SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี สาระการเรียนรู้
ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นชุดฝึกทักษะที่จัดทาขึ้นเพื่อสืบสานภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานีและสามารถใช้เป็นแบบฝึกเพิ่มเติม เพื่อทบทวนบทเรียน ให้นักเรียน
เกิดการเรียนรู้ มีทักษะทางศิลปะที่ดี และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ิน
ประกอบด้วยชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
จานวน 7 ชุด ได้แก่
ชุดที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์
ชุดที่ 2 วัสดุอุปกรณ์การทาต้นเทียนประเภทติดพิมพ์
ชุดที่ 3 ลายดอกผึ้ง
ชุดที่ 4 การทาผึ้งแผ่น
ชุดที่ 5 การอัดลายดอกผึ้ง
ชุดที่ 6 การแกะสลักลายดอกผึ้ง
ชุดที่ 7 การติดลายดอกผึ้ง
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมือง
อุบลราชธานี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จะเป็นเครื่องมือที่ดี
เป็นประโยชน์สาหรับครูและนักเรียน สามารถนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาทักษะทางศิลปะได้อย่างมี
ประสิทธิภาพต่อไป
สุจิตรา โขมะพัฒน์
เรื่อง หน้า
คาชี้แจง………………………..…………………………………………….…………….. ก
คาแนะนาสาหรับครู…………………………………………………………….……… ข
คาแนะนาสาหรับนักเรียน…………………………………………………….……… ค
ผลการเรียนรู้…………………..…………………………………………………………. 1
จุดประสงค์การเรียนรู้………..………………………………………………….….… 1
แบบทดสอบก่อนเรียน……………………………………………………………….. 2
ใบความรู้ …………………………………………………………………...………… 4
กิจกรรมที่ 1…………………………………………………………………………….. 8
กิจกรรมที่ 2…………………………………………………………………………….. 9
เฉลยกิจกรรมที่ 1…………………………………………………………………….. 10
เฉลยกิจกรรมที่ 2…………………………………………………………………….. 11
แบบทดสอบหลังเรียน……………………………………………………………….. 12
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน.……………………………………….. 14
เกณฑ์การประเมิน…………………………………………………………………….. 15
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………. 16
ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ประกอบด้วย
 คาชี้แจง
 คาแนะนาสาหรับนักเรียน
 ผลการเรียนรู้
 จุดประสงค์การเรียนรู้
 แบบทดสอบก่อนเรียน
 ใบความรู้
 กิจกรรม
 แบบทดสอบหลังเรียน
ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 1
ผู้เรียน  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เวลาที่ใช้  1 ชั่วโมง
- แบบทดสอบก่อนเรียน 5 นาที
- ปฏิบัติกิจกรรม 50 นาที
- แบบทดสอบหลังเรียน 5 นาที
ก
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4-6 คน จัดตั้งประธานกลุ่ม เพื่อดูแลการเบิกวัสดุ อุปกรณ์ คู่มือ
นักเรียน ดาเนินไปให้เรียบร้อย เปิดโอกาสให้ผู้อื่นแสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลาย
2. นักเรียนที่ปฏิบัติตามคาชี้แจงและแบบฝึกทักษะตามลาดับ
3. อ่านคาชี้แจงและปฏิบัติงานตามขั้นตอนอย่างรอบคอบ
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มได้รับเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์จากครู ดังนี้
4.1 ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4.2 วัสดุ และอุปกรณ์สาหรับ ผู้สอนจัดไว้เป็นชุด รับผิดชอบเป็นกลุ่มร่วมกัน
5. ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมือง
อุบลราชธานี
5.1 ศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงค์
5.2 ศึกษาเนื้อหาตามลาดับให้เข้าใจ
5.3 ปฏิบัติกิจกรรมให้ครบทุกขั้นตอน
5.4 ส่งผลงานให้ครบทันเวลา
5.5 เมื่อทากิจกรรมชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมือง
อุบลราชธานีแล้วให้ทาแบบทดสอบย่อยประจาชุดฝึกทักษะ
6. ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังตามลาดับขั้น และพยายามทาแบบฝึกทักษะและ
ปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ
7. ก่อนจะส่งงานต้องสารวจ จัดเก็บชุดฝึกทักษะหรือสื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าที่เดิม ทา
ความสะอาดบริเวณปฏิบัติงานและห้องปฏิบัติการให้เรียบร้อย ในกรณีพบว่าสื่อการสอนชารุด
เสียหายควรแจ้งให้ผู้สอนทราบทันที
ข
1. อธิบายความแตกต่างของเทียนติดพิมพ์ประเภทแกะสลัก
กับประเภทติดพิมพ์ได้
2. บอกลักษณะของรูปร่างและลวดลายต่างๆ ที่นิยมนามาใช้
ทาต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ได้
3. สามารถออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ได้
สามารถออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ได้
ผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้

คาชี้แจง 1.แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที
2.ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. สัตว์ในวรรณคดีใดที่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน
ก. ครุฑ
ข. พญานาค
ค. หงส์
ง. ถูกทุกข้อ
2. เหตุใดต้นเทียนประเภทติดพิมพ์จึงมีวิธีการทาที่ยาก
ก. ขี้ผึ้งหายาก
ข. ต้นทุนการทาสูงมาก
ค. หาช่างฝีมือทาได้ยาก
ง. มีหลายขั้นตอนต้องใช้แรงงานมาก
3. สัตว์ใดที่ไม่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน
ก. ม้า
ข. ช้าง
ค. สุนัข
ง. นก
4. ลายดอกผึ้งใดที่มีความสวยงาม อ่อนช้อยมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย
ก. ลายกนกเปลว
ข. ลายนก
ค. ลายกุหลาบ
ง. ลายคน
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์


