลปิ นหญิงในประเทศไทยเพื่อจัดกิจกรรมและแสดงผลงาน
                              ์
ศิลปกรรมร่วมกัน ในวันนั ้นดิฉนมีหน้ าที่กล่าวในพิธีเปิ ดงานในฐานะเป็ นผู้จดทาโครงการนี ้ในช่ว งระยะเวลาของการกล่าว
                             ั                                            ั
เพื่อขอบคุณดิฉนไล่เรียงทุกส่วนที่เกี่ยวข้ องอย่างราบรื่นจนถึงช่วงสุดท้ ายของการกล่าวโดยรู้สกว่าควรจะต้ องจบการกล่าว
              ั                                                                            ึ
ได้ แล้ วช่วงเวลานั ้นมีบางอย่างปรากฏเป็ นภาพประจันขึ ้นเต็มหน้ าดิฉน ภาพนั ้นเป็ นภาพขององค์พระคเณศเต็มพระพักตร
                                                                    ั
สีขาว
ผลงานและเกียรติประวัติ
ศิลปิ นดีเด่ นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543 สาขาทัศนศิลป ด้ านประติมากรรม
                                                        ์

พ.ศ.2535 : นาทีมกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการ คาราวานช้ างไม้ ๑ที่จงหวัดภูเก็ต
                   ่                                                    ั

พ.ศ.2536 : ร่วมแสดงมหกรรมประติมากรรม        93ปี ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี
                                                                 ์           ณ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ

            หอศิลปะ ถนนเจ้ าฟา กรุงเทพ
                             ้

พ.ศ.2537 :นาทีมงานกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้ างไม้ ๒ ณ ศูนย์การแพทย์
                     ่

โรงพยาบาลเทพธารินทร์ กรุงเทพมหานคร

พ.ศ.2541 :นาทีมงานกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้ างไม้ ๓ ณ ศูนย์การค้ าโอเรียลเต็ลเพลส
                     ่



พ.ศ.2542 :นาทีมงานกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้ างไม้ ๔ ณ โรงแรมรอยัลการ์ เด้ นทร์ รีสอร์ ท พัทยา
                     ่



พ.ศ.2542 : ร่วมนิทรรศการศิลปกรรมศิลปิ นภาคเหนือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว
                                                                                       ั

            มหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา 6รอบ ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ.2543 :ร่วมแสดงนิทรรศการศิลปกรรมของศิลปิ นภาคเหนือ “จิตวิญญาณล้ านนา ๗ คนเมือง ”

พ.ศ.2543 :คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ มอบโล่เชิดชูเกียรติ เป็ นศิลปิ นดีเด่น

            จังหวัดเชียงใหม่ สาขาทัศนศิลป ประจาปี 2543
                                         ์

                                                     คือเพชร วิริยะยอดแล้ ว           ลือสมัย

                                                     วิเศษเลิศล้ านนาไทย              ทิพย์แท้

                                                     สล่าสลักรักไกล                    คับถิ่น สวรรค์เนอ

                                                     แสนลิขิตไป่ เปรียบแม้            หนึงช้ างเสกศิลปะ
                                                                                         ่
บรรยากาศพิพิธภัณฑ์บานจ๊างนัก
                   ้
ผลงานพิพิธภัณฑ์บานจ๊างนัก
                ้




ช้ างแกะสลักตัวแรกที่ฝึกเรี ยนกับครู คาอ้ าย เดชดวงตา ปี 2515
ผลงานพิพิธภัณฑ์บานจ๊างนัก
                ้
________________________________________________________________________________________________________________________________________________
ขันตอนการแกะสลักช้าง มีดงต่อไปนี้
  ้                     ั

                                         1. ออกแบบงานที่ต้องการแกะสลัก โดยวาดคร่าวๆ บนกระดาษ กาหนด
                                   ขนาด และสัดส่วนของชิ ้นงานตามต้ องการ




  2. จัดเตรียมอุปกรณ์ ได้ แก่




                                   - ไม้ ไม้ ที่ใช้ แกะสลักทัวไป ควรเป็ นไม้ เนื ้อแข็ง มีความแห้ ง ได้ แก่ ไม้ สก ไม้ ขี ้เหล็ก
                                                             ่                                                   ั
                                   ไม้ ขนุน เป็ นต้ น ในการนี ้ ต้ องตัดไม้ ตามขนาดที่ต้องการ




                                     - สิ่ว สิวที่ใช้
                                              ่         โดยหลักแบ่งตามลักษณะรูปร่าง ได้ 3 ประเภท แบ่งเป็ น

                                     1 สิ่วเล็บเมือ มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ทาจากเหล็กกล้ า ด้ ามเป็ นไม้             สามารถ
                                     เปลียนด้ ามได้ ปลายตัดเป็ น รูปตัวยู ใช้ เจาะ ขึ ้นรูป หรือเซาะร่อง
                                         ่

      2 สิ่วตัววี มีขนาดใหญ่    กลาง เล็ก ทาจากเหล็กกล้ า ด้ ามเป็ นไม้ สามารถเปลียนด้ ามได้ ปลายตัดเป็ น รูปตัววี
                                                                                  ่
      ส่วนมากใช้ เซาะร่องให้ ลก และใช้ ทารายละเอียด
                              ึ

      3 สิ่วแบน มีขนาดใหญ่      กลาง เล็ก ทาจากเหล็กกล้ า ด้ ามเป็ นไม้ สามารถเปลียนด้ ามได้ ปลายตัดแบน ใช้
                                                                                  ่
      สาหรับเดินเส้ น หรือตัดเส้ นทั ้งนี ้ สล่าหนึงคน จะมีสวคู่ใจของตัวเองหนึงชุด ซึงแต่ละคนจะให้ ความสาคัญ และ
                                                   ่        ิ่                ่      ่
      เก็บรักษาสิวของตัวเองเป็ นอย่างดี ถือว่าเป็ นของสูง เป็ นเครื่องมือสาคัญ สิวบางอัน แรกใช้ ยาวสักสิบนิ ้ว ใช้ มา
                 ่                                                               ่
      ตั ้งแต่เป็ นหนุ่มน้ อย จนปั จจุบน หนุ่มเหลือน้ อย ลับคมไปมาจนเหลือความยาวแค่ครึ่งเดียวก็มี
                                       ั
- ค้ อน ค้ อนที่ใช้ ในการแกะสลัก ก็มีหลายชนิดด้ วยกัน
                                                             ดังนี ้

                                                             1 ค้ อนเหล็ก ส่วนมากทามาจากเหล็กกล้ า เอาไว้

สาหรับงานชิ ้นใหญ่ที่ต้องใช้ แรงเยอะ เช่นงานเจาะไม้ ตอกไม้ เป็ นต้ น

2ค้ อนไม้   โดยมากค้ อนไม้ เป็ นที่นิยมที่สด ทามาจากไม้ เนื ้อแข็งได้ หลายชนิด เช่นไม้ ประดู่ ไม้ ชิงชัน ไม้ แก่น
                                           ุ
มะขาม ส่วนไม้ ที่ดีที่สด คือ แก่นมะขาม เพราะมีความแข็ง และยืดหยุ่นสูง เวลาแกะ เช่นเดียวกันกับสิว สล่า
                       ุ                                                                       ่
มักจะมีค้อนคู่ใจ ที่ร้ ูน ้าหนักมือ ถึงแม้ อายุการใช้ งานจะไม่ยาวนานเท่าสิวเหล็ก แต่ก็มกจะใช้ ค้อนนคู่ใจเป็ นเวลา
                                                                          ่            ั
ยาวนานจนกว่าค้ อนจะสึก หรือสล่าจะตายจากค้ อนไปทีเดียว

นอกจากนี ้ บางคนยังใช้ มือแทนค้ อน ในกรณีที่ต้องการแกะในส่วนที่มีความละเอียดมากๆ เพราะสามารถ
ควบคุมน ้าหนักมือที่ถ่ายทอดไปยังปลายสิวได้ อีกด้ วย
                                      ่
บ้ านถวาย เป็ นหมู่บ้านเก่าแก่ ตั ้งมาประมาณ 100 กว่าปี สาเหตุที่
                                               ชื่อบ้ านถวาย ตามคาบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าว่าบ้ านถวาย
                                               ดั ้งเดิมเป็ นจุดถวายของให้ พระนางเจ้ าจามเทวีที่เสด็จผ่าน จากนคร
                                               ลาพูน ซึงเดินทางโดยทางเกวียนผ่านมาทางบ้ านถวาย ชาวบ้ านเมื่อ
                                                       ่
                                               ทราบข่าวการจะเสด็จผ่านของพระนางฯ จึงพากันเตรียมข้ าวของ
                                               หรือบางครอบครัวก็จะช่วยกันรีบตีเครื่องเงินเตรียมไว้ ถวาย

บ้ านถวายเป็ นหมู่บ้านหนึง ในตาบลขุนคง อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่
                         ่
ประมาณ 18 กิโลเมตร แต่เดิมชาวบ้ านประกอบอาชีพหลักทางด้ านการเกษตร แต่เมื่อประสบกับภาวะขาด
แคลนน ้าในฤดูแล้ งทาให้ ผลผลิตตกต่า ส่งผลให้ ชาวบ้ านมีรายได้ น้อย ดังนั ้นหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้ านส่วนใหญ่
จะเดินทางไปรับจ้ างทางานในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่น รับจ้ าง ก่อสร้ าง และอื่น ๆ แต่มีบางส่วนออกไปค้ าขาย
ไม่ได้ ประกอบอาชีพอยู่ในท้ องถิ่นของตัวเอง
จนกระทัง ปี พ.ศ. 2500- 2505 พ่อใจ๋มา อิ่นแก้ ว พ่อหนานแดง พันธุสา และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ทั ้งสามท่าน
       ่
ได้ ไปรับจ้ างอยู่ในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่นเดียวกับชาวบ้ านทัวไป จนท่านได้ ไปที่ร้านน้ อมศิลป บ้ านวัวลายซึงเป็ น
                                                            ่                               ์             ่
ร้ านจาหน่ายไม้ แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั ้น ทั ้งสามท่านเกิดความสนใจในการรับจ้ างแกะสลักไม้ จึงได้ ขอทางร้ าน
ทดลองแกะดู ปรากฏว่าฝี มือพอทาได้ ทางร้ านจึงให้ เริ่มทางานรับจ้ างที่ร้านน้ อมศิลปตั ้งแต่นั ้นมา การทางาน
                                                                                  ์
แกะสลักไม้ ของทั ้งสามท่านปรากฏว่ามีรายได้ ดีกว่าการรับจ้ างก่อสร้ าง และทุกวันฝี มือการแกะสลักก็พฒนาขึ ้น
                                                                                                  ั
เรื่อย ๆ ท่านจึงเปลียนอาชีพจากการับจ้ างทัวไปมาเป็ นการรับจ้ างแกะสลักไม้ ที่ร้านดังกล่าว จนเมื่อเกิดความ
                    ่                     ่
ชานาญ และเมื่อมีงานมากขึ ้นทั ้งสามท่านจึงได้ ขอนามาทาที่บ้าน และถือเป็ นจุดเริ่มต้ นของการถ่ายทอดงาน
แกะสลักไม้ ให้ แก่ลกหลาน ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้ านโดยไม่ร้ ูตวและไม่หวงความรู้แม้ แต่น้อย งานที่นามาถ่ายทอด
                   ู                                       ั
ครั ้งแรก เป็ นการแกะสลักไม้ แผ่นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ลายครุฑ ตุ๊กตาดนตรี ต่อมาเริ่มทาเป็ น ตัว
พระ และรับซ่อมตกแต่งของเก่าประเภทงานไม้ และเริ่มเลียนแบบของเก่าที่มีผ้ นามาซ่อม พร้ อมทั ้งออกแบบงาน
                                                                       ู
ที่เป็ นเอกลักษณ์ของบ้ านถวายเอง จากนั ้นได้ มีกลุมสตรีแม่บ้านของบ้ านถวายเองซึงออกไปรับจ้ างทางานสี งาน
                                                  ่                            ่
แอนติค และตกแต่งลวดลายเส้ นที่ร้านในเมืองเชียงใหม่ ย่านวัวลาย และได้ พฒนาฝี มือ ทาลวดลาย ปิ ดทอง จน
                                                                      ั
เกิดความชานาญเช่นเดียวกัน เมื่อมีงานเพิ่มขึ ้นทางร้ านให้ นามาทาที่บ้านโดยคิดค่าจ้ างทาเป็ นชิ ้น เมื่องานเสร็จ
ก็นาไปส่งที่ร้าน ก็นบว่าเป็ นโอกาสดีที่จะได้ นามาถ่ายทอดในหมู่บ้าน และโอกาสในการพบปะกับลูกค้ าของทาง
                    ั
ร้ าน ซึงลูกค้ าก็ได้ ติดต่อโดยตรงและเข้ ามาซื ้อสินค้ าถึงในหมู่บ้านจึงทาให้ บ้าน
        ่
"หมู่บ้านถวาย" หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP ต้ นแบบของประเทศไทย

