SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ถอดบทเรียน                                                                ( บ้ านจ๊ างนัก บ้ านถวาย บ้ านเหมืองกุง )




บ้ านจ๊ างนัก
                                                                            ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่ งได้
                                                                รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝี มือดี
                                                                และมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามา
                                                                รวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา

                                                                            เมื่อปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458)
                                                                คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้
                                                                ให้เกียรติ มา เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊าง
                                                                                 ่
                                                                นัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย
                                                                                         ้

          บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะ
ซ้ ากัน มาเป็ นการแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่ งนับเป็ นแห่งแรกที่มีการแกะสลัก
ช้าง รู ปแบบนี้

          บ้านจ๊างนักยังเป็ นแห่งแรกที่มีการทดลองนาวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้
ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นบวันมีแต่จะหายากมากขึ้น เช่น มีการ
                               ั
นาเอาไม้ข้ ีเหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่ งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้
ขี้เหล็ก ในสมัยก่อน คือนามาทาเป็ นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการ
นามาแกะสลักพบว่า ไม้ข้ ีเหล็กเป็ นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยาก
กว่าไม้สัก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสี เป็ นธรรมชาติ

          นอกจากการทดลองเรื่ องของไม้แล้ว ยังมีการนาเอาภูมิปัญญา
ชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นันก็คือ นาเอา
                                                    ่
ลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสี ไม้ซ่ ึ งก็ให้สีที่เป็ นธรรมชาติและ
ไม่มีสารพิษตกค้างเป็ นอันตราย ต่อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้อม
สล่ า เพชร วิริยะ
                                                            ประวัติ

                                                                       สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498
                                                            สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
                                                            เป็ นบุตรของ นายสิ งห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่นอง 5
                                                                                                                     ้
                                                            คน

                                                                       นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นัน
                                                            ไชยศิลป) มีบตรธิ ดาทั ้งหมด 2 คน
                                                                   ์    ุ

                                                            การศึกษา

                                                                       ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ยนผูใหญ่ 1 หอ
                                                                                                             ้
                                                            พระ จังหวัดเชียงใหม่

                                                                       การศึกษาผูใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรี ยน
                                                                                 ้
                                                            ผูใหญ่สันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
                                                              ้

ผลงานที่ผ่านมา

        พ.ศ. 2515-2519 เรี ยนแกะสลักไม้กบครู อาย เดชดวงตา จากนั้นได้รับจ้างแกะสลักตามร้าน
                                        ั     ้

        พ.ศ. 2526 ได้รับราชการเป็ นวิทยากรฝึ กอบรมอาชีพแกะสลักไม้
ประจากรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม กรุ งเทพฯ 2 ปี จึงลาออกมาทางานที่บาน
                                                               ้

        พ.ศ. 2530 ศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องช้าง สามารถถ่ายทอดเป็ นผลงานแก
สะลักช้างได้หลายรู ปแบบ กลายเป็ นช่างฝี มือและประกอบอาชีพแกะสลักไม้
จนถึงปัจจุบน และได้ฝึกสอนเยาวชนในหมู่บาน
           ั                          ้

แนวความคิด

        ภาคภูมิใจอ่างยิงที่ได้ทางานที่รักและชอบ ถือเป็ นหน้าที่ช่วงหนึ่งที่
                       ่
ได้รับการถ่ายทอดจากบรมครู คาอ้าย เดชดวงตา แล้วพัฒนาฝี มือและรู ปแบ
งานและได้ถ่ายทอดสั่งสอนศิลปะวิชาช่างแจนงนี้ให้อยูยนยาวต่อไป และ
                                                 ่ื
ช้าง คือความยิงใหญ่ในตานาน เรื่ องราว รู ปแบบและตัวตน
              ่
บ้ านถวาย ศูนย์หตถกรรมแกะสลัก
                ั