5. เรื่องราวใดเหมาะสมที่จะนามาทาเป็นต้นเทียนประเภทติดพิมพ์
ก. การเมือง
ข. เศรษฐกิจ
ค. สังคม
ง. พุทธศาสนา
6. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเทียนประเภทติดพิมพ์
ก. ต้องใช้ขี้ผึ้งแท้ทั้งต้น
ข. ลวดลายสลับซับซ้อนละเดียดลออ
ค. หล่อต้นเทียนเสร็จสามาระแกะสลักได้เลย
ง. ใช้แรงงานคนจานวนน้อย
7. การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทาน้อยที่สุด
ก. ออกแบบ
ข. ทาแผ่นเทียน
ค. แกะลายดอกผึ้ง
ง. ติดลายอดกผึ้ง
8. การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทามากที่สุด
ก. ออกแบบ
ข. ทาแผ่นเทียน
ค. แกะลายดอกผึ้ง
ง. ติดลายอดกผึ้ง
9. ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์กับต้นเทียนประเภทแกะสลักแตกต่างกันอย่างไร
ก. สีสัน
ข. ลวดลาย
ค. ขั้นตอนการทา
ง. วัตถุประสงค์การทา
10. ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มักจะหล่อต้นเทียนขนาดเท่าใด
ก. เล็กกว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก
ข. ใหญ่กว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก
ค. เท่ากับต้นเทียนประเภทแกะสลัก
ง. เท่าใดก็ได้ตามความสะดวก

การหล่อต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มีขั้นตอนและวิธีการคล้ายกันกับการหล่อต้นเทียนประเภท
แกะสลักทุกขั้นตอน แต่มีความแตกต่างกัน 2 ประการ คือ
การหล่อต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ ใช้ขี้ผึ้งคุณภาพพอใช้ได้ซึ่งมีราคาถูก แต่การหล่อต้นเทียน
ประเภทแกะสลัก ใช้ขี้ผึ้งคุณภาพดี และราคาแพงกว่า ทั้งนี้ ก็เพราะว่า หากขี้ผึ้งคุณภาพไม่ดี เมื่อแกะสลัก
ลึกและซับซ้อนหลายขั้น ขี้ผึ้งจะแตกหัก
ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มักหล่อให้มีขนาดเล็กกว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก เพราะการหล่อต้น
เทียนประเภทติดพิมพ์ จะต้องนาไปกลึงให้เป็นรูปและขนาดเล็กลงบางส่วน แล้วจึงติดดอกเสริมโดยรอบให้
หนาขึ้น ส่วนต้นเทียนประเภทแกะสลัก ต้องทาให้มีขนาดใหญ่เอาไว้ เพื่อที่จะแกะสลักหรือขูดออก การ
ทาต้นเทียนติดพิมพ์จะมีความละเอียดอ่อนมีขั้นตอนและใช้คนจานวนมาก โดยเฉพาะต้องใช้ขี้ผึ้งแท้เป็น
ส่วนใหญ่ในการทาดอกผึ้ง ส่วนต้นเทียนเดิมใช้ผึ้งน้ามันผสมกับผึ้งแท้
การจัดทาต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ซึ่งเป็นต้นเทียนที่ทายาก มีหลายขั้นตอนและต้องใช้แรงงาน
มาก แต่เป็นการทาต้นเทียนที่ชาวบ้านได้มีโอกาสได้ทางานร่วมกัน การจัดทาต้นเทียนประเภทติด
พิมพ์ เริ่มต้นจากการหล่อเทียนเป็นลาต้นและเป็นรูปร่างต่างๆ ตามที่ต้องการและตามที่ได้ออกแบบเอาไว้
แล้ว อาจจะเป็นรูปพระอุโบสถ พระวิหารราชรถ รูปพระพุทธรูปปางต่างๆ รูปพุทธประวัติตอนต่างๆ
หรืออื่นใดที่ช่างผู้จัดทาเป็นผู้กาหนดขึ้น จากนั้นจึงมีการเลือกหรือจัดทาแม่พิมพ์เป็นแบบก่อน ส่วนมาก
แบบที่ทาออกมาจะเป็นลายไทยประเภทต่าง ๆ เช่น ลายเครือเถา ลายกนกเปลว กนกก้านขด บัวคว่า
บัวหงาย และลายอื่น ๆ ที่แสนจะสลับซับซ้อนและละเอียดลออยิ่งนัก แล้วจึงนาเทียนสีต่าง ๆ ซึ่งส่วน
ใหญ่จะเป็นสีขาวหรือสีเหลือง มาคลึงให้เป็นแผ่นบาง ๆ ตากแดดหรืออังไฟให้อ่อนตัว แล้วนาไปกดลง
แม่พิมพ์ที่ได้เตรียมไว้แล้ว จากนั้นก็นาเอาแผ่นเทียนที่พิมพ์เป็นลายไว้แล้วมาขริบริมตกแต่งให้
เรียบร้อย ต่อจากนั้นช่างผู้ชานาญงานก็จะนาแผ่นเทียนที่สาเร็จรูปแล้วไปติดประดับและตกแต่งเข้ากับต้น
เทียนที่หล่อไว้แล้ว โดยอาศัยเข็มหมุดเป็นส่วนยึดที่สาคัญ
แต่ปัจจุบันต้นเทียนนิยมใช้ไม้อัดทาเป็นเหลี่ยมย่อมุมแทนที่จะหล่อให้กลมเพียงอย่างเดียว โดย
เนื้อหาที่นามาใช้ในการทาต้นเทียนติดพิมพ์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ
ประกอบด้วยต้นเทียนหลักอยู่กลาง เทียนรองที่มีขนาดเล็กลง รูปคน ยักษ์ สัตว์ในวรรณคดี ได้แก่ ครุฑ
พญานาค หงส์ กินรี เป็นต้น สัตว์อื่นๆ ได้แก่ ช้าง ม้า นก เป็นต้น
ใบความรู้
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เล่มที่ ๑ การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