                                          กับความมีชื่อเสียงด้ านงานศิลปหัตถกรรมไม้ แกะสลัก และเป็ นศูนย์
                                          รวมของสินค้ าหัตถกรรมทุกแขนงทัวประเทศ เป็ นหมู่บ้านหัตถกรรม
                                                                        ่
                                          ที่ใหญ่ที่สดในประเทศไทย เป็ นที่ยอมรับในคุณค่าแห่งงานหัตถศิลป
                                                     ุ                                                 ์
                                          และคุณภาพของสินค้ า จนเป็ นที่ร้ ูจกไปทัวโลก
                                                                             ั    ่

ผลิตภัณฑ์ไม้ แกะสลัก หมู่บ้านถวาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ "บ้ านถวาย" เป็ นแหล่งศิลปะหัตถกรรมชั ้น
ยอดของเมืองเชียงใหม่ ที่สร้ างผลงานไม้ แกะมากมาย ส่งออกขายทั ้งไทยและต่างประเทศ อันเป็ นสถานที่ที่นามา
ซึงชื่อเสียงของชาวบ้ านถวาย และเมื่อกล่าวถึง “งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรืองานประดิษฐ์ จากไม้ ” บุคคลทัวไป
  ่                                                                                                ่
ทุกคนจะต้ องนึกถึง “บ้ านถวาย ” อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เพราะเหตุว่า งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรืองาน
ประดิษฐ์ จากไม้ ของบ้ านถวายนั ้น เป็ นงานศิลปหัตถกรรมที่มีคณภาพ มีชื่อเสียงเป็ นระยะเวลานาน มีความ
                                                            ุ
สวยงาม ประณีต และเป็ นงานที่ทาขึ ้นด้ วยมือ ( Hand Made) ผสมกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่สบทอดกันมาตลอด
                                                                                     ื
ระยะเวลา 40 กว่าปี ที่ผ่านมา จนเป็ นที่ร้ ูจกกันอย่างแพร่หลาย ทั ้งชาวไทยและชาวต่างประเทศทัวโลก และด้ วย
                                            ั                                              ่
เหตุผลนี ้ ในปี พ.ศ.2547 จากนโยบายหนึงผลิตภัณฑ์ หนึงตาบลของรัฐบาล บ้ านถวายได้ รับเกียรติจากกรม
                                     ่             ่
พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เป็ น “หมู่บ้าน OTOP ต้ นแบบ” ของประเทศไทย และได้ รับเกียรติจาก
สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็ น “ หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP (OTOP
Tourism Village)” แห่งแรกของประเทศไทย


นักท่ องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมหมู่บ้านแห่ งนี ้ จะได้ พบกับ การสาธิตในทุกขันตอน ได้ แก่
                                                                        ้
•การผลิตผลิตภัณฑ์จากไม้

•การสาธิต ลงรักปิ ดทอง

•การแสดงศิลปะพื ้นบ้ าน

•การแข่ง "สุดยอดสล่าไม้ "

•ชมขบวนแห่ลกแก้ ว ในพิธีบรรพชาสามเณรหมู่
           ู
ศูนย์ หัตถกรรมบ้ านถวาย และศูนย์ หตถกรรมบ้ านถวายสองฝั่ งคลอง
                                          ั
        ศูนย์หตถกรรมบ้ านถวายสองฝั่ งคลอง ตั ้งอยู่บริเวณใจกลางหมู่บ้านถวายที่ถือว่าเป็ นจุดกาเนิดของงาน
              ั
        แกะสลักที่แท้ จริง มีร้านค้ าหัตถกรรมอยู่บริเวณสองข้ างคลองชลประทาน มีการประดับตกแต่งพื ้นที่ด้วย
        สถาปั ตยกรรมล้ านนา มีภูมิทศน์ที่สวยงาม ภายใต้ บรรยากาศวิถีชีวิตหมู่บ้านไม้ แกะสลักบ้ านถวาย จน
                                   ั
        ผลิตภัณฑ์ไม้ แกะสลักได้ รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในปั จจุบนทั ้งด้ านคุณค่า และคุณภาพของสินค้ า เป็ น
                                                                    ั
        จุดรวมความหลากของงานด้ านศิลปหัตถกรรม มีสนค้ าหลายประเภทให้ เลือกชม ไม่ว่าจะเป็ นงานแกะสลักเป็ น
                                                 ิ
        รูปสัตว์ รูปเทวดา รูปสัตว์ในป่ าหิมพานต์ ตลอดจนของตกแต่งบ้ านอีกมากมาย อันได้ แก่ ดอกไม้ , กรอบรูป ,
        กรอบกระจก, โคมไฟ, ที่ใส่กระดาษทิชชูแบบต่าง ๆ รวมถึงแจกันดอกไม้ หลายขนาด ตลอดจนเฟอร์ นิเจอร์ ไม้
        คุณภาพส่งออก และอื่น ๆ


สินค้ าศูนย์ หัตถกรรมบ้ านถวาย
สินค้ าที่สนใจ
                          โคมไฟไม้ สก โคมไฟติดผนัง โคมไฟแขวน โคมไฟหัวเสางานโคมไฟแบบไทยๆ เน้ นติดผนังและแขวนเพดาน ทา
                                    ั
                          จากไม้ สกแท้ ทาสีโอ๊ ค (หรือจะไม่ทาสีก็ได้ ) ทุกชิ ้นมีขั ้วหลอดไฟพร้ อมสายต่อเรียบร้ อย
                                  ั




โคมไฟติดผนัง 5 เหลียม ฉลุลาย
                   ่                   โคมไฟติดผนัง กระจกลาย                 โคมไฟ ติดผนัง หรือ ตั ้งหัวเสา          โคมไฟหัวเสาซี่ไม้ กลม
                                                                             กระจกลายนูน         ราคา250
         ราคา250                             ราคา250                                                                     ราคา250




  โคมไฟหัวเสาซี่ไม้ กลม             โคมไฟหัวเสา สีเ่ หลียมกระจกฝา
                                                        ่      ้              โคมไฟติดผนังปี กแมงทับ                 โคมไฟสีเ่ หลียมฉลุมือ
                                                                                                                                  ่

  ราคา250                                    ราคา250                                   ราคา250                       ราคา 300
โคมไฟไม้ สักแบบแขวน
โคมไฟไม้ แบบแขวน ทาจากไม้ สกแท้ สวยงามตามแบบงานศิลปไทย
                           ั
ลักษณะ ส่วนด้ านบนของโคมไฟจะทาลวดลายทาทรงคล้ ายหลังคาบ้ าน
แบบไทยๆแล้ วทายอดหลังคาสูงขึ ้น เจาะรูตรงยอดไม้ เผื่อสามารถ
นาไปแขวนโชว์ หรือตกแต่งบ้ าน ตกแต่งสวนให้ สวยงาม มากยิ่งขึ ้น
โคมไฟจะเป็ นมีหกมุม แต่ละมุมจะเป็ นไม้ สวนระหว่างไม้ จะเป็ นอคิลก
                                        ่                       ิ
เผื่อที่เปิ ดโคมไฟแล้ วจะให้ ความสว่างได้
ส่วนฐานจะนาไม้ มาฉลุลายเพิ่มความสวยงามงานจะเป็ นไปตามแบบ
ศิลปวัฒนธรรมแบบไทยๆ




ประโยชน์ ในงานภูมทศน์
                 ิ ั
  -เพิ่มความสวยงามงานจะเป็ นไปตามแบบศิลปวัฒนธรรมแบบ
  ไทยๆ
  -ตกแต่งบ้ านให้ มีความเป็ นไทยและล้ านนา
  -มีความสวยงามของตัวโครมไฟตอนแสงออกจากไฟทาให้
  บรรยากาศดี
บ้ านเหมืองกุง
                                       บ้ านเหมืองกุงเป็ นหมูบ้านเล็ก ๆ อยู่ไม่ไกลจากตัวเมือง
                                                             ่
                                       เชียงใหม่มากนัก เดินทางสะดวกตามถนนสายเชียงใหม่-
                                       หางดงเพียง 6 กิโลเมตร ใช้ เวลาเดินทางประมาณ 10
                                       นาที และยังเป็ นทางผ่านไปยังสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ
                                       เช่น บ้ านถวาย ดอยอินทนนท์ ทังยังอยู่ใกล้ แหล่ง
                                                                    ้
                                       ท่องเที่ยวใหม่ อาทิ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ,พืชสวนโลก
                                       เป็ นต้ น



บ้ านเหมืองกุงได้ รับเลือกจากพัฒนาชุมชน อ.หางดง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้ เป็ น
หมูบ้านโอท็อปเพื่อการท่องเที่ยวเมื่อหลายปี ก่อน เพราะเป็ นหมูบ้านผลิตเครื่องปั นดินเผาที่มี
   ่                                                         ่                 ้
เรื่องราวประวัติศาสตร์ วิถีวฒนธรรมที่สามารถร้ อยเรียงเชื่อมโยงได้ อย่างกลมกลืนกับการ
                            ั
ท่องเที่ยว