ที่ตั ้ง   90 หมู่ที่ 2 บ้ านถวาย ต.ขุนคง อ.หางดง

จ.เชียงใหม่     50230

             เป็ นที่ตั ้งศูนย์หตถกรรมที่มีชื่อเสียงไปทัว
                                ั                       ่
ประเทศ เป็ นหน้ าเป็ นตาของอาเภอหางดง ความ
เป็ นมาของบ้ านถวาย เริ่มจากช่างแกะสลัก พื ้นบ้ าน
ของ บ้ านถวายไม่กี่คนเข้ าไปรับจ้ างแกะสลักในตัว
เมืองเชียงใหม่ ต่อมาจึงรับ งานแกะสลักมาทาที่บ้านในหมู่บ้านถวาย ถ่ายทอดวิชาการ แกะสลัก ให้ รุ่น ลูก มีการนา
ผลิตภัณฑ์ไปหาตลาดเพื่อ จาหน่ายในกรุงเทพฯจนต่อมาลูกค้ า เดินทางมาซื ้อถึงบ้ านถวายจนกระทั่งพัฒนาเป็ นศูนย์
หัตถกรรมบ้ านถวายในปั จจุบน ซึ ้งเอกลักษณ์ของสินค้ าบ้ านถวายคือเป็ นสินค้ าที่ทาด้ วยมือเป็ น ภูมิปัญญาของชาวบ้ าน
                          ั
ซึงสืบทอดกันมาเป็ นเวลายาวนานจากรุ่นสู่รุ่น และได้ รับเกียรติให้ เป็ นหมู่บ้าน OTOP นาร่องแห่งแรกของประเทศไทย
  ่

             กรอบรูปพญานาค
                                                                     ทาจากไม้สักทั้งหมด ยกเว้นแผ่นหลังทาจากไม้อด
                                                                                                               ั
                                                            ส่ วนเดียวเท่านั้น ยังไม่ได้ลงสี ใช้เวลาทานานถึง 9 เดือน 9
                                                            วัน

                                                            ขนาด : กว้าง 82 ซม. สู ง 2.24 เมตร หนา 14 ซม.

                                                            ราคา : 100000 บาท



                                                            การใช้งานในด้านภูมิทศน์
                                                                                ั
                                                                     ประดับตามกาแพง ผนัง หรื อ อาจนามาวางใน
                                                            สวน เอามอสมาปลูก เพื่อเพิ่มความเป็ นธรรมชาติ สาหรับ
                                                            คนที่ชอบบรรยากาศแบบไทย ๆ ข้อควรระวังคือ ด้านวัสดุ
                                                            งานเป็ นไม้ ความคงทน
บ้ านเหมืองกุง
                                                จากคาบอกเล่าของผูอาวุโสในหมู่บานเหมืองกุงที่ได้รับคาบอกเล่าต่อกัน
                                                                 ้            ้
                                       มาจากบรรพบุรุษที่มาตั้งรกรากอยูบานเหมืองกุง เป็ นคนไทที่ถูกกวาดต้อนมาจาก
                                                                      ่ ้
                                       เมืองปุ เมืองสาด รัฐเชียงตุง ซึ่ งปัจจุบนอยูในเขตรัฐฉานประเทศพม่า แต่ก่อน
                                                                               ั ่
                                       หน้าที่จะมาอยูในพม่า บรรพบุรุษของที่นี่น่าจะเคยอยูที่แคว้นสิ บสองปันนาทาง
                                                     ่                                   ่
                                       ตอนใต้ของจีนมาก่อน จึงคาดว่าวิชาชีพด้านช่างเครื่ องปั้นดินเผาของบ้านเหมืองกุง
                                       น่าจะสื บทอดมาจากสิ บสองปันนา โดยมีหตถกรรมที่เป็ นมรดกชิ้นสาคัญคือ “น้ า
                                                                           ั
                                       ต้น” หรื อ “คนโท” และ “หม้อน้ า” ที่เป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของ
                                       ล้านนา

                                                สัญลักษณ์โดดเด่นของหมู่บานแห่งนี้กคือ “น้ าต้น” หรื อ “คนโท” ขนาด
                                                                        ้         ็
                                       ใหญ่สูง 18 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 เมตร 85 เซนติเมตร ซึ่ งคาดว่าจะเป็ นคนโทที่
ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งเด่นตระหง่านอยูปากทางเข้าหมู่บาน เป็ น Landmark ที่เพิ่มแรงดึงดูดให้นกท่องเที่ยวแวะเวียนมาเที่ยว
                                   ่              ้                                      ั
ชมอย่างไม่ขาดสาย




                                                                เชิงเทียน
                                                                         เป็ นเชิงเทียนทาด้วยดินเผา มีลวดลายสวยงาม
                                                                เป็ นเชิงเทียนจุดบูชาพระ และจุดให้แสงสว่างตามบ้าน

                                                                ขนาด : กว้าง 12.5 ซม. สู ง 20 ซม.