รูปแบบการออกแบบเทียนประเภทติดพิมพ์
ภาพตัวอย่างตัวเทียนพรรษาประเภทติดพิมพ์จากคุ้มวัดและหน่วยงานต่างๆ ที่ส่งเข้าประกวด
และร่วมในขบวนแห่เทียนพรรษาประจาปีของจังหวัดอุบลราชธานีซึ่งมีความเป็นเอกลักษณ์ สวยงาม
วิจิตรตระการตาเป็นอย่างยิ่ง ได้รับความชื่นชมไปทั่วโลกในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเมือง
อุบลราชธานีภาพ
ภาพการออกแบบตัวเทียนพรรษาปรพเภทติดพิมพ์
ต้นเทียนพรรษา ประเภทเทียนติดพิมพ์ของวัดเลียบ
ที่มา www.picpost.postjung.com

ต้นเทียนพรรษา ประเภทเทียนติดพิมพ์ของวัดพลแพน
ที่มาwww.guideubon.com
ต้นเทียนพรรษา ประเภทเทียนติดพิมพ์ของวัดมหาวนาราม
ที่มา www.guideubon.com

ต้นเทียนพรรษา ประเภทเทียนติดพิมพ์ของวัดศรีประดู่
ที่มา www.guideubon.com
ต้นเทียนพรรษา ประเภทเทียนติดพิมพ์ของวัดแจ้ง
ที่มา www.picpost.postjung.com

ตอนที่ 1 ฝึกทักษะความรู้ความเข้าใจ
คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. อธิบายความแตกต่างของเทียนติดพิมพ์ประเภทแกะสลักกับประเภทติดพิมพ์
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
2. บอกลักษณะของรูปร่างและลวดลายต่างๆ ที่นิยมนามาใช้ทาต้นเทียนติดพิมพ์
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
กิจกรรมที่ 1
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

ตอนที่ 2 ฝึกทักษะด้านการปฏิบัติงาน
คาชี้แจง นักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วฝึกปฏิบัติการออกแบบต้นเทียนติดพิมพ์ให้สมบูรณ์และสวยงาม
กิจกรรมที่ 2
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

ตอนที่ 1 ฝึกทักษะความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะด้านการคิดวิเคราะห์
คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. อธิบายความแตกต่างของเทียนติดพิมพ์ประเภทแกะสลักกับประเภทติดพิมพ์
การหล่อต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มีขั้นตอนและวิธีการคล้ายกันกับการหล่อต้นเทียน
ประเภทแกะสลักทุกขั้นตอน แต่มีความแตกต่างกัน 2 ประการ คือ การหล่อต้นเทียนประเภท
ติดพิมพ์ ใช้ขี้ผึ้งคุณภาพพอใช้ได้ซึ่งมีราคาถูก แต่การหล่อต้นเทียนประเภทแกะสลัก ใช้ขี้ผึ้ง
คุณภาพดี และราคาแพงกว่า ทั้งนี้ ก็เพราะว่า หากขี้ผึ้งคุณภาพไม่ดี เมื่อแกะสลักลึกและ
ซับซ้อนหลายขั้น ขี้ผึ้งจะแตกหัก
2. บอกลักษณะของรูปร่างและลวดลายต่างๆ ที่นิยมนามาใช้ทาต้นเทียนติดพิมพ์
รูปร่าง ได้แก่ คน ยักษ์ สัตว์ในวรรณคดี ได้แก่ ครุฑ พญานาค หงส์ กินรี เป็นต้น
สัตว์อื่นๆ ได้แก่ ช้าง ม้า นก เป็นต้น
ลวดลาย ได้แก่ ลายไทยประเภทต่าง ๆ เช่น ลายเครือเถา ลายกนกเปลว กนกก้าน
ขด บัวคว่าบัวหงาย และลายอื่น ๆ
เฉลยกิจกรรมที่ 1
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
ชุดที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

ตอนที่ 2 ฝึกทักษะด้านการปฏิบัติงาน
คาชี้แจง นักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วฝึกปฏิบัติการออกแบบต้นเทียนติดพิมพ์ให้สมบูรณ์และสวยงาม
(ผลงานตามศักยภาพของผู้เรียน)
เฉลยกิจกรรมที่ 2
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

คาชี้แจง 1.แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที
2.ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1.ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์กับต้นเทียนประเภทแกะสลักแตกต่างกันอย่างไร
ก. สีสัน
ข. ลวดลาย
ค. ขั้นตอนการทา
ง. วัตถุประสงค์การทา
2.ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มักจะหล่อต้นเทียนขนาดเท่าใด
ก. เล็กกว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก
ข. ใหญ่กว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก
ค. เท่ากับต้นเทียนประเภทแกะสลัก
ง. เท่าใดก็ได้ตามความสะดวก
3.เหตุใดต้นเทียนประเภทติดพิมพ์จึงมีวิธีการทาที่ยาก
ก. ขี้ผึ้งหายาก
ข. ต้นทุนการทาสูงมาก
ค. หาช่างฝีมือทาได้ยาก
ง. มีหลายขั้นตอนต้องใช้แรงงานมาก
4.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเทียนประเภทติดพิมพ์
ก. ต้องใช้ขี้ผึ้งแท้ทั้งต้น
ข. ลวดลายสลับซับซ้อนละเดียดลออ
ค. หล่อต้นเทียนเสร็จสามาระแกะสลักได้เลย
ง. ใช้แรงงานคนจานวนน้อย
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี
เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