                                       จากคาบอกเล่าของผู้อาวุโสในหมูบ้านเหมืองกุงที่ได้ รับคา
                                                                    ่
                                       บอกเล่าต่อกันมาจากบรรพบุรุษที่มาตังรกรากอยู่บ้าน
                                                                         ้
                                       เหมืองกุง เป็ นคนไทที่ถกกวาดต้ อนมาจากเมืองปุ เมือง
                                                              ู
                                       สาด รัฐเชียงตุง ซึ่งปั จจุบนอยู่ในเขตรัฐฉานประเทศพม่า
                                                                  ั
                                       แต่ก่อนหน้ าที่จะมาอยู่ในพม่า บรรพบุรุษของที่นี่น่าจะเคย
                                       อยู่ที่แคว้ นสิบสองปั นนาทางตอนใต้ ของจีนมาก่อน จึงคาด
                                       ว่าวิชาชีพด้ านช่างเครื่องปั นดินเผาของบ้ านเหมืองกุงน่าจะ
                                                                    ้
สืบทอดมาจากสิบสองปั นนา โดยมีหตถกรรมที่เป็ นมรดกชิ ้นสาคัญคือ “น ้าต้ น” หรือ “คนโท”
                              ั
และ “หม้ อน ้า” ที่เป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของล้ านนา
ปั จจุบนหมูบ้านแห่งนี ้มีประชากรอยู่
                                                                   ั ่
                                                            อาศัย 135 ครัวเรือน ในอดีตเกือบทุก
                                                            ครัวเรือนมีอาชีพงานปั นเป็ นหลัก แต่เป็ น
                                                                                  ้
                                                            ลักษณะต่างคนต่างทาส่งขายให้ กบ
                                                                                         ั
                                                            พ่อค้ าคนกลาง มายุคนี ้มีครัวเรือนที่
                                                            ทางานปั นไม่มากนัก เพราะชาวบ้ านส่วน
                                                                    ้
                                                            หนึ่งเข้ าไปทางานรับจ้ างในตัวเมือง แต่
เมื่อมีการตังกลุมหัตถกรรมเครื่องปั นดินเผาบ้ านเหมืองกุงขึ ้นเมื่อ 3 ปี ที่แล้ ว ทาให้ ชาวบ้ านเริ่มเห็น
            ้ ่                    ้
ความสาคัญและรวมตัวกันมากขึ ้น มีสมาชิกกลุมทังหมด 22 ครัวเรือน ที่ยงคงทาอาชีพ
                                         ่ ้                      ั
เครื่องปั นดินเผาอย่างจริง ๆ จัง ๆ โดยรายได้ หลักของหมูบ้านแห่งนี ้ประมาณ 70 % มาจากงาน
          ้                                            ่
ปั น
   ้




                                    สัญลักษณ์โดดเด่นของหมูบ้านแห่งนี ้ก็คือ “น ้าต้ น” หรือ
                                                          ่
                                    “คนโท” ขนาดใหญ่สง 18 เมตร เส้ นผ่าศูนย์กลาง 8 เมตร
                                                    ู
                                    85 เซนติเมตร ซึ่งคาดว่าจะเป็ นคนโทที่ใหญ่ที่สดในโลก ตัง้
                                                                                 ุ
                                    เด่นตระหง่านอยู่ปากทางเข้ าหมูบ้าน เป็ น Landmark ที่
                                                                  ่
                                    เพิ่มแรงดึงดูดให้ นกท่องเที่ยวแวะเวียนมาเที่ยวชมอย่างไม่ขาด
                                                       ั
                                    สาย
จากซุ้มประตูทางเข้ าหมูบ้านถึงท้ ายหมูบ้านมี
                                                                           ่              ่
                                         ระยะทางประมาณ 300 เมตร ตลอดระยะทางจะได้ เห็น
                                         ชาวบ้ านนังปั นเครื่องปั นดินเผากันอยู่ภายในตัวบ้ าน ความ
                                                   ่ ้            ้
                                         โดดเด่นของเครื่องปั นที่นี่อยู่ที่ความละเอียดและเรียบง่าย
                                                             ้
                                         เป็ นดีไซน์ที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ มีกรรมวิธีที่เรียบง่าย
                                         ไม่ซบซ้ อน และใช้ วตถุดิบคือดินเหนียวในท้ องถิ่นและจาก
                                             ั              ั
อาเภอรอบนอก มีรูปแบบที่สามารถใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ และมีราคาถูก เพราะเป็ น
เครื่องปั นดินเผาเนื ้อดินธรรมดาไม่เคลือบ และการเผาก็ยงใช้ เตาแบบโบราณที่ต้องใช้ ฟืนเป็ น
          ้                                           ั
วัตถุดิบหลัก อย่างคนโทราคาเริ่มตังแต่ใบละ 12 บาท ส่วนหม้ อน ้าใบละ 35 บาท นอกจากคนโท
                                 ้
และหม้ อน ้าที่เป็ นหัตถกรรมชิ ้นเอกของหมูบ้าน ปั จจุบนชาวบ้ านก็เริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปใน
                                          ่           ั
รูปแบบอื่น ๆ ตามคาสังซื ้อของลูกค้ า เช่น โคมไฟ กระถาง อ่างบัว แจกัน ฯลฯ
                    ่




                                               ด้ วยเพราะเป็ นหมูบ้านเล็ก ๆ และสงบ นักท่องเที่ยว
                                                                 ่
                                               จึงสามารถเดินดูความเป็ นอยู่และงานหัตถกรรมของ
                                               ชาวบ้ านได้ อย่างสะดวก จะแวะเข้ าไปชมงานปั นบ้ าน
                                                                                          ้
                                               ไหนก็ได้ ชาวบ้ านก็ยิ ้มแย้ มและพร้ อมจะเล่าเรื่องราว
                                               ให้ ฟังอย่างเต็มใจ อนาคตทางกลุมฯ ได้ เตรียม
                                                                             ่
แผนพัฒนาไว้ หลายด้ าน โดยเฉพาะการจัดให้ มีการสาธิตการปั นหากนักท่องเที่ยวสนใจอยาก
                                                        ้
ทดลองทา พร้ อมกับจะมีมคคุเทศก์หรือไกด์ในท้ องถิ่นเป็ นผู้นาทางและบอกเล่าเรื่องราว รวมถึง
                      ั
การทาโฮมสเตย์ เพื่อให้ นกท่องเที่ยวได้ สมผัสวิถีชีวิตได้ อย่างเข้ าถึงมากขึ ้น
                        ั               ั
วิถีชีวิต งานหัตถกรรมเครื่องปั นดินเผาดีไซน์เรียบง่ายที่มีบริบททางประวัติศาสตร์ทาบทาอยู่ น่าจะ
                               ้
ทาให้ “บ้ านเหมืองกุง” เป็ นแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่งของเมืองเชียงใหม่ที่นกท่องเที่ยวไม่ควรพลาด
                                                                       ั
เข้ ามาสัมผัส


สินค้ าที่น่าสนใจน ้าพุ น ้าล้น ราคา500บาท




แต่ งสวนสวยเสริ มฮวงจุ้ย
น ้าล้ น หรือ น ้าผุด... น ้าที่มีความเคลือนไหว
                                          ่
เปรียบเสมือนทรัพย์ เป็ นพลังแห่ง “หยาง” พลัง
หมุนเวียน ขจัดสิงชัวร้ าย เงินทองไหลมาเทมา อยู่เย็นเป็ นสุข รุ่งเรืองมหาผล นอกจากนี ้ ละอองน ้ายังนาความชุ่ม
                ่ ่
ชื่น เข้ าสูภายในบ้ านอีกด้ วย
            ่


รูปทรงของน ้าล้ น หรือ น ้าผุด ควรเป็ นทรงกลม หรือ ทรงรี ไม่ควรมีเหลียมมุม เพราะอาจพุ่งเข้ าสูตวบ้ าน จะเป็ น
                                                                     ่                        ่ ั
ผลเสียมากกว่าผลดี




การจัดตังหรื อจัดวางควรพิจารณาจากหลักการดังนี ้
        ้
จัดวางไว้ ในสวน เพราะสวนเป็ นไม้ น ้ากับไม้ เสริมกันให้ พลังกับตัวบ้ าน
ห้ องรับแขก เป็ นห้ องที่มีความเคลือนไหว น ้าล้ นหรือน ้าผุด เป็ น “หยาง” พลังแห่งความเคลือนไหว จึงเหมาะใน
                                   ่                                                      ่
การจัดวางน ้าล้ นเช่นกัน
อาคารพาณิชย์ อาคารสานักงาน มีความเคลือนไหวอยู่เสมอ ควรจัดวางทางด้ านหน้ าหรือด้ านข้ าง แต่อย่าวาง
                                     ่
ด้ านหลัง เพราะตามหลักฮวงจุ้ย ถือว่า เป็ นความมันคง ควรมีความนิ่งมากกว่า
                                                ่
ไม่ควรมีน ้าล้ น หรือน ้าผุด ในห้ องนอน เพราะเป็ นห้ องแห่งความสงบ (หยิน) ถ้ าเอาสิงเคลือนไหว ไปตั ้งใน
                                                                                   ่ ่
ห้ องนอนจะไม่เป็ นสุข
ห้ องครัวไม่ควรจัดวาง เพราะครัวเป็ นธาตุไฟ จะทาให้ เกิดความขัดแย้ งภายในบ้ าน
ทิศที่ควรจัดวาง
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ดีที่สด) อยู่เย็นเป็ นสุข เจริญรุ่งเรือง
                           ุ
ทิศเหนือ เป็ นธาตุไม้ น ้ากับไม้ เกื ้อหนุนกันดี จัดวางได้ เช่นกัน
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วยให้ อาชีพการงานเจริญรุ่งเรือง


**ตาแหน่งในการจัดวาง ควรพิจารณาจากหลักข้ างต้ นนี ้ ประกอบกับความเหมาะสมของบ้ านด้ วย อย่ายึดติดกับ
ทิศทางมากนัก ให้ คานึงถึง ความกลมกลืนลงตัวกับธรรมชาติ และเหมาะสม กับพื ้นที่ในบ้ านเป็ นดีที่สด
                                                                                              ุ




                       นางสาวอัมพิกา อินไชย รหัส 5219101336 สาขาเทคโนโลยีภูมิทศน์
                                                                              ั

More Related Content

What's hot

สุดปลายฝัน
สุดปลายฝันสุดปลายฝัน
สุดปลายฝันB'Ben Rattanarat
 
อิทธิฤทธิ์หัวกระโหลก
อิทธิฤทธิ์หัวกระโหลกอิทธิฤทธิ์หัวกระโหลก
อิทธิฤทธิ์หัวกระโหลกtommy
 