                                                                ราคา : ขายส่ ง 100 บาท

                                                                       ขายปลีก 150 บาท

การใช้งานในด้านภูมิทศน์
                    ั
         ใช้ประดับตามทางเดินในสวนหรื อ บริ เวณเก้าอี้ที่นง ใช้จุดยามค่าคืน เพื่อให้เกิดบรรยากาศของความเงียบความ
                                                         ั่
สงบ เหมาะกับสวนสไตล์บาหลี สวนไทย เป็ นต้น
ผู้จดทา
                            ั

นายปรัชญา ใคร้ มา รหัส 5219101312 สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์

More Related Content

What's hot

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
N'Mom Sirintip
 
๐๐๖.๐๓. ตารางถือ ธุดงค์ (๒ หน้าแรก) และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓. ตารางถือ ธุดงค์ (๒ หน้าแรก) และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
watpadongyai
 
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
kanidta vatanyoo
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
อำนาจ ศรีทิม
 

What's hot (6)

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
๐๐๖.๐๓. ตารางถือ ธุดงค์ (๒ หน้าแรก) และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า๐๐๖.๐๓.  ตารางถือ ธุดงค์  (๒ หน้าแรก)  และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
๐๐๖.๐๓. ตารางถือ ธุดงค์ (๒ หน้าแรก) และรวม อานิสงส์ อีก ทั้งหมด ๖๓ หน้า
 
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
File
FileFile
File
 

Viewers also liked (8)

ความรู้เรื่องการจัดสวน1
ความรู้เรื่องการจัดสวน1ความรู้เรื่องการจัดสวน1
ความรู้เรื่องการจัดสวน1
 
งานสวน
งานสวนงานสวน
งานสวน
 
ไม้ยืนต้น
ไม้ยืนต้นไม้ยืนต้น
ไม้ยืนต้น
 
ถอดบทเรียน สวนริมรั้ว
ถอดบทเรียน สวนริมรั้วถอดบทเรียน สวนริมรั้ว
ถอดบทเรียน สวนริมรั้ว
 
ข้อสอบกลุ่ม2
ข้อสอบกลุ่ม2ข้อสอบกลุ่ม2
ข้อสอบกลุ่ม2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โรคแมลง
โรคแมลงโรคแมลง
โรคแมลง
 
PRCA Expert Briefing - Issues and Crisis Management and the Evolving Media La...
PRCA Expert Briefing - Issues and Crisis Management and the Evolving Media La...PRCA Expert Briefing - Issues and Crisis Management and the Evolving Media La...
PRCA Expert Briefing - Issues and Crisis Management and the Evolving Media La...
 

Similar to บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง

ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
pawidchaya
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
pawidchaya
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
PN17
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
PN17
 
บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,
moowhanza
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
pawidchaya
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
pawidchaya
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
pawidchaya
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
Artit Songsee
 
งานอาจารย..
งานอาจารย..งานอาจารย..
งานอาจารย..
PN17
 
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
Siwakarn Chaithong
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
PN17
 

Similar to บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง (20)

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..ถอดบทเรีย..
ถอดบทเรีย..
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
 
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอดบทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
 
Doc3
Doc3Doc3
Doc3
 
บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,บ้านจ๊างนัก,,,
บ้านจ๊างนัก,,,
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนักถอดบทเรียน   บ้านจ๊างนัก
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
 
งานอาจารย..
งานอาจารย..งานอาจารย..
งานอาจารย..
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
 
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทองศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
บ้านจ
บ้านจบ้านจ
บ้านจ
 

More from หอย ลี่ (7)

โรงพยาบาลนครพิงค์
โรงพยาบาลนครพิงค์โรงพยาบาลนครพิงค์
โรงพยาบาลนครพิงค์
 
ไม้พุ่ม
ไม้พุ่มไม้พุ่ม
ไม้พุ่ม
 
ไม พ _ม
ไม พ _มไม พ _ม
ไม พ _ม
 
ถอดบทเรียน สวนปิดล้อมเป็นส่วนตัว
ถอดบทเรียน สวนปิดล้อมเป็นส่วนตัวถอดบทเรียน สวนปิดล้อมเป็นส่วนตัว
ถอดบทเรียน สวนปิดล้อมเป็นส่วนตัว
 
ยางมะตอย Atphalt 1
ยางมะตอย Atphalt 1ยางมะตอย Atphalt 1
ยางมะตอย Atphalt 1
 
ยางมะตอย Atphalt Presentation 1
ยางมะตอย Atphalt Presentation 1ยางมะตอย Atphalt Presentation 1
ยางมะตอย Atphalt Presentation 1
 