5.เรื่องราวใดเหมาะสมที่จะนามาทาเป็นต้นเทียนประเภทติดพิมพ์
ก. การเมือง
ข. เศรษฐกิจ
ค. สังคม
ง. พุทธศาสนา
6.การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทาน้อยที่สุด
ก. ออกแบบ
ข. ทาแผ่นเทียน
ค. แกะลายดอกผึ้ง
ง. ติดลายอดกผึ้ง
7.การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทามากที่สุด
ก. ออกแบบ
ข. ทาแผ่นเทียน
ค. แกะลายดอกผึ้ง
ง. ติดลายอดกผึ้ง
8.ลายดอกผึ้งใดที่มีความสวยงาม อ่อนช้อยมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย
ก. ลายกนกเปลว
ข. ลายนก
ค. ลายกุหลาบ
ง. ลายคน
9.สัตว์ในวรรณคดีใดที่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน
ก. ครุฑ
ข. พญานาค
ค. หงส์
ง. ถูกทุกข้อ
10.สัตว์ใดที่ไม่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน
ก. ม้า
ข. ช้าง
ค. สุนัข
ง. นก

1 ง
2 ง
3 ค
4 ภ
5 ง
6 ข
7 ก
8 ค
9 ค
10 ก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืออุบลราชธานี
เล่มที่ 1
การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์
1 ค
2 ก
3 ง
4 ข
5 ง
6 ก
7 ค
8 ก
9 ง
10 ค
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืออุบลราชธานี
เล่มที่ 1
การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

คาชี้แจง พิจารณาการปฏิบัติกิจกรรมตามหัวข้อต่อไปนี้ แล้วให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหหนด
รายการ
ที่ระดับความสามารถ
4
ดีมก
3
ดี
2
พอใช้
1
ควรปรับปรุง
1. ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับเนื้อหา
สามารถ
ถ่ายทอดเนื้อหา
ได้ถูกต้อง
เหมาะสม
สวยงามมาก
สามารถ
ถ่ายทอดเนื้อหา
ได้ เหมาะสม
สวยงาม
สามารถ
ถ่ายทอดเนื้อหา
ได้ เหมาะสม
บางส่วน
สวยามพอใช้
สามารถ
ถ่ายทอด
เนื้อหาได้
ไม่ถูกต้อง
ไม่เหมาะ
๒. ความคิด
สร้างสรรค์
มีความคิดของ
ตนเองมีความ
แปลกใหม่ไม่
เหมืนใคร เป็นน
เอกลักษณ์ที่
โดดเด่นน
สวยงามมาก
ดัดแปลง
บางส่วนจากสิ่ง
รอบตัว บางสิ่ง
ที่มองเห็นนามา
คิดและ
จินตนาการใน
การสร้างสรรค์
ผลงาน
ลอกเลียนแบบ
จากภาพ
บางส่วนโดยใช้
ความคิดของ
ตนเองประยุกต์
เหมาะสมใน
การส้างสรรค์
ผลงาน
ลอกเลียนแบบ
จากภาพโดย
ไม่มีการคิด
ประยุกต์เป็น
ตนเอง
๓. การใช้วัสดุอุปกรณ์ ใช้อุปกรณ์ ใช้
อุปกรณ์ ได้
เหมาะสมกับ
วิธีการ สร้าง
ภาพมีความ
พร้อม ในการใช้
งาน ครบถ้วน
ใช้วัสดุอุปกรณ์
ได้เหมาะบาง
ชนิดมีความ
พร้อม ในการใช้
งาน
ใช้วัสดุอุปกรณ์
ได้เหมาะบาง
ชนิดไม่มีความ
พร้อม ในการใช้
งาน
ใช้วัสดุ
อุปกรณ์ไม่
เหมาะสมไม่มี
ความพร้อม
ในการใช้งาน
เลย
เกณฑ์การประเมินการฝึกทักษะ เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืออุบลราชธานี
เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์

บรรณานุกรม
คณะกรรมการจัดทาหนังสือวิชาการเพื่อเป็นที่ระลึกในงานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี.
บัวงาม นามอุบล ยลเทียนพรรษา. อุบลราชธานี : ฝ่ายผลิตเอกสาร สานักวิทยบริการ
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2543.
คณะกรรมการจัดทาหนังสือ วิวัฒนาการประวัติประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี.
เลิศล้า เลอค่า เทียนพรรษาเมืองอุบล. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2550.
จิรวัฒน์ สว่างวงศ์ “การพัฒนาชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทาเทียน
พรรษาจังหวัดอุบลราชธานี สาหรับครู สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1”
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา สาขาศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.
ประดับ ก้อนแก้ว. เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี: ประวัติการจัดทาและการประกวด.
อุบลราชธานี: โรงเรียนอุบลวิทยาคม, 2531.
พระครูสมุห์สาลี ทิฏฺฐธมฺโม. การพัฒนาหลักสูตรอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น การทาต้นเทียนพรรษาประเภทติด
พิมพ์
จังหวัดอุบลราชธานี. เอกสารประกอบการอบรมการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีการแห่เทียนพรรษา
ของจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อสืบสานตานาน ประเพณีดั้งเดิม ระหว่างวันที่ 29-30 มิถุนายน 2552 ณ ณ
ห้องข้อมูลท้องถิ่น
ชั้น 3 อาคารข้อมูลท้องถิ่น สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี : สานักวิทย
บริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2552.
ศูนย์การเรียนรู้เทียนพรรษาศรีประดู่ ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยอุบลราชธานี. สืบสานภูมิปัญญา
ท้องถิ่นการทาเทียนพรรษา อุบลราชธานี : วินเนอร์ออฟเซ็ท, 2556
สมชัย เจียรกุล. ศิลปะการทาเทียนพรรษาของช่างจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสานักงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีที่ 24 เล่มที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2535
สมคิด สอนอาจ. เล่าขานตานานเทียน. อุบลราชธานี : บริษัทยงสวัสด์อินเตอร์กรุ๊ปจากัด, 2548.