สองพี่น้อง
สองพี่น้องสองพี่น้อง
สองพี่น้องPanda Jing
 
กระปุกออกมสิน
กระปุกออกมสินกระปุกออกมสิน
กระปุกออกมสินMaiKung Wiwat
 
พระยาพิชัย
พระยาพิชัยพระยาพิชัย
พระยาพิชัยkruda500
 
เจ้าพ่อเชย
เจ้าพ่อเชยเจ้าพ่อเชย
เจ้าพ่อเชยtommy
 
Point นวนิยาย
Point นวนิยายPoint นวนิยาย
Point นวนิยายJiraprapa Noinoo
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
นิทานเรื่อง แก้วหน้าม้า
นิทานเรื่อง แก้วหน้าม้านิทานเรื่อง แก้วหน้าม้า
นิทานเรื่อง แก้วหน้าม้าjassikar
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3PN17
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329Siwa Muanfu
 

What's hot (17)

สุดปลายฝัน
สุดปลายฝันสุดปลายฝัน
สุดปลายฝัน
 
อิทธิฤทธิ์หัวกระโหลก
อิทธิฤทธิ์หัวกระโหลกอิทธิฤทธิ์หัวกระโหลก
อิทธิฤทธิ์หัวกระโหลก
 
We play art
We play artWe play art
We play art
 
สองพี่น้อง
สองพี่น้องสองพี่น้อง
สองพี่น้อง
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
กระปุกออกมสิน
กระปุกออกมสินกระปุกออกมสิน
กระปุกออกมสิน
 
พระยาพิชัย
พระยาพิชัยพระยาพิชัย
พระยาพิชัย
 
เจ้าพ่อเชย
เจ้าพ่อเชยเจ้าพ่อเชย
เจ้าพ่อเชย
 
Point นวนิยาย
Point นวนิยายPoint นวนิยาย
Point นวนิยาย
 
แม๊กซ์
แม๊กซ์แม๊กซ์
แม๊กซ์
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
นิทานเรื่อง แก้วหน้าม้า
นิทานเรื่อง แก้วหน้าม้านิทานเรื่อง แก้วหน้าม้า
นิทานเรื่อง แก้วหน้าม้า
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
งาน
งานงาน
งาน
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
 

Similar to งานอาจารย..

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนN'Mom Sirintip
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..PN17
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงหอย ลี่
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงหอย ลี่
 
บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,moowhanza
 
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองSiwakarn Chaithong
 
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองSiwakarn Chaithong
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์Phasuk Teerachat
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...tie_weeraphon
 
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)niralai
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 

Similar to งานอาจารย.. (20)

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,
 
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
 
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
บ้านจ๊างนัก1
บ้านจ๊างนัก1บ้านจ๊างนัก1
บ้านจ๊างนัก1
 
1
11
1
 
History
HistoryHistory
History
 
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
 
Me and demon
Me and demonMe and demon
Me and demon
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
 
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 

More from PN17

คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3PN17
 
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่PN17
 
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1PN17
 
สวนสามัคคี
สวนสามัคคีสวนสามัคคี
สวนสามัคคีPN17
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1PN17
 
Ddd
DddDdd
DddPN17
 
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรบ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรPN17
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจPN17
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมPN17
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์PN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone
StoneStone
StonePN17
 
Stone หิน
Stone หินStone หิน
Stone หินPN17
 

More from PN17 (15)

คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3คำถาม กลุ่ม 3
คำถาม กลุ่ม 3
 
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท  จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการดูแลภูมิทัศน์ อัลไพน์กอล์ฟรีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่
 
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
โรงเรียนปรินส์รอยแยลล์วิทยาลัย1
 
สวนสามัคคี
สวนสามัคคีสวนสามัคคี
สวนสามัคคี
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Ddd
DddDdd
Ddd
 
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชรบ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างนักและประวัติสล่าเพชร
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone
StoneStone
Stone
 
Stone หิน
Stone หินStone หิน
Stone หิน
 

งานอาจารย..

