SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ถอดบทเรียน

บ้ านจ๊ างนัก

ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่ งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูก
ศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝี มือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบ
ล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา

เมื่อ ปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่ ง
หนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อ
                                                   ่
บ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย
                                          ้

บ้าน จ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง ช้างไม้แกะสลัก จากเดิมที่
ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะซ้ ากัน มาเป็ นการแกะสลักช้าง
ที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่ งนับเป็ นแห่ งแรกที่มี
การแกะสลักช้าง รู ปแบบนี้
ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียน
การ์ตูนชื่อดัง เป็ นผูต้ งให้ บ้านจ๊างนักเป็ นภาษาถิ่นความหมาย
                      ้ั
ว่า มีชางแกะสลักมากนันเอง ทุกวันนี้ บานจ๊างนักมีทีมงาน
       ้                   ่                ้
แกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่ งเป็ นญาติพี่นอง เพื่อน ลูกศิษย์ และคน
                                         ้
หนุ่มๆ ในหมู่บานทั้งสิ้ น" สล่าเพชร เล่าความเป็ นมา
                  ้

 มาถึงยุคปัจจุบนงานฝี มือจากบ้านจ๊างนักยิงทวีความนิ ยมมาก
               ั                         ่
ขึ้น โดยเฉพาะในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ ที่มี
                      ั
โอกาสแวะชมงานหัตถกรรมล้านนา ต่างซื้ อติดมือกลับบ้าน
เพื่อเป็ นของฝากหรื อนาไปตกแต่งบ้าน แต่ถาเป็ นช้างตัวโตๆ
                                           ้
ทีมงานของสล่าเพชรก็จะหาหนทางจัดส่ งให้ลูกค้าถึงปลายทาง
งานศิลปะของบ้านจ๊างนักจึงกระจายไปทัวทุกมุมโลก
                                       ่

 "การทาช้างของบ้านจ๊างนักตอนนี้ มีท้ งงานแกะสลักไม้และ
                                      ั
                                                   ่ั
ปูนปั้น เดือนหนึ่งมีผลงานนับร้อยชิ้ น ราคาขึ้นอยูกบขนาด
เฉลี่ยตั้งแต่ 1,000 บาท ไปจนถึงมูลค่า 7 หลัก ซึ่ งผลงานที่เรา
ภูมิใจมากคือการแกะสลักช้างไม้ชื่อ คิริเมขล์ไตยดายุค เป็ น
ช้างสามเศียรขนาดสู ง 5 เมตร กว้าง 3 เมตร ใช้เวลาสร้าง
ประมาณ 3 ปี ผมเตรี ยมส่ งให้ลูกค้าราวกลางเดือนสิ งหาคม
ผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลัก หมู่บานถวาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้
                         ้
แนวความคิด ว่า "บ้านถวาย เที่ยวหมู่บานไม้แกะสลัก"
                                    ้

                                ั
เมื่อเอ่ยถึงถิ่นล้านนา ก็คงรู ้กนว่าหมายถึงจังหวัดเชียงใหม่ ถ้าหากเรามาเที่ยวที่
เชียงใหม่ หลายท่านคงนึกถึง พระธาตุดอยสุ เทพ ดอยอินทนนท์ ไนท์บาซาร์
                          ่
อะไรประมาณนี้ แต่มีอยูอีกที่หนึ่งที่ใครๆ ก็นิยมมาเที่ยวและจับจ่ายซื้ อของ
กลับบ้านไป และสถานที่น้ ีก็คอ "บ้านถวาย"
                                  ื