More Related Content

Similar to เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี

บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
PN17
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนโครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
Tewit Chotchang
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
paunphet
 
การงาน งานใบตอง
การงาน งานใบตองการงาน งานใบตอง
การงาน งานใบตอง
reemary
 
ติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้น
peter dontoom
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
Jiraprapa Suwannajak
 

Similar to เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี (12)

แจกันสวยด้วยขวดใส
แจกันสวยด้วยขวดใสแจกันสวยด้วยขวดใส
แจกันสวยด้วยขวดใส
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
publication.
publication.publication.
publication.
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนโครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
การงาน งานใบตอง
การงาน งานใบตองการงาน งานใบตอง
การงาน งานใบตอง
 
ติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้น
 
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอดบทเรียน บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 6
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 6ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 6
ชุดการสอนรายบุคคลชุดที่ 6
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
 

เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี

  • 1.
  • 2. ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี สาระการเรียนรู้ ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นชุดฝึกทักษะที่จัดทาขึ้นเพื่อสืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานีและสามารถใช้เป็นแบบฝึกเพิ่มเติม เพื่อทบทวนบทเรียน ให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ มีทักษะทางศิลปะที่ดี และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ิน ประกอบด้วยชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี จานวน 7 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ ชุดที่ 2 วัสดุอุปกรณ์การทาต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ ชุดที่ 3 ลายดอกผึ้ง ชุดที่ 4 การทาผึ้งแผ่น ชุดที่ 5 การอัดลายดอกผึ้ง ชุดที่ 6 การแกะสลักลายดอกผึ้ง ชุดที่ 7 การติดลายดอกผึ้ง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมือง อุบลราชธานี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จะเป็นเครื่องมือที่ดี เป็นประโยชน์สาหรับครูและนักเรียน สามารถนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาทักษะทางศิลปะได้อย่างมี ประสิทธิภาพต่อไป สุจิตรา โขมะพัฒน์
  • 3. เรื่อง หน้า คาชี้แจง………………………..…………………………………………….…………….. ก คาแนะนาสาหรับครู…………………………………………………………….……… ข คาแนะนาสาหรับนักเรียน…………………………………………………….……… ค ผลการเรียนรู้…………………..…………………………………………………………. 1 จุดประสงค์การเรียนรู้………..………………………………………………….….… 1 แบบทดสอบก่อนเรียน……………………………………………………………….. 2 ใบความรู้ …………………………………………………………………...………… 4 กิจกรรมที่ 1…………………………………………………………………………….. 8 กิจกรรมที่ 2…………………………………………………………………………….. 9 เฉลยกิจกรรมที่ 1…………………………………………………………………….. 10 เฉลยกิจกรรมที่ 2…………………………………………………………………….. 11 แบบทดสอบหลังเรียน……………………………………………………………….. 12 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน.……………………………………….. 14 เกณฑ์การประเมิน…………………………………………………………………….. 15 บรรณานุกรม……………………………………………………………………………. 16
  • 4. ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วย  คาชี้แจง  คาแนะนาสาหรับนักเรียน  ผลการเรียนรู้  จุดประสงค์การเรียนรู้  แบบทดสอบก่อนเรียน  ใบความรู้  กิจกรรม  แบบทดสอบหลังเรียน ใช้ประกอบแผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 ผู้เรียน  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลาที่ใช้  1 ชั่วโมง - แบบทดสอบก่อนเรียน 5 นาที - ปฏิบัติกิจกรรม 50 นาที - แบบทดสอบหลังเรียน 5 นาที ก