  • 1. ประวัติและผลงานของ สล่ า เพชร วิริยะ สล่ า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้ านบวกค้ าง อาเภอ สันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นบุตรของ นาย สิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่น้อง 5 คน คือ 1. นายเพชร วิริยะ 2. นายสุภาพ วิริยะ 3. นายเสน่ห์ วิริยะ 4. นายพิภัคร์ วิริยะ 5. นางเพลินจิต วิริยะ ที่อยู่ "บ้ านจ๊ างนัก" บ้ านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้ าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ (053) 3446891,01-4725051 ครอบครั ว นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป) มีบตรธิดาทั ้งหมด 2 คน คือ ์ ุ 1. นางสาววารียา วิริยะ 2. นางสาวเวรุยา วิริยะ การศึกษา ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนผู้ใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. การศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรียนผู้ใหญ่สนกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ั วิถีชีวิต : เกษตรศิลปิ น “บ้ านจ๊ างนัก” “สล่าเพชร วิริยะ” “แกะสลัก” อนุรักษ์ “ช้ าง” “ทีแรกก็ไม่ร้ ูด้วยซ ้าไปว่างานศิลปะคืออะไร... ” เป็ นประโยคหนึงจากบทสนทนาของชายคนหนึง ชายชาวบ้ านหมู่ 2 ต.บวกค้ าง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ ซึงชายที่กล่าว ่ ่ ่ ประโยคนี ้ ณ วันนี ้นอกจากจะเป็ น “เกษตรกร” แล้ ว...เขายังเป็ น “ศิลปิ น” มีชื่อเสียงคนหนึงแถบล้ านนา...ในฐานะ “นัก ่ แกะสลัก ” ที่ไม่เพียงสร้ างสรรค์งานศิลปะชั ้นเลิศ...แม้ ว่าครั ้งหนึงจะไม่ร้ ูซึ ้งถึงความหมายของคาว่า “ศิลปะ” แต่งานศิลปะ ่ ที่เขาทายังใหญ่โตระดับ “ช้ าง” “สล่าเพชร-เพชร วิริยะ ” ศิลปิ น “นักแกะสลัก ” แห่ง “บ้ านจ๊ างนัก ” “เพชร วิริยะ ” หรือ “สล่าเพชร ” เป็ น “ช่างแกะสลักช้ าง ” ที่มีชื่อเสียง ได้ รับการยกย่องในฝี มือ เป็ นศิลปิ นดีเด่นจังหวัด เชียงใหม่ปี 2543 สาขาทัศนศิลปด้ านประติมากรรม ซึงเขาเล่าถึงชีวิตตนเองให้ ฟังว่า... เป็ นคนเชียงใหม่โดยกาเนิด เกิดที่ ์ ่ บ้ านบวกค้ าง สันกาแพง เมื่อวันที่ 8 มี.ค.2498 มีพี่น้องทั ้งหมด 5 คน เป็ นบุตรของ นายสิงห์-นางบัวจีน วิริยะ มีภรรยาชื่อ นงเยาว์ วิริยะ มีบตรด้ วยกัน 2 คนพื ้นฐานครอบครัวที่อยู่ในชนบท พ่อแม่มีอาชีพทาไร่ทานาตามประสาคนต่างจังหวัด ุ ฐานะทางบ้ านจึงไม่ได้ ร่ารวยเงินทองอะไร แต่ก็ไม่ถงกับยากจนข้ นแค้ น ฐานะก็กลาง ๆ พ่อแม่ก็พอที่จะส่งเสียลูก ๆ ให้ ได้ ึ เรียนตามสมควร โดยลูกทุกคน รวมถึงคนที่เติบโตขึ ้นมาเป็ นช่างแกะสลักช้ าง ต่างก็ได้ เรียนจนจบชั ้น ป. 4 “ที่ได้ เรียนกันแค่ชั ้น ป. 4 ก็เพราะว่าสมัยก่อนนั ้นชาวบ้ านแถบนี ้เขาจะคิดกันว่า ให้ ลกหลานเรียนแค่นี ้ก็พอ หลังจากนั ้นก็ให้ ู ออกมาช่วยกันทามาหากิน ดังนั ้น ในสมัยนั ้นเพื่อน ๆ ทุกคน รวมทั ้งผม จึงมีโอกาสที่จะเรียนได้ แค่นี ้ ทั ้งที่ความจริงแล้ วก็ อยากที่จะเรียนต่อ ”อย่างไรก็ตาม สล่าเพชรบอกว่า... การที่ไม่ได้ เรียนสูง ๆ แต่แรกก็ใช่ว่าจะเป็ นเรื่องเลวร้ ายของชีวิต ก็ยง ั สามารถที่จะศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้ วยตัวเอง เพื่อพัฒนาชีวิตให้ ดีขึ ้นได้ ซึงสาหรับตัวเขาสิงแรกที่เรียนรู้เพิ่มเติมด้ วยตัวเอง ่ ่ ก็คือ “ฝึ กฝนการวาดภาพ ” เมื่อมีเวลาว่าง โดยเป็ นคนที่ “ชอบงานศิลปะ ” มาตั ้งแต่เด็ก “ทีแรกก็ไม่ร้ ูด้วยซ ้าไปว่างานศิลปะ คืออะไร แต่จาได้ ว่าเมื่อตอนมีโอกาสได้ เข้ าไปเที่ยวในเมืองกับพ่อแม่ ไปเดินเล่นแล้ วไปพบเห็นหน้ าปกหนังสือที่มีรูป สวยงาม ก็เกิดความชอบหลงใหล จาได้ ว่าเป็ นหนังสือเพชรพระอุมา ยืนดูชื่นชมเป็ นชัวโมง เมื่อได้ เห็นภาพวาดสวย ๆ ก็ ่ เหมือนเป็ นแรงกระตุ้น หลังจากกลับมาก็เริ่มหัดวาดภาพต่าง ๆ ด้ วยตัวเอง ”
  • 3. พออายุได้ ประมาณ 16-17 ปี เขาก็เริ่มที่จะสนใจงาน “แกะสลัก ” เพราะได้ เห็นเพื่อนรุ่นพี่เป็ นช่างแกะสลัก ซึงในตอนแรกก็ ่ ไม่ได้ เรียนแกะสลักอย่างจริงจัง จนมาภายหลังได้ ยินในหมู่บ้านว่า “ครูคาอ้ าย เดชดวงตา ” ครูของทางกรมส่งเสริม อุตสาหกรรมเข้ ามาสอนแกะสลัก ก็เกิดความสนใจและรีบไปสมัครเรียนทันที “ถือว่าเป็ นครูสอนแกะสลักคนแรกผม ”และที่ หันมาชอบงานแกะสลัก ก็เพราะคิดว่ามันเป็ นงานศิลปะที่ต่อเนื่อง เมื่อมีโอกาสที่จะได้ เรียนในเรื่องการแกะสลักจึงรีบไป เรียน และที่ชอบการแกะสลัก “ช้ าง” ก็เพราะครูคาอ้ ายที่มาสอนนั ้นจะสอนการแกะสลักช้ างเป็ นหลัก ซึงเรียน ไปได้ ่ 2 สัปดาห์ก็สามารถแกะสลักช้ างได้ พอเป็ นรูปเป็ นร่าง “เพื่อน ๆ ที่เรียนด้ วยกันยังแกะไม่ได้ ตรงนี ้ยิ่งเป็ นการสร้ างแรงจูงใจ มากขึ ้น” สล่าเพชรเล่าต่อไปว่า... หลังจากที่ฝึกฝน รับการประสิทธิประสาทฝี มือการแกะสลักจากครูอยู่ 4 ปี ตั ้งแต่ปี 2515-2519 ก็ พอที่จะมีความรู้ความชานาญในการแกะสลัก จึงตัดสินใจลาครูออกท่องยุทธจักรวงการแกะสลักด้ วยตัวเอง ตระเวนหา งานแกะสลักทาเพื่อเป็ นการเก็บเกี่ยวประสบการณ์ไปทัวเริ่มจากทางานตามร้ านเฟอร์ นิเจอร์ ที่ จ.ลาปาง ทาอยู่ไม่นานก็ ่ ย้ ายไปทาที่ จ.เชียงราย และในเชียงใหม่ “เรียกว่าในตอนนั ้นที่ไหนมีงานมีเงินดีไปหมด ”ระหว่างที่ทางาน สล่าเพชรก็ได้ ศึกษาเพิ่มเติมไปด้ วย เพราะเดิมก็อยากเรียนต่ออยู่แล้ ว จึงทางานไปด้ วยเรียนศึกษาผู้ใหญ่ไปด้ วย จนสามารถจบระดับ ม. ศ.3“พอผมเรียนจบเพื่อน ๆ หลายคนก็ชวนไปรับราชการ แต่ไม่ไป เพราะใจรักในงานแกะสลักมากกว่างานรับราชการ แต่ก็ หนีไม่พ้น เมื่อครูคาอ้ ายลาออกก็มาชวนให้ ไปเป็ นครูต่อจากท่าน จึงตัดสินใจเข้ ากรุงเทพฯไปเป็ นครูสอนแกะสลัก ”เป็ นครู อยู่ได้ 2 ปี ก็เริ่มเบื่อกับการใช้ ชีวิตในกรุงเทพฯ และเบื่อกับระบบที่ต้องทาตามคาสัง เพราะโดยปกติแล้ วเป็ นคนที่ชอบทา ่ อะไรที่เป็ นอิสระ ประกอบกับช่วงนั ้นแต่งงาน เลยมีความคิดที่จะลาออกจากระบบราชการแล้ วกลับมาใช้ ชีวิตอยู่บ้านที่ เชียงใหม่กบภรรยา ั หลังจากที่ลาออกมาเมื่อปี 2528 ก็กลับมาใช้ ชีวิตอยู่ที่บ้าน ทางานสร้ างผลงานการแกะสลักตามที่ถนัดไปเรื่อย โดย นอกจากงานแกะสลักแล้ วสล่าเพชรก็ไม่ทิ ้งความเป็ น “เกษตรกร” ที่มีมาแต่สายเลือด โดยยึดอาชีพทาไร่นาควบคู่ไปด้ วย พอมีเวลาว่างก็นาความรู้ประสบการณ์ ที่มีสอนการแกะสลักให้ กบเด็ก ๆ ในหมู่บ้าน “ตอนนั ้นสอนเด็ก ๆ ก็เพราะต้ องการที่ ั จะให้ พวกเขาได้ สบสานตานานการแกะสลัก และสร้ างรายได้ ให้ กบพวกเขา เมื่อทาไปเรื่อย ๆ ก็เลยสร้ างเป็ นกลุมแกะสลัก ื ั ่ ขึ ้น โดยเงินทุนที่นามาลงนั ้นก็ได้ รับการสนับสนุนจาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) คือนอกจาก เราจะเป็ นช่างแกะสลักแล้ วยังเป็ นเกษตรกรด้ วย ก็ได้ ก้ เู งิน ธ.ก.ส.มาลงทุนด้ านการเกษตร และแบ่งส่วนหนึงเพื่อลงทุนทา ่ กลุมงานแกะสลัก ” ่ ช่างแกะสลักช้ างฝี มือเยี่ยมเล่าต่อไปว่า... เมื่อกลับมาอยู่บ้านก็พยายามที่จะสร้ างผลงานให้ ออกมาเป็ นแบบฉบับของ ตัวเองให้ ได้ ก็ทาการศึกษาเพิ่มเติมไปเรื่อย จนเมื่อได้ อาจารย์อรุณ ชัยเสรี ให้ คาแนะนา ให้ ความรู้ในเรื่องของช้ าง จึงทาให้ มีความรู้เรื่องช้ างมากขึ ้นและสามารถพัฒนาผลงานออกมาได้ ดีขึ ้น ช้ างที่เขาแกะสลักตอนแรกนั ้นสัดส่วนยังไม่ค่อยดีนก เพราะรู้จกช้ างแค่เท่า ๆ กับชาวบ้ านทัวไป เมื่อได้ คนสอน แนะนาให้ ั ั ่ ลองไปศึกษาช้ างจริง ๆ จึงรู้จกช้ างมากขึ ้น จนทาให้ สามารถพัฒนาผลงานการแกะสลักช้ างออกมาได้ สดส่วนเหมือนจริง มี ั ั