ยางมะตอย
ยางมะตอยยางมะตอย
ยางมะตอย
 

บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง

  • 1. ถอดบทเรียน ( บ้ านจ๊ างนัก บ้ านถวาย บ้ านเหมืองกุง ) บ้ านจ๊ างนัก ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่ งได้ รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลูกหา ช่างแกะสลักฝี มือดี และมีความรักในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามา รวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา เมื่อปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ ให้เกียรติ มา เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊าง ่ นัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย ้ บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะ ซ้ ากัน มาเป็ นการแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่ งนับเป็ นแห่งแรกที่มีการแกะสลัก ช้าง รู ปแบบนี้ บ้านจ๊างนักยังเป็ นแห่งแรกที่มีการทดลองนาวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นบวันมีแต่จะหายากมากขึ้น เช่น มีการ ั นาเอาไม้ข้ ีเหล็กมาทดแทนไม้สัก ซึ่ งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ ขี้เหล็ก ในสมัยก่อน คือนามาทาเป็ นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการ นามาแกะสลักพบว่า ไม้ข้ ีเหล็กเป็ นไม้เนื้อแข็งมากการแกะค่อน ข้างยาก กว่าไม้สัก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสี เป็ นธรรมชาติ นอกจากการทดลองเรื่ องของไม้แล้ว ยังมีการนาเอาภูมิปัญญา ชาวบ้านที่สืบทอด กันมามาประยุกต์ใช้ กับงานแกะสลัก นันก็คือ นาเอา ่ ลูกมะเกลือที่ใช้ในการย้อมผ้า มาย้อมสี ไม้ซ่ ึ งก็ให้สีที่เป็ นธรรมชาติและ ไม่มีสารพิษตกค้างเป็ นอันตราย ต่อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้อม
  • 2. สล่ า เพชร วิริยะ ประวัติ สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นบุตรของ นายสิ งห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่นอง 5 ้ คน นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นัน ไชยศิลป) มีบตรธิ ดาทั ้งหมด 2 คน ์ ุ การศึกษา ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ยนผูใหญ่ 1 หอ ้ พระ จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาผูใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรี ยน ้ ผูใหญ่สันกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ้ ผลงานที่ผ่านมา พ.ศ. 2515-2519 เรี ยนแกะสลักไม้กบครู อาย เดชดวงตา จากนั้นได้รับจ้างแกะสลักตามร้าน ั ้ พ.ศ. 2526 ได้รับราชการเป็ นวิทยากรฝึ กอบรมอาชีพแกะสลักไม้ ประจากรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม กรุ งเทพฯ 2 ปี จึงลาออกมาทางานที่บาน ้ พ.ศ. 2530 ศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องช้าง สามารถถ่ายทอดเป็ นผลงานแก สะลักช้างได้หลายรู ปแบบ กลายเป็ นช่างฝี มือและประกอบอาชีพแกะสลักไม้ จนถึงปัจจุบน และได้ฝึกสอนเยาวชนในหมู่บาน ั ้ แนวความคิด ภาคภูมิใจอ่างยิงที่ได้ทางานที่รักและชอบ ถือเป็ นหน้าที่ช่วงหนึ่งที่ ่ ได้รับการถ่ายทอดจากบรมครู คาอ้าย เดชดวงตา แล้วพัฒนาฝี มือและรู ปแบ งานและได้ถ่ายทอดสั่งสอนศิลปะวิชาช่างแจนงนี้ให้อยูยนยาวต่อไป และ ่ื ช้าง คือความยิงใหญ่ในตานาน เรื่ องราว รู ปแบบและตัวตน ่