  • 5. 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4-6 คน จัดตั้งประธานกลุ่ม เพื่อดูแลการเบิกวัสดุ อุปกรณ์ คู่มือ นักเรียน ดาเนินไปให้เรียบร้อย เปิดโอกาสให้ผู้อื่นแสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลาย 2. นักเรียนที่ปฏิบัติตามคาชี้แจงและแบบฝึกทักษะตามลาดับ 3. อ่านคาชี้แจงและปฏิบัติงานตามขั้นตอนอย่างรอบคอบ 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มได้รับเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์จากครู ดังนี้ 4.1 ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4.2 วัสดุ และอุปกรณ์สาหรับ ผู้สอนจัดไว้เป็นชุด รับผิดชอบเป็นกลุ่มร่วมกัน 5. ขั้นตอนการใช้ชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมือง อุบลราชธานี 5.1 ศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงค์ 5.2 ศึกษาเนื้อหาตามลาดับให้เข้าใจ 5.3 ปฏิบัติกิจกรรมให้ครบทุกขั้นตอน 5.4 ส่งผลงานให้ครบทันเวลา 5.5 เมื่อทากิจกรรมชุดฝึกทักษะเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเทียนติดพิมพ์เมือง อุบลราชธานีแล้วให้ทาแบบทดสอบย่อยประจาชุดฝึกทักษะ 6. ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังตามลาดับขั้น และพยายามทาแบบฝึกทักษะและ ปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ 7. ก่อนจะส่งงานต้องสารวจ จัดเก็บชุดฝึกทักษะหรือสื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าที่เดิม ทา ความสะอาดบริเวณปฏิบัติงานและห้องปฏิบัติการให้เรียบร้อย ในกรณีพบว่าสื่อการสอนชารุด เสียหายควรแจ้งให้ผู้สอนทราบทันที ข
  • 6. 1. อธิบายความแตกต่างของเทียนติดพิมพ์ประเภทแกะสลัก กับประเภทติดพิมพ์ได้ 2. บอกลักษณะของรูปร่างและลวดลายต่างๆ ที่นิยมนามาใช้ ทาต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ได้ 3. สามารถออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ได้ สามารถออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ได้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 
  • 7. คาชี้แจง 1.แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที 2.ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สัตว์ในวรรณคดีใดที่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน ก. ครุฑ ข. พญานาค ค. หงส์ ง. ถูกทุกข้อ 2. เหตุใดต้นเทียนประเภทติดพิมพ์จึงมีวิธีการทาที่ยาก ก. ขี้ผึ้งหายาก ข. ต้นทุนการทาสูงมาก ค. หาช่างฝีมือทาได้ยาก ง. มีหลายขั้นตอนต้องใช้แรงงานมาก 3. สัตว์ใดที่ไม่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน ก. ม้า ข. ช้าง ค. สุนัข ง. นก 4. ลายดอกผึ้งใดที่มีความสวยงาม อ่อนช้อยมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย ก. ลายกนกเปลว ข. ลายนก ค. ลายกุหลาบ ง. ลายคน แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์  
  • 8. 5. เรื่องราวใดเหมาะสมที่จะนามาทาเป็นต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ ก. การเมือง ข. เศรษฐกิจ ค. สังคม ง. พุทธศาสนา 6. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเทียนประเภทติดพิมพ์ ก. ต้องใช้ขี้ผึ้งแท้ทั้งต้น ข. ลวดลายสลับซับซ้อนละเดียดลออ ค. หล่อต้นเทียนเสร็จสามาระแกะสลักได้เลย ง. ใช้แรงงานคนจานวนน้อย 7. การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทาน้อยที่สุด ก. ออกแบบ ข. ทาแผ่นเทียน ค. แกะลายดอกผึ้ง ง. ติดลายอดกผึ้ง 8. การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทามากที่สุด ก. ออกแบบ ข. ทาแผ่นเทียน ค. แกะลายดอกผึ้ง ง. ติดลายอดกผึ้ง 9. ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์กับต้นเทียนประเภทแกะสลักแตกต่างกันอย่างไร ก. สีสัน ข. ลวดลาย ค. ขั้นตอนการทา ง. วัตถุประสงค์การทา 10. ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มักจะหล่อต้นเทียนขนาดเท่าใด ก. เล็กกว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก ข. ใหญ่กว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก ค. เท่ากับต้นเทียนประเภทแกะสลัก ง. เท่าใดก็ได้ตามความสะดวก 
  • 9. การหล่อต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มีขั้นตอนและวิธีการคล้ายกันกับการหล่อต้นเทียนประเภท แกะสลักทุกขั้นตอน แต่มีความแตกต่างกัน 2 ประการ คือ การหล่อต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ ใช้ขี้ผึ้งคุณภาพพอใช้ได้ซึ่งมีราคาถูก แต่การหล่อต้นเทียน ประเภทแกะสลัก ใช้ขี้ผึ้งคุณภาพดี และราคาแพงกว่า ทั้งนี้ ก็เพราะว่า หากขี้ผึ้งคุณภาพไม่ดี เมื่อแกะสลัก ลึกและซับซ้อนหลายขั้น ขี้ผึ้งจะแตกหัก ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มักหล่อให้มีขนาดเล็กกว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก เพราะการหล่อต้น เทียนประเภทติดพิมพ์ จะต้องนาไปกลึงให้เป็นรูปและขนาดเล็กลงบางส่วน แล้วจึงติดดอกเสริมโดยรอบให้ หนาขึ้น ส่วนต้นเทียนประเภทแกะสลัก ต้องทาให้มีขนาดใหญ่เอาไว้ เพื่อที่จะแกะสลักหรือขูดออก การ ทาต้นเทียนติดพิมพ์จะมีความละเอียดอ่อนมีขั้นตอนและใช้คนจานวนมาก โดยเฉพาะต้องใช้ขี้ผึ้งแท้เป็น ส่วนใหญ่ในการทาดอกผึ้ง ส่วนต้นเทียนเดิมใช้ผึ้งน้ามันผสมกับผึ้งแท้ การจัดทาต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ซึ่งเป็นต้นเทียนที่ทายาก มีหลายขั้นตอนและต้องใช้แรงงาน มาก แต่เป็นการทาต้นเทียนที่ชาวบ้านได้มีโอกาสได้ทางานร่วมกัน การจัดทาต้นเทียนประเภทติด พิมพ์ เริ่มต้นจากการหล่อเทียนเป็นลาต้นและเป็นรูปร่างต่างๆ ตามที่ต้องการและตามที่ได้ออกแบบเอาไว้ แล้ว อาจจะเป็นรูปพระอุโบสถ พระวิหารราชรถ รูปพระพุทธรูปปางต่างๆ รูปพุทธประวัติตอนต่างๆ หรืออื่นใดที่ช่างผู้จัดทาเป็นผู้กาหนดขึ้น