  • 4. อิริยาบถต่าง ๆ และเป็ นแบบฉบับของตัวเองมากขึ ้น ”“การเป็ นช่างแกะสลักไม่ควรที่จะหยุดอยู่กบที่ จาเป็ นต้ องศึกษาหา ั ความรู้เพิ่มเติมไปเรื่อย ๆ ความรู้ในเรื่องของศิลปะ การแกะสลัก สามารถเรียนรู้ได้ ไม่มีวนหมด ”กับที่มาของคาว่า ั “บ้ านจ๊ างนัก ” ที่ปัจจุบนเป็ นทั ้งที่พกอาศัย สถานที่ทางานแกะสลักช้ าง รวมถึงเป็ นพิพิธภัณฑ์ย่อม ๆ ั ั สล่าเพชรบอกว่า... ตอนที่กลับมาอยู่บ้านก็มีโอกาสสร้ างสรรค์ผลงานการแกะสลักช้ างออกมาเรื่อย ๆ ก็มีผลงานมากจนไม่ มีที่เก็บ จึงใช้ ย้ งข้ าวของพ่อดัดแปลงทาเป็ นที่เก็บผลงานทั ้งหมดที่อยากเก็บรักษาไว้ ุ จนเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2531 อาจารย์อรุณ ชัยเสรี ได้ พา ประยูร จรรยาวงษ์ นักเขียนการ์ ตนชื่อดัง มาเยี่ยมชมผลงานการ ู แกะสลักช้ าง เมื่อได้ เห็นผลงานช้ างแกะสลักมากมายเต็มบ้ าน จึงตั ้งชื่อตามภาษาท้ องถิ่นว่า “บ้ านจ๊ างนัก ” ที่แปลว่าบ้ านมี ช้ างมากมาย จึงใช้ ชื่อนี ้เป็ นชื่อบ้ าน-ชื่อกลุมแกะสลักเรื่อยมาถามว่าผลงานที่ทามาชิ ้นไหนที่สร้ างความภูมิใจให้ มากที่สด ่ ุ ? คาตอบที่ได้ จากศิลปิ นคนนี ้ก็คือ... “ผลงานที่ผมทาออกมาเป็ นสิงที่ภูมิใจทุกชิ ้น เพราะผลงานทุกชิ ้นที่ทาออกมานั ้นเกิด ่ จากการที่เราตั ้งใจ ใส่ใจที่จะสร้ างสรรค์ออกมา แต่ถ้าพูดถึงงานที่สร้ างความท้ าทายที่สดชิ ้นแรกก็เห็นจะเป็ นการแกะสลัก ุ ช้ างไม้ ที่ใหญ่เท่าตัวจริงที่สด ”เมื่อประมาณปี ุ 2537-2538 ทางบริษัทยูคอมได้ ว่าจ้ างแกะสลักช้ างไม้ ที่ใหญ่เท่าช้ างจริง มี ความสูงจากเท้ าถึงหัวไหล่ 2.60 เมตร ถือว่าเป็ นงานแกะ สลักชิ ้นใหญ่ชิ ้นแรกที่เขารับทา เพราะคิดว่าเป็ นงานที่ท้าทาย แถมยังได้ แรงบันดาลใจมาจากม้ าไม้ ขนาดใหญ่ในภาพยนตร์ เรื่องทรอย ซึงกว่าที่จะทาได้ สาเร็จก็ใช้ เวลาอยู่เป็ นปี แต่ก็ ่ สร้ างความภูมิใจให้ ไม่น้อย “และล่าสุดผมก็กาลังแกะสลักช้ างเอราวัณสามเศียรที่สง ู 5 เมตรอยู่”นอกจากนี ้ ในงานพืชสวน โลกที่ไทยจะเป็ นเจ้ าภาพจัดขึ ้นปลายปี นี ้ที่ จ.เชียงใหม่ ซึงจะมีการทาช้ างขึ ้นมาเป็ นส่วนหนึงในการทาให้ งานนี ้ดูยิ่งใหญ่ ่ ่ สล่าเพชรก็ได้ รับมอบหมายให้ สร้ างสรรค์ต้นแบบของช้ างด้ วย “งานแกะสลักช้ างนี่ก็คงจะทาไปเรื่อย ๆ เพราะเป็ นงานที่รักและชอบที่จะทาตรงนี ้ แล้ วยังถือว่าเป็ นหน้ าที่ ปั จจุบนนี ้การ ั แกะสลักช้ างให้ ผ้ คนได้ ชื่นชมชื่นชอบไม่ใช่จิตวิญญาณที่แท้ จริง แต่ในความเป็ นจริงคืออยากที่จะสะท้ อนให้ คนไทยทุกคน ู หันมาให้ ความสนใจในเผ่าพันธุ์ของช้ างอย่างจริงจัง อยากให้ มีการอนุรักษ์ ให้ ช้างอยู่ค่กบบ้ านเมืองเราไปตราบนานเท่า ูั นาน สิงนี ้มันเป็ นสาระสาคัญของผลงานที่ผมทาออกมาทั ้งหมด... ” ่ “สล่าเพชร ” แห่ง “บ้ านจ๊ างนัก” กล่าวทิ ้งท้ ายก่อนจะเป็ น “ช้ างแกะสลัก ” “เสกสรรค์งานศิลป ถิ่นล้ านนา ์ สืบสานคุณค่า จิตวิญญาณช้ างไทย”
  • 5. “เสกสรรค์งานศิลป ถิ่นล้ านนาสืบสานคุณค่า จิตวิญญาณช้ างไทย” ์ นี่เป็ นคาจากัดความหนึงของ “บ้ านจ๊ างนัก” ศูนย์รวมกลุมสล่า-ช่างแกะสลักช้ างหลายสิบชีวิต ที่นาโดย ่ ่ “สล่าเพชร ” ซึงการแกะสลักช้ างของกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนักเป็ นทั ้งการสืบสานต่อศิลปะวิธีการแกะสลักช้ างที่ทาสืบทอดกัน ่ ่ มาเป็ นเวลายาวนานใน จ.เชียงใหม่ เป็ นการสร้ างรายได้ ให้ กบคนในท้ องถิ่นและช่วยสร้ างฝี มือไว้ แก่คนรุ่นหลังไม่ให้ สญ ั ู หาย อีกทั ้งยังเป็ นการนาวัตถุดิบไม้ ที่หาได้ ในท้ องถิ่นมาสร้ างคุณค่าให้ เพิ่มพูนอย่างสูงสุด ทั ้งนี ้ กับผลงานแกะสลักช้ างนั ้น นอกจากฝี มือการแกะแล้ วก็จาเป็ นต้ องมีองค์ประกอบในเชิงช่าง ไม่ว่าจะเป็ นเครื่องมือที่ หลัก ๆ ก็มี... สิวหมัก (สิวตัว V) มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ใช้ สลักนาเส้ นตามแบบงานและใช้ แต่งลายเส้ นต่าง ๆ , สิวแบน มี ่ ่ ่ หลายขนาด ทั ้งใหญ่ กลาง เล็ก ใช้ ถาก ย ้าเส้ นต่าง ๆ และตัดไม้ สวนที่ไม่ต้องการออก , สิวแกะ (สิวตัว U) ขนาดใหญ่ กลาง ่ ่ ่ เล็ก ใช้ แกะ ถาก เจาะ และตกแต่งรายละเอียดของชิ ้นงานค้ อน ใช้ ตอกสิว ทาด้ วยไม้ เนื ้อแข็งมีด้ามจับ มีหลายขนาดและ ่ หลายน ้าหนัก ไม้ ปั จจุบน ไม้ ขี ้เหล็ก-ไม้ ฉาฉา-ไม้ ขนุน เป็ นไม้ ที่บ้านจ๊ างนักเลือกใช้ แทนไม้ สก เนื่องจากเป็ นไม้ ที่ขึ ้นในท้ องถิ่น ไม่ใช่ไม้ จาก ั ั ป่ า ซึงในอดีตเป็ นเพียงไม้ ทาฟื นของชาวบ้ าน และก็ยงใช้ บางส่วนของ ไม้ ตาล ด้ วยสี ก็เป็ นสีที่ได้ จากธรรมชาติ เป็ นสีของ ่ ั ผลมะเกลือ นามาผ่านกรรมวิธีเฉพาะ ว่าไปแล้ ว “ช้ างแกะสลัก ” บ้ านจ๊ างนัก...ก็มีจดกาเนิดจากธรรมชาติเฉกเช่นช้ างจริง ในวันที่ 15 มิถนายน 2550 เป็ นวันเปิ ด ุ ุ งานแสดงผลงาน “พลังหญิงพลังศิลป ” เป็ นการรวมตัวของศิลปิ นหญิงในประเทศไทยเพื่อจัดกิจกรรมและแสดงผลงาน ์ ศิลปกรรมร่วมกัน ในวันนั ้นดิฉนมีหน้ าที่กล่าวในพิธีเปิ ดงานในฐานะเป็ นผู้จดทาโครงการนี ้ในช่ว งระยะเวลาของการกล่าว ั ั เพื่อขอบคุณดิฉนไล่เรียงทุกส่วนที่เกี่ยวข้ องอย่างราบรื่นจนถึงช่วงสุดท้ ายของการกล่าวโดยรู้สกว่าควรจะต้ องจบการกล่าว ั ึ ได้ แล้ วช่วงเวลานั ้นมีบางอย่างปรากฏเป็ นภาพประจันขึ ้นเต็มหน้ าดิฉน ภาพนั ้นเป็ นภาพขององค์พระคเณศเต็มพระพักตร ั สีขาว
  • 6. ผลงานและเกียรติประวัติ ศิลปิ นดีเด่ นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543 สาขาทัศนศิลป ด้ านประติมากรรม ์ พ.ศ.2535 : นาทีมกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการ คาราวานช้ างไม้ ๑ที่จงหวัดภูเก็ต ่ ั พ.ศ.2536 : ร่วมแสดงมหกรรมประติมากรรม 93ปี ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี ์ ณ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ หอศิลปะ ถนนเจ้ าฟา กรุงเทพ ้ พ.ศ.2537 :นาทีมงานกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้ างไม้ ๒ ณ ศูนย์การแพทย์ ่ โรงพยาบาลเทพธารินทร์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2541 :นาทีมงานกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้ างไม้ ๓ ณ ศูนย์การค้ าโอเรียลเต็ลเพลส ่ พ.ศ.2542 :นาทีมงานกลุมสล่าบ้ านจ๊ างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้ างไม้ ๔ ณ โรงแรมรอยัลการ์ เด้ นทร์ รีสอร์ ท พัทยา ่ พ.ศ.2542 : ร่วมนิทรรศการศิลปกรรมศิลปิ นภาคเหนือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว ั มหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา 6รอบ ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2543 :ร่วมแสดงนิทรรศการศิลปกรรมของศิลปิ นภาคเหนือ “จิตวิญญาณล้ านนา ๗ คนเมือง ” พ.ศ.2543 :คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ มอบโล่เชิดชูเกียรติ เป็ นศิลปิ นดีเด่น จังหวัดเชียงใหม่ สาขาทัศนศิลป ประจาปี 2543 ์ คือเพชร วิริยะยอดแล้ ว ลือสมัย วิเศษเลิศล้ านนาไทย ทิพย์แท้ สล่าสลักรักไกล คับถิ่น สวรรค์เนอ แสนลิขิตไป่ เปรียบแม้ หนึงช้ างเสกศิลปะ ่
  • 8. ผลงานพิพิธภัณฑ์บานจ๊างนัก ้ ช้ างแกะสลักตัวแรกที่ฝึกเรี ยนกับครู คาอ้ าย เดชดวงตา ปี 2515
  • 9.
  • 10. ผลงานพิพิธภัณฑ์บานจ๊างนัก ้ ________________________________________________________________________________________________________________________________________________
  • 11.
  • 12. ขันตอนการแกะสลักช้าง มีดงต่อไปนี้ ้ ั 1. ออกแบบงานที่ต้องการแกะสลัก โดยวาดคร่าวๆ บนกระดาษ กาหนด ขนาด และสัดส่วนของชิ ้นงานตามต้ องการ 2. จัดเตรียมอุปกรณ์ ได้ แก่ - ไม้ ไม้ ที่ใช้ แกะสลักทัวไป ควรเป็ นไม้ เนื ้อแข็ง มีความแห้ ง ได้ แก่ ไม้ สก ไม้ ขี ้เหล็ก ่ ั ไม้ ขนุน เป็ นต้ น ในการนี ้ ต้ องตัดไม้ ตามขนาดที่ต้องการ - สิ่ว สิวที่ใช้ ่ โดยหลักแบ่งตามลักษณะรูปร่าง ได้ 3 ประเภท แบ่งเป็ น 1 สิ่วเล็บเมือ มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ทาจากเหล็กกล้ า ด้ ามเป็ นไม้ สามารถ เปลียนด้ ามได้ ปลายตัดเป็ น รูปตัวยู ใช้ เจาะ ขึ ้นรูป หรือเซาะร่อง ่ 2 สิ่วตัววี มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ทาจากเหล็กกล้ า ด้ ามเป็ นไม้ สามารถเปลียนด้ ามได้ ปลายตัดเป็ น รูปตัววี ่ ส่วนมากใช้ เซาะร่องให้ ลก และใช้ ทารายละเอียด ึ 3 สิ่วแบน มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ทาจากเหล็กกล้ า ด้ ามเป็ นไม้ สามารถเปลียนด้ ามได้ ปลายตัดแบน ใช้ ่ สาหรับเดินเส้ น หรือตัดเส้ นทั ้งนี ้ สล่าหนึงคน จะมีสวคู่ใจของตัวเองหนึงชุด ซึงแต่ละคนจะให้ ความสาคัญ และ ่ ิ่ ่ ่ เก็บรักษาสิวของตัวเองเป็ นอย่างดี ถือว่าเป็ นของสูง เป็ นเครื่องมือสาคัญ สิวบางอัน แรกใช้ ยาวสักสิบนิ ้ว ใช้ มา ่ ่ ตั ้งแต่เป็ นหนุ่มน้ อย จนปั จจุบน หนุ่มเหลือน้ อย ลับคมไปมาจนเหลือความยาวแค่ครึ่งเดียวก็มี ั