  • 3. บ้ านถวาย ศูนย์หตถกรรมแกะสลัก ั ที่ตั ้ง 90 หมู่ที่ 2 บ้ านถวาย ต.ขุนคง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50230 เป็ นที่ตั ้งศูนย์หตถกรรมที่มีชื่อเสียงไปทัว ั ่ ประเทศ เป็ นหน้ าเป็ นตาของอาเภอหางดง ความ เป็ นมาของบ้ านถวาย เริ่มจากช่างแกะสลัก พื ้นบ้ าน ของ บ้ านถวายไม่กี่คนเข้ าไปรับจ้ างแกะสลักในตัว เมืองเชียงใหม่ ต่อมาจึงรับ งานแกะสลักมาทาที่บ้านในหมู่บ้านถวาย ถ่ายทอดวิชาการ แกะสลัก ให้ รุ่น ลูก มีการนา ผลิตภัณฑ์ไปหาตลาดเพื่อ จาหน่ายในกรุงเทพฯจนต่อมาลูกค้ า เดินทางมาซื ้อถึงบ้ านถวายจนกระทั่งพัฒนาเป็ นศูนย์ หัตถกรรมบ้ านถวายในปั จจุบน ซึ ้งเอกลักษณ์ของสินค้ าบ้ านถวายคือเป็ นสินค้ าที่ทาด้ วยมือเป็ น ภูมิปัญญาของชาวบ้ าน ั ซึงสืบทอดกันมาเป็ นเวลายาวนานจากรุ่นสู่รุ่น และได้ รับเกียรติให้ เป็ นหมู่บ้าน OTOP นาร่องแห่งแรกของประเทศไทย ่ กรอบรูปพญานาค ทาจากไม้สักทั้งหมด ยกเว้นแผ่นหลังทาจากไม้อด ั ส่ วนเดียวเท่านั้น ยังไม่ได้ลงสี ใช้เวลาทานานถึง 9 เดือน 9 วัน ขนาด : กว้าง 82 ซม. สู ง 2.24 เมตร หนา 14 ซม. ราคา : 100000 บาท การใช้งานในด้านภูมิทศน์ ั ประดับตามกาแพง ผนัง หรื อ อาจนามาวางใน สวน เอามอสมาปลูก เพื่อเพิ่มความเป็ นธรรมชาติ สาหรับ คนที่ชอบบรรยากาศแบบไทย ๆ ข้อควรระวังคือ ด้านวัสดุ งานเป็ นไม้ ความคงทน
  • 4. บ้ านเหมืองกุง จากคาบอกเล่าของผูอาวุโสในหมู่บานเหมืองกุงที่ได้รับคาบอกเล่าต่อกัน ้ ้ มาจากบรรพบุรุษที่มาตั้งรกรากอยูบานเหมืองกุง เป็ นคนไทที่ถูกกวาดต้อนมาจาก ่ ้ เมืองปุ เมืองสาด รัฐเชียงตุง ซึ่ งปัจจุบนอยูในเขตรัฐฉานประเทศพม่า แต่ก่อน ั ่ หน้าที่จะมาอยูในพม่า บรรพบุรุษของที่นี่น่าจะเคยอยูที่แคว้นสิ บสองปันนาทาง ่ ่ ตอนใต้ของจีนมาก่อน จึงคาดว่าวิชาชีพด้านช่างเครื่ องปั้นดินเผาของบ้านเหมืองกุง น่าจะสื บทอดมาจากสิ บสองปันนา โดยมีหตถกรรมที่เป็ นมรดกชิ้นสาคัญคือ “น้ า ั ต้น” หรื อ “คนโท” และ “หม้อน้ า” ที่เป็ นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของ ล้านนา สัญลักษณ์โดดเด่นของหมู่บานแห่งนี้กคือ “น้ าต้น” หรื อ “คนโท” ขนาด ้ ็ ใหญ่สูง 18 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 เมตร 85 เซนติเมตร ซึ่ งคาดว่าจะเป็ นคนโทที่ ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งเด่นตระหง่านอยูปากทางเข้าหมู่บาน เป็ น Landmark ที่เพิ่มแรงดึงดูดให้นกท่องเที่ยวแวะเวียนมาเที่ยว ่ ้ ั ชมอย่างไม่ขาดสาย เชิงเทียน เป็ นเชิงเทียนทาด้วยดินเผา มีลวดลายสวยงาม เป็ นเชิงเทียนจุดบูชาพระ และจุดให้แสงสว่างตามบ้าน ขนาด : กว้าง 12.5 ซม. สู ง 20 ซม. ราคา : ขายส่ ง 100 บาท ขายปลีก 150 บาท การใช้งานในด้านภูมิทศน์ ั ใช้ประดับตามทางเดินในสวนหรื อ บริ เวณเก้าอี้ที่นง ใช้จุดยามค่าคืน เพื่อให้เกิดบรรยากาศของความเงียบความ ั่ สงบ เหมาะกับสวนสไตล์บาหลี สวนไทย เป็ นต้น
  • 5. ผู้จดทา ั นายปรัชญา ใคร้ มา รหัส 5219101312 สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์