จากนั้นจึงมีการเลือกหรือจัดทาแม่พิมพ์เป็นแบบก่อน ส่วนมาก แบบที่ทาออกมาจะเป็นลายไทยประเภทต่าง ๆ เช่น ลายเครือเถา ลายกนกเปลว กนกก้านขด บัวคว่า บัวหงาย และลายอื่น ๆ ที่แสนจะสลับซับซ้อนและละเอียดลออยิ่งนัก แล้วจึงนาเทียนสีต่าง ๆ ซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็นสีขาวหรือสีเหลือง มาคลึงให้เป็นแผ่นบาง ๆ ตากแดดหรืออังไฟให้อ่อนตัว แล้วนาไปกดลง แม่พิมพ์ที่ได้เตรียมไว้แล้ว จากนั้นก็นาเอาแผ่นเทียนที่พิมพ์เป็นลายไว้แล้วมาขริบริมตกแต่งให้ เรียบร้อย ต่อจากนั้นช่างผู้ชานาญงานก็จะนาแผ่นเทียนที่สาเร็จรูปแล้วไปติดประดับและตกแต่งเข้ากับต้น เทียนที่หล่อไว้แล้ว โดยอาศัยเข็มหมุดเป็นส่วนยึดที่สาคัญ แต่ปัจจุบันต้นเทียนนิยมใช้ไม้อัดทาเป็นเหลี่ยมย่อมุมแทนที่จะหล่อให้กลมเพียงอย่างเดียว โดย เนื้อหาที่นามาใช้ในการทาต้นเทียนติดพิมพ์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ ประกอบด้วยต้นเทียนหลักอยู่กลาง เทียนรองที่มีขนาดเล็กลง รูปคน ยักษ์ สัตว์ในวรรณคดี ได้แก่ ครุฑ พญานาค หงส์ กินรี เป็นต้น สัตว์อื่นๆ ได้แก่ ช้าง ม้า นก เป็นต้น ใบความรู้ เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี เล่มที่ ๑ การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 10. รูปแบบการออกแบบเทียนประเภทติดพิมพ์ ภาพตัวอย่างตัวเทียนพรรษาประเภทติดพิมพ์จากคุ้มวัดและหน่วยงานต่างๆ ที่ส่งเข้าประกวด และร่วมในขบวนแห่เทียนพรรษาประจาปีของจังหวัดอุบลราชธานีซึ่งมีความเป็นเอกลักษณ์ สวยงาม วิจิตรตระการตาเป็นอย่างยิ่ง ได้รับความชื่นชมไปทั่วโลกในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเมือง อุบลราชธานีภาพ ภาพการออกแบบตัวเทียนพรรษาปรพเภทติดพิมพ์ ต้นเทียนพรรษา ประเภทเทียนติดพิมพ์ของวัดเลียบ ที่มา www.picpost.postjung.com 
  • 13. ตอนที่ 1 ฝึกทักษะความรู้ความเข้าใจ คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. อธิบายความแตกต่างของเทียนติดพิมพ์ประเภทแกะสลักกับประเภทติดพิมพ์ ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 2. บอกลักษณะของรูปร่างและลวดลายต่างๆ ที่นิยมนามาใช้ทาต้นเทียนติดพิมพ์ ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… กิจกรรมที่ 1 เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 14. ตอนที่ 2 ฝึกทักษะด้านการปฏิบัติงาน คาชี้แจง นักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วฝึกปฏิบัติการออกแบบต้นเทียนติดพิมพ์ให้สมบูรณ์และสวยงาม กิจกรรมที่ 2 เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 15. ตอนที่ 1 ฝึกทักษะความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คาชี้แจง นักเรียนตอบคาถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. อธิบายความแตกต่างของเทียนติดพิมพ์ประเภทแกะสลักกับประเภทติดพิมพ์ การหล่อต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มีขั้นตอนและวิธีการคล้ายกันกับการหล่อต้นเทียน ประเภทแกะสลักทุกขั้นตอน แต่มีความแตกต่างกัน 2 ประการ คือ การหล่อต้นเทียนประเภท ติดพิมพ์ ใช้ขี้ผึ้งคุณภาพพอใช้ได้ซึ่งมีราคาถูก แต่การหล่อต้นเทียนประเภทแกะสลัก ใช้ขี้ผึ้ง คุณภาพดี และราคาแพงกว่า ทั้งนี้ ก็เพราะว่า หากขี้ผึ้งคุณภาพไม่ดี เมื่อแกะสลักลึกและ ซับซ้อนหลายขั้น ขี้ผึ้งจะแตกหัก 2. บอกลักษณะของรูปร่างและลวดลายต่างๆ ที่นิยมนามาใช้ทาต้นเทียนติดพิมพ์ รูปร่าง ได้แก่ คน ยักษ์ สัตว์ในวรรณคดี ได้แก่ ครุฑ พญานาค หงส์ กินรี เป็นต้น สัตว์อื่นๆ ได้แก่ ช้าง ม้า นก เป็นต้น ลวดลาย ได้แก่ ลายไทยประเภทต่าง ๆ เช่น ลายเครือเถา ลายกนกเปลว กนกก้าน ขด บัวคว่าบัวหงาย และลายอื่น ๆ เฉลยกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี ชุดที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 16. ตอนที่ 2 ฝึกทักษะด้านการปฏิบัติงาน คาชี้แจง นักเรียนศึกษาใบความรู้แล้วฝึกปฏิบัติการออกแบบต้นเทียนติดพิมพ์ให้สมบูรณ์และสวยงาม (ผลงานตามศักยภาพของผู้เรียน) เฉลยกิจกรรมที่ 2 เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 17. คาชี้แจง 1.แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที 2.ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1.ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์กับต้นเทียนประเภทแกะสลักแตกต่างกันอย่างไร ก. สีสัน ข. ลวดลาย ค. ขั้นตอนการทา ง. วัตถุประสงค์การทา 2.ต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ มักจะหล่อต้นเทียนขนาดเท่าใด ก. เล็กกว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก ข. ใหญ่กว่าต้นเทียนประเภทแกะสลัก ค. เท่ากับต้นเทียนประเภทแกะสลัก ง. เท่าใดก็ได้ตามความสะดวก 3.เหตุใดต้นเทียนประเภทติดพิมพ์จึงมีวิธีการทาที่ยาก ก. ขี้ผึ้งหายาก ข. ต้นทุนการทาสูงมาก ค. หาช่างฝีมือทาได้ยาก ง. มีหลายขั้นตอนต้องใช้แรงงานมาก 4.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเทียนประเภทติดพิมพ์ ก. ต้องใช้ขี้ผึ้งแท้ทั้งต้น ข. ลวดลายสลับซับซ้อนละเดียดลออ ค. หล่อต้นเทียนเสร็จสามาระแกะสลักได้เลย ง. ใช้แรงงานคนจานวนน้อย แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืองอุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 18. 