  • 13. - ค้ อน ค้ อนที่ใช้ ในการแกะสลัก ก็มีหลายชนิดด้ วยกัน ดังนี ้ 1 ค้ อนเหล็ก ส่วนมากทามาจากเหล็กกล้ า เอาไว้ สาหรับงานชิ ้นใหญ่ที่ต้องใช้ แรงเยอะ เช่นงานเจาะไม้ ตอกไม้ เป็ นต้ น 2ค้ อนไม้ โดยมากค้ อนไม้ เป็ นที่นิยมที่สด ทามาจากไม้ เนื ้อแข็งได้ หลายชนิด เช่นไม้ ประดู่ ไม้ ชิงชัน ไม้ แก่น ุ มะขาม ส่วนไม้ ที่ดีที่สด คือ แก่นมะขาม เพราะมีความแข็ง และยืดหยุ่นสูง เวลาแกะ เช่นเดียวกันกับสิว สล่า ุ ่ มักจะมีค้อนคู่ใจ ที่ร้ ูน ้าหนักมือ ถึงแม้ อายุการใช้ งานจะไม่ยาวนานเท่าสิวเหล็ก แต่ก็มกจะใช้ ค้อนนคู่ใจเป็ นเวลา ่ ั ยาวนานจนกว่าค้ อนจะสึก หรือสล่าจะตายจากค้ อนไปทีเดียว นอกจากนี ้ บางคนยังใช้ มือแทนค้ อน ในกรณีที่ต้องการแกะในส่วนที่มีความละเอียดมากๆ เพราะสามารถ ควบคุมน ้าหนักมือที่ถ่ายทอดไปยังปลายสิวได้ อีกด้ วย ่
  • 14. บ้ านถวาย เป็ นหมู่บ้านเก่าแก่ ตั ้งมาประมาณ 100 กว่าปี สาเหตุที่ ชื่อบ้ านถวาย ตามคาบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าว่าบ้ านถวาย ดั ้งเดิมเป็ นจุดถวายของให้ พระนางเจ้ าจามเทวีที่เสด็จผ่าน จากนคร ลาพูน ซึงเดินทางโดยทางเกวียนผ่านมาทางบ้ านถวาย ชาวบ้ านเมื่อ ่ ทราบข่าวการจะเสด็จผ่านของพระนางฯ จึงพากันเตรียมข้ าวของ หรือบางครอบครัวก็จะช่วยกันรีบตีเครื่องเงินเตรียมไว้ ถวาย บ้ านถวายเป็ นหมู่บ้านหนึง ในตาบลขุนคง อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ ่ ประมาณ 18 กิโลเมตร แต่เดิมชาวบ้ านประกอบอาชีพหลักทางด้ านการเกษตร แต่เมื่อประสบกับภาวะขาด แคลนน ้าในฤดูแล้ งทาให้ ผลผลิตตกต่า ส่งผลให้ ชาวบ้ านมีรายได้ น้อย ดังนั ้นหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้ านส่วนใหญ่ จะเดินทางไปรับจ้ างทางานในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่น รับจ้ าง ก่อสร้ าง และอื่น ๆ แต่มีบางส่วนออกไปค้ าขาย ไม่ได้ ประกอบอาชีพอยู่ในท้ องถิ่นของตัวเอง จนกระทัง ปี พ.ศ. 2500- 2505 พ่อใจ๋มา อิ่นแก้ ว พ่อหนานแดง พันธุสา และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ทั ้งสามท่าน ่ ได้ ไปรับจ้ างอยู่ในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่นเดียวกับชาวบ้ านทัวไป จนท่านได้ ไปที่ร้านน้ อมศิลป บ้ านวัวลายซึงเป็ น ่ ์ ่ ร้ านจาหน่ายไม้ แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั ้น ทั ้งสามท่านเกิดความสนใจในการรับจ้ างแกะสลักไม้ จึงได้ ขอทางร้ าน ทดลองแกะดู ปรากฏว่าฝี มือพอทาได้ ทางร้ านจึงให้ เริ่มทางานรับจ้ างที่ร้านน้ อมศิลปตั ้งแต่นั ้นมา การทางาน ์ แกะสลักไม้ ของทั ้งสามท่านปรากฏว่ามีรายได้ ดีกว่าการรับจ้ างก่อสร้ าง และทุกวันฝี มือการแกะสลักก็พฒนาขึ ้น ั เรื่อย ๆ ท่านจึงเปลียนอาชีพจากการับจ้ างทัวไปมาเป็ นการรับจ้ างแกะสลักไม้ ที่ร้านดังกล่าว จนเมื่อเกิดความ ่ ่ ชานาญ และเมื่อมีงานมากขึ ้นทั ้งสามท่านจึงได้ ขอนามาทาที่บ้าน และถือเป็ นจุดเริ่มต้ นของการถ่ายทอดงาน แกะสลักไม้ ให้ แก่ลกหลาน ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้ านโดยไม่ร้ ูตวและไม่หวงความรู้แม้ แต่น้อย งานที่นามาถ่ายทอด ู ั ครั ้งแรก เป็ นการแกะสลักไม้ แผ่นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ลายครุฑ ตุ๊กตาดนตรี ต่อมาเริ่มทาเป็ น ตัว พระ และรับซ่อมตกแต่งของเก่าประเภทงานไม้ และเริ่มเลียนแบบของเก่าที่มีผ้ นามาซ่อม พร้ อมทั ้งออกแบบงาน ู ที่เป็ นเอกลักษณ์ของบ้ านถวายเอง จากนั ้นได้ มีกลุมสตรีแม่บ้านของบ้ านถวายเองซึงออกไปรับจ้ างทางานสี งาน ่ ่ แอนติค และตกแต่งลวดลายเส้ นที่ร้านในเมืองเชียงใหม่ ย่านวัวลาย และได้ พฒนาฝี มือ ทาลวดลาย ปิ ดทอง จน ั เกิดความชานาญเช่นเดียวกัน เมื่อมีงานเพิ่มขึ ้นทางร้ านให้ นามาทาที่บ้านโดยคิดค่าจ้ างทาเป็ นชิ ้น เมื่องานเสร็จ ก็นาไปส่งที่ร้าน ก็นบว่าเป็ นโอกาสดีที่จะได้ นามาถ่ายทอดในหมู่บ้าน และโอกาสในการพบปะกับลูกค้ าของทาง ั ร้ าน ซึงลูกค้ าก็ได้ ติดต่อโดยตรงและเข้ ามาซื ้อสินค้ าถึงในหมู่บ้านจึงทาให้ บ้าน ่
  • 15. "หมู่บ้านถวาย" หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP ต้ นแบบของประเทศไทย กับความมีชื่อเสียงด้ านงานศิลปหัตถกรรมไม้ แกะสลัก และเป็ นศูนย์ รวมของสินค้ าหัตถกรรมทุกแขนงทัวประเทศ เป็ นหมู่บ้านหัตถกรรม ่ ที่ใหญ่ที่สดในประเทศไทย เป็ นที่ยอมรับในคุณค่าแห่งงานหัตถศิลป ุ ์ และคุณภาพของสินค้ า จนเป็ นที่ร้ ูจกไปทัวโลก ั ่ ผลิตภัณฑ์ไม้ แกะสลัก หมู่บ้านถวาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ "บ้ านถวาย" เป็ นแหล่งศิลปะหัตถกรรมชั ้น ยอดของเมืองเชียงใหม่ ที่สร้ างผลงานไม้ แกะมากมาย ส่งออกขายทั ้งไทยและต่างประเทศ อันเป็ นสถานที่ที่นามา ซึงชื่อเสียงของชาวบ้ านถวาย และเมื่อกล่าวถึง “งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรืองานประดิษฐ์ จากไม้ ” บุคคลทัวไป ่ ่ ทุกคนจะต้ องนึกถึง “บ้ านถวาย ” อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เพราะเหตุว่า งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรืองาน ประดิษฐ์ จากไม้ ของบ้ านถวายนั ้น เป็ นงานศิลปหัตถกรรมที่มีคณภาพ มีชื่อเสียงเป็ นระยะเวลานาน มีความ ุ สวยงาม ประณีต และเป็ นงานที่ทาขึ ้นด้ วยมือ ( Hand Made) ผสมกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่สบทอดกันมาตลอด ื ระยะเวลา 40 กว่าปี ที่ผ่านมา จนเป็ นที่ร้ ูจกกันอย่างแพร่หลาย ทั ้งชาวไทยและชาวต่างประเทศทัวโลก และด้ วย ั ่ เหตุผลนี ้ ในปี พ.ศ.2547 จากนโยบายหนึงผลิตภัณฑ์ หนึงตาบลของรัฐบาล บ้ านถวายได้ รับเกียรติจากกรม ่ ่ พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เป็ น “หมู่บ้าน OTOP ต้ นแบบ” ของประเทศไทย และได้ รับเกียรติจาก สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็ น “ หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP (OTOP Tourism Village)” แห่งแรกของประเทศไทย นักท่ องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมหมู่บ้านแห่ งนี ้ จะได้ พบกับ การสาธิตในทุกขันตอน ได้ แก่ ้ •การผลิตผลิตภัณฑ์จากไม้ •การสาธิต ลงรักปิ ดทอง •การแสดงศิลปะพื ้นบ้ าน •การแข่ง "สุดยอดสล่าไม้ " •ชมขบวนแห่ลกแก้ ว ในพิธีบรรพชาสามเณรหมู่ ู
  • 16. ศูนย์ หัตถกรรมบ้ านถวาย และศูนย์ หตถกรรมบ้ านถวายสองฝั่ งคลอง ั ศูนย์หตถกรรมบ้ านถวายสองฝั่ งคลอง ตั ้งอยู่บริเวณใจกลางหมู่บ้านถวายที่ถือว่าเป็ นจุดกาเนิดของงาน ั แกะสลักที่แท้ จริง มีร้านค้ าหัตถกรรมอยู่บริเวณสองข้ างคลองชลประทาน มีการประดับตกแต่งพื ้นที่ด้วย สถาปั ตยกรรมล้ านนา มีภูมิทศน์ที่สวยงาม ภายใต้ บรรยากาศวิถีชีวิตหมู่บ้านไม้ แกะสลักบ้ านถวาย จน ั ผลิตภัณฑ์ไม้ แกะสลักได้ รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในปั จจุบนทั ้งด้ านคุณค่า และคุณภาพของสินค้ า เป็ น ั จุดรวมความหลากของงานด้ านศิลปหัตถกรรม มีสนค้ าหลายประเภทให้ เลือกชม ไม่ว่าจะเป็ นงานแกะสลักเป็ น ิ รูปสัตว์ รูปเทวดา รูปสัตว์ในป่ าหิมพานต์ ตลอดจนของตกแต่งบ้ านอีกมากมาย อันได้ แก่ ดอกไม้ , กรอบรูป , กรอบกระจก, โคมไฟ, ที่ใส่กระดาษทิชชูแบบต่าง ๆ รวมถึงแจกันดอกไม้ หลายขนาด ตลอดจนเฟอร์ นิเจอร์ ไม้ คุณภาพส่งออก และอื่น ๆ สินค้ าศูนย์ หัตถกรรมบ้ านถวาย