บ้านถวาย เป็ นแหล่งศิลปะหัตถกรรมชั้นยอดของเมืองเชียงใหม่ ที่สร้าง
ผลงานไม้แกะมากมาย ส่ งออกขายทั้งไทยและต่างประเทศ
เมื่อกล่าวถึง “งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรื องานประดิษฐ์จากไม้” บุคคลทัวไป่
ทุกคนจะต้องนึกถึง “ บ้านถวาย ” อาเภอหางดง จังหวัดเชี ยงใหม่ เพราะเหตุ
ว่า งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรื องานประดิษฐ์จากไม้ ของบ้านถวายนั้น เป็ น
งานศิลปหัตถกรรมที่มีคุณภาพ มีชื่อเสี ยงเป็ นระยะเวลานาน มีความสวยงาม
ประณีต และเป็ นงานที่ทาขึ้นด้วยมือ (Hand Made) ผสมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
                                              ่
ที่สืบทอดกันมาตลอดระยะเวลา 40 กว่าปี ที่ผานมา จนเป็ นที่รู้จกกันอย่าง
                                                            ั
แพร่ หลาย ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศทัวโลก และด้วยเหตุผลนี้ ในปี
                                            ่
พ.ศ.2547 จากนโยบายหนึ่งผลิตภัณฑ์ หนึ่งตาบลของรัฐบาล บ้านถวายได้รับ
เกียรติจากกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เป็ น “หมู่บาน OTOP
                                                         ้
บ้ านเหมืองกง
                                   ุ
ลักษณะของสถานที่
 เป็ นหมู่บานเหมืองกุงเป็ นหมู่บานที่ผลิตเครื่ องปั้นดินเผาชนิดต่างๆ ออกสู่
           ้                        ้
ตลาดตั้งแต่สมัยโบราณ มีการทาน้ าต้น (คนโทใส่ น้ า)และหม้อน้ าไปขายใน
เมืองเชียงใหม่ ปั จจุบนทาเครื่ องปั้ นดินเผาหลากหลาย
                        ั
ของฝากของที่ระลึก
 อาหารพื้นเมือง(น้ าพริ กหนุ่ม,แคบหมู,หมูยอ,แหนม,กระเทียมโทนดอง,ท้อ
ดอง-แช่อิ่ม,บ๊วย), ผักผลไม้(เห็ดหอม,แครอท,กะหล่าม่วง มะระหวาน,สาลี่,
พลับ,แอปเปิ้ ล,ส้มสี ทอง,สตรอเบอรี่ ,ลิ้นจี,่ ท้อ), ดอกไม้เมืองหนาว(กุหลาบ,คาร์
เนชัน,ลิลลี่) เครื่ องใช้-เครื่ องประดับจากเงิน, ผลิตภัณฑ์จากไม้แกะสลัก, ผ้าทอ
       ่
พื้นเมือง(ผ้าไหม,ผ้าฝ้ าย), เครื่ องปั้นดินเผา, หัตถกรรมฝี มือชาวเขา, ผลิตภัณฑ์
จากกระดาษสา และร่ มบ่อสร้าง
ข้ อมูลอื่นๆ ( มีโชว์ การแสดง )
 ชมการผลิตเครื่ องปั้ นดินเผา
การเดินทางโดยรถยนต์
 อยูห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปตามเส้นทางสายเชียงใหม่ -หางดง ประมาณ 10
     ่
กิโลเมตร โดยวิงมาจากสี่ แยกแอร์พอร์ ตพลาซา ตรงมาจนถึงทางแยกเลี้ยวขวา
                  ่
ไปสะเมิง ให้กลับรถแล้วชิดซ้าย สังเกตป้ อมตารวจสะเมิงแล้วเลี้ยวซ้าย
ประมาณ 100 เมตร จะเห็นหม้อน้ าวางอยู่
นายธีระ โดะโอย รหัส 5419101002 สาขา เทคโนโลยีภมิทศน์
                                              ู ั

More Related Content

Similar to จางหนัก

บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,moowhanza
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..pawidchaya
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักArtit Songsee
 
ศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงานnonmorning
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPond Pung
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1rever39
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329Siwa Muanfu
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจPN17
 

Similar to จางหนัก (20)

บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
 
ศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
ศึกษาดูงาน
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก  นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างนัก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 