5.เรื่องราวใดเหมาะสมที่จะนามาทาเป็นต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ ก. การเมือง ข. เศรษฐกิจ ค. สังคม ง. พุทธศาสนา 6.การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทาน้อยที่สุด ก. ออกแบบ ข. ทาแผ่นเทียน ค. แกะลายดอกผึ้ง ง. ติดลายอดกผึ้ง 7.การต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ในขั้นตอนใดใช้จานวนคนทามากที่สุด ก. ออกแบบ ข. ทาแผ่นเทียน ค. แกะลายดอกผึ้ง ง. ติดลายอดกผึ้ง 8.ลายดอกผึ้งใดที่มีความสวยงาม อ่อนช้อยมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย ก. ลายกนกเปลว ข. ลายนก ค. ลายกุหลาบ ง. ลายคน 9.สัตว์ในวรรณคดีใดที่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน ก. ครุฑ ข. พญานาค ค. หงส์ ง. ถูกทุกข้อ 10.สัตว์ใดที่ไม่นิยมนามาเป็นส่วนประกอบของต้นเทียน ก. ม้า ข. ช้าง ค. สุนัข ง. นก 
  • 19. 1 ง 2 ง 3 ค 4 ภ 5 ง 6 ข 7 ก 8 ค 9 ค 10 ก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืออุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 1 ค 2 ก 3 ง 4 ข 5 ง 6 ก 7 ค 8 ก 9 ง 10 ค เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืออุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 20. คาชี้แจง พิจารณาการปฏิบัติกิจกรรมตามหัวข้อต่อไปนี้ แล้วให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหหนด รายการ ที่ระดับความสามารถ 4 ดีมก 3 ดี 2 พอใช้ 1 ควรปรับปรุง 1. ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเนื้อหา สามารถ ถ่ายทอดเนื้อหา ได้ถูกต้อง เหมาะสม สวยงามมาก สามารถ ถ่ายทอดเนื้อหา ได้ เหมาะสม สวยงาม สามารถ ถ่ายทอดเนื้อหา ได้ เหมาะสม บางส่วน สวยามพอใช้ สามารถ ถ่ายทอด เนื้อหาได้ ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะ ๒. ความคิด สร้างสรรค์ มีความคิดของ ตนเองมีความ แปลกใหม่ไม่ เหมืนใคร เป็นน เอกลักษณ์ที่ โดดเด่นน สวยงามมาก ดัดแปลง บางส่วนจากสิ่ง รอบตัว บางสิ่ง ที่มองเห็นนามา คิดและ จินตนาการใน การสร้างสรรค์ ผลงาน ลอกเลียนแบบ จากภาพ บางส่วนโดยใช้ ความคิดของ ตนเองประยุกต์ เหมาะสมใน การส้างสรรค์ ผลงาน ลอกเลียนแบบ จากภาพโดย ไม่มีการคิด ประยุกต์เป็น ตนเอง ๓. การใช้วัสดุอุปกรณ์ ใช้อุปกรณ์ ใช้ อุปกรณ์ ได้ เหมาะสมกับ วิธีการ สร้าง ภาพมีความ พร้อม ในการใช้ งาน ครบถ้วน ใช้วัสดุอุปกรณ์ ได้เหมาะบาง ชนิดมีความ พร้อม ในการใช้ งาน ใช้วัสดุอุปกรณ์ ได้เหมาะบาง ชนิดไม่มีความ พร้อม ในการใช้ งาน ใช้วัสดุ อุปกรณ์ไม่ เหมาะสมไม่มี ความพร้อม ในการใช้งาน เลย เกณฑ์การประเมินการฝึกทักษะ เรื่อง เทียนติดพิมพ์เมืออุบลราชธานี เล่มที่ 1 การออกแบบต้นเทียนประเภทติดพิมพ์ 
  • 21. บรรณานุกรม คณะกรรมการจัดทาหนังสือวิชาการเพื่อเป็นที่ระลึกในงานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี. บัวงาม นามอุบล ยลเทียนพรรษา. อุบลราชธานี : ฝ่ายผลิตเอกสาร สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2543. คณะกรรมการจัดทาหนังสือ วิวัฒนาการประวัติประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี. เลิศล้า เลอค่า เทียนพรรษาเมืองอุบล. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2550. จิรวัฒน์ สว่างวงศ์ “การพัฒนาชุดฝึกอบรมแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทาเทียน พรรษาจังหวัดอุบลราชธานี สาหรับครู สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1” วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551. ประดับ ก้อนแก้ว. เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี: ประวัติการจัดทาและการประกวด. อุบลราชธานี: โรงเรียนอุบลวิทยาคม, 2531. พระครูสมุห์สาลี ทิฏฺฐธมฺโม. การพัฒนาหลักสูตรอบรมภูมิปัญญาท้องถิ่น การทาต้นเทียนพรรษาประเภทติด พิมพ์ จังหวัดอุบลราชธานี. เอกสารประกอบการอบรมการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีการแห่เทียนพรรษา ของจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อสืบสานตานาน ประเพณีดั้งเดิม ระหว่างวันที่ 29-30 มิถุนายน 2552 ณ ณ ห้องข้อมูลท้องถิ่น ชั้น 3 อาคารข้อมูลท้องถิ่น สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี : สานักวิทย บริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2552. ศูนย์การเรียนรู้เทียนพรรษาศรีประดู่ ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยอุบลราชธานี. สืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่นการทาเทียนพรรษา อุบลราชธานี : วินเนอร์ออฟเซ็ท, 2556 สมชัย เจียรกุล. ศิลปะการทาเทียนพรรษาของช่างจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีที่ 24 เล่มที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2535 สมคิด สอนอาจ. เล่าขานตานานเทียน. อุบลราชธานี : บริษัทยงสวัสด์อินเตอร์กรุ๊ปจากัด, 2548. 