  • 17. สินค้ าที่สนใจ โคมไฟไม้ สก โคมไฟติดผนัง โคมไฟแขวน โคมไฟหัวเสางานโคมไฟแบบไทยๆ เน้ นติดผนังและแขวนเพดาน ทา ั จากไม้ สกแท้ ทาสีโอ๊ ค (หรือจะไม่ทาสีก็ได้ ) ทุกชิ ้นมีขั ้วหลอดไฟพร้ อมสายต่อเรียบร้ อย ั โคมไฟติดผนัง 5 เหลียม ฉลุลาย ่ โคมไฟติดผนัง กระจกลาย โคมไฟ ติดผนัง หรือ ตั ้งหัวเสา โคมไฟหัวเสาซี่ไม้ กลม กระจกลายนูน ราคา250 ราคา250 ราคา250 ราคา250 โคมไฟหัวเสาซี่ไม้ กลม โคมไฟหัวเสา สีเ่ หลียมกระจกฝา ่ ้ โคมไฟติดผนังปี กแมงทับ โคมไฟสีเ่ หลียมฉลุมือ ่ ราคา250 ราคา250 ราคา250 ราคา 300
  • 18. โคมไฟไม้ สักแบบแขวน โคมไฟไม้ แบบแขวน ทาจากไม้ สกแท้ สวยงามตามแบบงานศิลปไทย ั ลักษณะ ส่วนด้ านบนของโคมไฟจะทาลวดลายทาทรงคล้ ายหลังคาบ้ าน แบบไทยๆแล้ วทายอดหลังคาสูงขึ ้น เจาะรูตรงยอดไม้ เผื่อสามารถ นาไปแขวนโชว์ หรือตกแต่งบ้ าน ตกแต่งสวนให้ สวยงาม มากยิ่งขึ ้น โคมไฟจะเป็ นมีหกมุม แต่ละมุมจะเป็ นไม้ สวนระหว่างไม้ จะเป็ นอคิลก ่ ิ เผื่อที่เปิ ดโคมไฟแล้ วจะให้ ความสว่างได้ ส่วนฐานจะนาไม้ มาฉลุลายเพิ่มความสวยงามงานจะเป็ นไปตามแบบ ศิลปวัฒนธรรมแบบไทยๆ ประโยชน์ ในงานภูมทศน์ ิ ั -เพิ่มความสวยงามงานจะเป็ นไปตามแบบศิลปวัฒนธรรมแบบ ไทยๆ -ตกแต่งบ้ านให้ มีความเป็ นไทยและล้ านนา -มีความสวยงามของตัวโครมไฟตอนแสงออกจากไฟทาให้ บรรยากาศดี
  • 19. บ้ านเหมืองกุง บ้ านเหมืองกุงเป็ นหมูบ้านเล็ก ๆ อยู่ไม่ไกลจากตัวเมือง ่ เชียงใหม่มากนัก เดินทางสะดวกตามถนนสายเชียงใหม่- หางดงเพียง 6 กิโลเมตร ใช้ เวลาเดินทางประมาณ 10 นาที และยังเป็ นทางผ่านไปยังสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ เช่น บ้ านถวาย ดอยอินทนนท์ ทังยังอยู่ใกล้ แหล่ง ้ ท่องเที่ยวใหม่ อาทิ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ,พืชสวนโลก เป็ นต้ น บ้ านเหมืองกุงได้ รับเลือกจากพัฒนาชุมชน อ.หางดง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้ เป็ น หมูบ้านโอท็อปเพื่อการท่องเที่ยวเมื่อหลายปี ก่อน เพราะเป็ นหมูบ้านผลิตเครื่องปั นดินเผาที่มี ่ ่ ้ เรื่องราวประวัติศาสตร์ วิถีวฒนธรรมที่สามารถร้ อยเรียงเชื่อมโยงได้ อย่างกลมกลืนกับการ ั ท่องเที่ยว จากคาบอกเล่าของผู้อาวุโสในหมูบ้านเหมืองกุงที่ได้ รับคา ่ บอกเล่าต่อกันมาจากบรรพบุรุษที่มาตังรกรากอยู่บ้าน ้ เหมืองกุง เป็ นคนไทที่ถกกวาดต้ อนมาจากเมืองปุ เมือง ู สาด รัฐเชียงตุง ซึ่งปั จจุบนอยู่ในเขตรัฐฉานประเทศพม่า ั แต่ก่อนหน้ าที่จะมาอยู่ในพม่า บรรพบุรุษของที่นี่น่าจะเคย อยู่ที่แคว้ นสิบสองปั นนาทางตอนใต้ ของจีนมาก่อน จึงคาด ว่าวิชาชีพด้ านช่างเครื่องปั นดินเผาของบ้ านเหมืองกุงน่าจะ ้ สืบทอดมาจากสิบสองปั นนา โดยมีหตถกรรมที่เป็ นมรดกชิ ้นสาคัญคือ “น ้าต้ น” หรือ “คนโท” ั และ “หม้ อน ้า” ที่เป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของล้ านนา
  • 20. ปั จจุบนหมูบ้านแห่งนี ้มีประชากรอยู่ ั ่ อาศัย 135 ครัวเรือน ในอดีตเกือบทุก ครัวเรือนมีอาชีพงานปั นเป็ นหลัก แต่เป็ น ้ ลักษณะต่างคนต่างทาส่งขายให้ กบ ั พ่อค้ าคนกลาง มายุคนี ้มีครัวเรือนที่ ทางานปั นไม่มากนัก เพราะชาวบ้ านส่วน ้ หนึ่งเข้ าไปทางานรับจ้ างในตัวเมือง แต่ เมื่อมีการตังกลุมหัตถกรรมเครื่องปั นดินเผาบ้ านเหมืองกุงขึ ้นเมื่อ 3 ปี ที่แล้ ว ทาให้ ชาวบ้ านเริ่มเห็น ้ ่ ้ ความสาคัญและรวมตัวกันมากขึ ้น มีสมาชิกกลุมทังหมด 22 ครัวเรือน ที่ยงคงทาอาชีพ ่ ้ ั เครื่องปั นดินเผาอย่างจริง ๆ จัง ๆ โดยรายได้ หลักของหมูบ้านแห่งนี ้ประมาณ 70 % มาจากงาน ้ ่ ปั น ้ สัญลักษณ์โดดเด่นของหมูบ้านแห่งนี ้ก็คือ “น ้าต้ น” หรือ ่ “คนโท” ขนาดใหญ่สง 18 เมตร เส้ นผ่าศูนย์กลาง 8 เมตร ู 85 เซนติเมตร ซึ่งคาดว่าจะเป็ นคนโทที่ใหญ่ที่สดในโลก ตัง้ ุ เด่นตระหง่านอยู่ปากทางเข้ าหมูบ้าน เป็ น Landmark ที่ ่ เพิ่มแรงดึงดูดให้ นกท่องเที่ยวแวะเวียนมาเที่ยวชมอย่างไม่ขาด ั สาย
  • 21. จากซุ้มประตูทางเข้ าหมูบ้านถึงท้ ายหมูบ้านมี ่ ่ ระยะทางประมาณ 300 เมตร ตลอดระยะทางจะได้ เห็น ชาวบ้ านนังปั นเครื่องปั นดินเผากันอยู่ภายในตัวบ้ าน ความ ่ ้ ้ โดดเด่นของเครื่องปั นที่นี่อยู่ที่ความละเอียดและเรียบง่าย ้ เป็ นดีไซน์ที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ มีกรรมวิธีที่เรียบง่าย ไม่ซบซ้ อน และใช้ วตถุดิบคือดินเหนียวในท้ องถิ่นและจาก ั ั อาเภอรอบนอก มีรูปแบบที่สามารถใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ และมีราคาถูก เพราะเป็ น เครื่องปั นดินเผาเนื ้อดินธรรมดาไม่เคลือบ และการเผาก็ยงใช้ เตาแบบโบราณที่ต้องใช้ ฟืนเป็ น ้ ั วัตถุดิบหลัก อย่างคนโทราคาเริ่มตังแต่ใบละ 12 บาท ส่วนหม้ อน ้าใบละ 35 บาท นอกจากคนโท ้ และหม้ อน ้าที่เป็ นหัตถกรรมชิ ้นเอกของหมูบ้าน ปั จจุบนชาวบ้ านก็เริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปใน ่ ั รูปแบบอื่น ๆ ตามคาสังซื ้อของลูกค้ า เช่น โคมไฟ กระถาง อ่างบัว แจกัน ฯลฯ ่ ด้ วยเพราะเป็ นหมูบ้านเล็ก ๆ และสงบ นักท่องเที่ยว ่ จึงสามารถเดินดูความเป็ นอยู่และงานหัตถกรรมของ ชาวบ้ านได้ อย่างสะดวก จะแวะเข้ าไปชมงานปั นบ้ าน ้ ไหนก็ได้ ชาวบ้ านก็ยิ ้มแย้ มและพร้ อมจะเล่าเรื่องราว ให้ ฟังอย่างเต็มใจ อนาคตทางกลุมฯ ได้ เตรียม ่ แผนพัฒนาไว้ หลายด้ าน โดยเฉพาะการจัดให้ มีการสาธิตการปั นหากนักท่องเที่ยวสนใจอยาก ้ ทดลองทา พร้ อมกับจะมีมคคุเทศก์หรือไกด์ในท้ องถิ่นเป็ นผู้นาทางและบอกเล่าเรื่องราว รวมถึง ั การทาโฮมสเตย์ เพื่อให้ นกท่องเที่ยวได้ สมผัสวิถีชีวิตได้ อย่างเข้ าถึงมากขึ ้น ั ั
  • 22. วิถีชีวิต งานหัตถกรรมเครื่องปั นดินเผาดีไซน์เรียบง่ายที่มีบริบททางประวัติศาสตร์ทาบทาอยู่ น่าจะ ้ ทาให้ “บ้ านเหมืองกุง” เป็ นแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่งของเมืองเชียงใหม่ที่นกท่องเที่ยวไม่ควรพลาด ั เข้ ามาสัมผัส สินค้ าที่น่าสนใจน ้าพุ น ้าล้น ราคา500บาท แต่ งสวนสวยเสริ มฮวงจุ้ย น ้าล้ น หรือ น ้าผุด... น ้าที่มีความเคลือนไหว ่ เปรียบเสมือนทรัพย์ เป็ นพลังแห่ง “หยาง” พลัง หมุนเวียน ขจัดสิงชัวร้ าย เงินทองไหลมาเทมา อยู่เย็นเป็ นสุข รุ่งเรืองมหาผล นอกจากนี ้ ละอองน ้ายังนาความชุ่ม ่ ่ ชื่น เข้ าสูภายในบ้ านอีกด้ วย ่ รูปทรงของน ้าล้ น หรือ น ้าผุด ควรเป็ นทรงกลม หรือ ทรงรี ไม่ควรมีเหลียมมุม เพราะอาจพุ่งเข้ าสูตวบ้ าน จะเป็ น ่ ่ ั ผลเสียมากกว่าผลดี การจัดตังหรื อจัดวางควรพิจารณาจากหลักการดังนี ้ ้
  • 23. จัดวางไว้ ในสวน เพราะสวนเป็ นไม้ น ้ากับไม้ เสริมกันให้ พลังกับตัวบ้ าน ห้ องรับแขก เป็ นห้ องที่มีความเคลือนไหว น ้าล้ นหรือน ้าผุด เป็ น “หยาง” พลังแห่งความเคลือนไหว จึงเหมาะใน ่ ่ การจัดวางน ้าล้ นเช่นกัน อาคารพาณิชย์ อาคารสานักงาน มีความเคลือนไหวอยู่เสมอ ควรจัดวางทางด้ านหน้ าหรือด้ านข้ าง แต่อย่าวาง ่ ด้ านหลัง เพราะตามหลักฮวงจุ้ย ถือว่า เป็ นความมันคง ควรมีความนิ่งมากกว่า ่ ไม่ควรมีน ้าล้ น หรือน ้าผุด ในห้ องนอน เพราะเป็ นห้ องแห่งความสงบ (หยิน) ถ้ าเอาสิงเคลือนไหว ไปตั ้งใน ่ ่ ห้ องนอนจะไม่เป็ นสุข ห้ องครัวไม่ควรจัดวาง เพราะครัวเป็ นธาตุไฟ จะทาให้ เกิดความขัดแย้ งภายในบ้ าน ทิศที่ควรจัดวาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ดีที่สด) อยู่เย็นเป็ นสุข เจริญรุ่งเรือง ุ ทิศเหนือ เป็ นธาตุไม้ น ้ากับไม้ เกื ้อหนุนกันดี จัดวางได้ เช่นกัน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วยให้ อาชีพการงานเจริญรุ่งเรือง **ตาแหน่งในการจัดวาง ควรพิจารณาจากหลักข้ างต้ นนี ้ ประกอบกับความเหมาะสมของบ้ านด้ วย อย่ายึดติดกับ ทิศทางมากนัก ให้ คานึงถึง ความกลมกลืนลงตัวกับธรรมชาติ และเหมาะสม กับพื ้นที่ในบ้ านเป็ นดีที่สด ุ นางสาวอัมพิกา อินไชย รหัส 5219101336 สาขาเทคโนโลยีภูมิทศน์ ั