จางหนัก

  • 1. ถอดบทเรียน บ้ านจ๊ างนัก ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่ งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูก ศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝี มือดีและมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบ ล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา เมื่อ ปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่ ง หนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อ ่ บ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย ้ บ้าน จ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง ช้างไม้แกะสลัก จากเดิมที่ ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะซ้ ากัน มาเป็ นการแกะสลักช้าง ที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่ งนับเป็ นแห่ งแรกที่มี การแกะสลักช้าง รู ปแบบนี้
  • 2. ที่มาของบ้านจ๊างนัก คุณลุงประยูร จรรยาวงษ์ ราชานักเขียน การ์ตูนชื่อดัง เป็ นผูต้ งให้ บ้านจ๊างนักเป็ นภาษาถิ่นความหมาย ้ั ว่า มีชางแกะสลักมากนันเอง ทุกวันนี้ บานจ๊างนักมีทีมงาน ้ ่ ้ แกะสลักเกือบ 50 คน ซึ่ งเป็ นญาติพี่นอง เพื่อน ลูกศิษย์ และคน ้ หนุ่มๆ ในหมู่บานทั้งสิ้ น" สล่าเพชร เล่าความเป็ นมา ้ มาถึงยุคปัจจุบนงานฝี มือจากบ้านจ๊างนักยิงทวีความนิ ยมมาก ั ่ ขึ้น โดยเฉพาะในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ ที่มี ั โอกาสแวะชมงานหัตถกรรมล้านนา ต่างซื้ อติดมือกลับบ้าน เพื่อเป็ นของฝากหรื อนาไปตกแต่งบ้าน แต่ถาเป็ นช้างตัวโตๆ ้ ทีมงานของสล่าเพชรก็จะหาหนทางจัดส่ งให้ลูกค้าถึงปลายทาง งานศิลปะของบ้านจ๊างนักจึงกระจายไปทัวทุกมุมโลก ่ "การทาช้างของบ้านจ๊างนักตอนนี้ มีท้ งงานแกะสลักไม้และ ั ่ั ปูนปั้น เดือนหนึ่งมีผลงานนับร้อยชิ้ น ราคาขึ้นอยูกบขนาด เฉลี่ยตั้งแต่ 1,000 บาท ไปจนถึงมูลค่า 7 หลัก ซึ่ งผลงานที่เรา ภูมิใจมากคือการแกะสลักช้างไม้ชื่อ คิริเมขล์ไตยดายุค เป็ น ช้างสามเศียรขนาดสู ง 5 เมตร กว้าง 3 เมตร ใช้เวลาสร้าง ประมาณ 3 ปี ผมเตรี ยมส่ งให้ลูกค้าราวกลางเดือนสิ งหาคม
  • 3. ผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลัก หมู่บานถวาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ ้ แนวความคิด ว่า "บ้านถวาย เที่ยวหมู่บานไม้แกะสลัก" ้ ั เมื่อเอ่ยถึงถิ่นล้านนา ก็คงรู ้กนว่าหมายถึงจังหวัดเชียงใหม่ ถ้าหากเรามาเที่ยวที่ เชียงใหม่ หลายท่านคงนึกถึง พระธาตุดอยสุ เทพ ดอยอินทนนท์ ไนท์บาซาร์ ่ อะไรประมาณนี้ แต่มีอยูอีกที่หนึ่งที่ใครๆ ก็นิยมมาเที่ยวและจับจ่ายซื้ อของ กลับบ้านไป และสถานที่น้ ีก็คอ "บ้านถวาย" ื บ้านถวาย เป็ นแหล่งศิลปะหัตถกรรมชั้นยอดของเมืองเชียงใหม่ ที่สร้าง ผลงานไม้แกะมากมาย ส่ งออกขายทั้งไทยและต่างประเทศ เมื่อกล่าวถึง “งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรื องานประดิษฐ์จากไม้” บุคคลทัวไป่ ทุกคนจะต้องนึกถึง “ บ้านถวาย ” อาเภอหางดง จังหวัดเชี ยงใหม่ เพราะเหตุ ว่า งานไม้ งานแกะสลักไม้ หรื องานประดิษฐ์จากไม้ ของบ้านถวายนั้น เป็ น งานศิลปหัตถกรรมที่มีคุณภาพ มีชื่อเสี ยงเป็ นระยะเวลานาน มีความสวยงาม ประณีต และเป็ นงานที่ทาขึ้นด้วยมือ (Hand Made) ผสมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ่ ที่สืบทอดกันมาตลอดระยะเวลา 40 กว่าปี ที่ผานมา จนเป็ นที่รู้จกกันอย่าง ั แพร่ หลาย ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศทัวโลก และด้วยเหตุผลนี้ ในปี ่ พ.ศ.2547 จากนโยบายหนึ่งผลิตภัณฑ์ หนึ่งตาบลของรัฐบาล บ้านถวายได้รับ เกียรติจากกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เป็ น “หมู่บาน OTOP ้
  • 4. บ้ านเหมืองกง ุ ลักษณะของสถานที่ เป็ นหมู่บานเหมืองกุงเป็ นหมู่บานที่ผลิตเครื่ องปั้นดินเผาชนิดต่างๆ ออกสู่ ้ ้ ตลาดตั้งแต่สมัยโบราณ มีการทาน้ าต้น (คนโทใส่ น้ า)และหม้อน้ าไปขายใน เมืองเชียงใหม่ ปั จจุบนทาเครื่ องปั้ นดินเผาหลากหลาย ั ของฝากของที่ระลึก อาหารพื้นเมือง(น้ าพริ กหนุ่ม,แคบหมู,หมูยอ,แหนม,กระเทียมโทนดอง,ท้อ ดอง-แช่อิ่ม,บ๊วย), ผักผลไม้(เห็ดหอม,แครอท,กะหล่าม่วง มะระหวาน,สาลี่, พลับ,แอปเปิ้ ล,ส้มสี ทอง,สตรอเบอรี่ ,ลิ้นจี,่ ท้อ), ดอกไม้เมืองหนาว(กุหลาบ,คาร์ เนชัน,ลิลลี่) เครื่ องใช้-เครื่ องประดับจากเงิน, ผลิตภัณฑ์จากไม้แกะสลัก, ผ้าทอ ่ พื้นเมือง(ผ้าไหม,ผ้าฝ้ าย), เครื่ องปั้นดินเผา, หัตถกรรมฝี มือชาวเขา, ผลิตภัณฑ์ จากกระดาษสา และร่ มบ่อสร้าง ข้ อมูลอื่นๆ ( มีโชว์ การแสดง ) ชมการผลิตเครื่ องปั้ นดินเผา การเดินทางโดยรถยนต์ อยูห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปตามเส้นทางสายเชียงใหม่ -หางดง ประมาณ 10 ่ กิโลเมตร โดยวิงมาจากสี่ แยกแอร์พอร์ ตพลาซา ตรงมาจนถึงทางแยกเลี้ยวขวา ่ ไปสะเมิง ให้กลับรถแล้วชิดซ้าย สังเกตป้ อมตารวจสะเมิงแล้วเลี้ยวซ้าย ประมาณ 100 เมตร จะเห็นหม้อน้ าวางอยู่
  • 5. นายธีระ โดะโอย รหัส 5419101002 สาขา เทคโนโลยีภมิทศน์ ู ั