SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
Download to read offline
บทที่ 5
พลังงานกับคุณภาพชีวิต
สิ่งมีชีวิตจะดารงอยู่ได้ต้องอาศัยพลังงานเพื่อให้
เกิดกระบวนการ และปฏิกิริยาต่างๆ สิ่งมีชีวิตใช้พลังงาน
ในรูปต่างๆ มากมายหลายแบบ พลังงานต่างๆ ล้วนเป็น
ปัจจัยที่สาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่างๆ มนุษย์
ใช้ประโยชน์จากพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ กัน
พลังงานกับคุณภาพชีวิต
เพื่ออานวยความสะดวก ปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดี
ขึ้น พลังงานเป็นปัจจัยที่มีความสาคัญปัจจัยหนึ่งในการ
กาหนดการเปลี่ยนแปลงและความอยู่รอดของสังคม
ปัจจุบันความต้องการใช้พลังงานเพื่อตอบสนอง
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศได้
เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงอันเป็นภาระแก่ประเทศในการลงทุน
พลังงานกับคุณภาพชีวิต
เพื่อจัดหาพลังงานทั้งในประเทศ และนอกประเทศ
ไว้ใช้ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น
ปัจจุบันการดาเนินการอนุรักษ์พลังงานเพื่อให้มีการ
ผลิตและใช้พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ
การอนุรักษ์พลังงานจึงเป็นสิ่งที่ความสาคัญที่
มนุษย์จะต้องเรียนรู้และใช้พลังงานอย่างมีคุณค่า
พลังงานกับคุณภาพชีวิต
หมายถึง ความสามารถในการทางานจากการกระทา
ของแรงเป็นเหตุให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ พลังงานที่ปรากฏ
ในชีวิตประจาวันที่มนุษย์เรารู้จัก ได้แก่ พลังงานจากดวง
อาทิตย์ให้พลังงานความร้อน แสงสว่าง และยังก่อให้เกิดการ
เคลื่อนไหวของลม พลังงานเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
พลังงานที่เกิดจากความชาญฉลาดของมนุษย์ เช่น การก่อ
ไฟเพื่อให้เกิดความร้อนในการหุงต้ม ให้ความอบอุ่นแก่
ร่างกาย เกิดแสงเพื่อให้สามารถมองเห็นได้
ความหมายของพลังงาน (Energy)
แรงกาย เป็นพลังงานที่เกิดจากการที่มนุษย์
รับประทานอาหารเข้าไปมีการเปลี่ยนรูปของอาหารเป็น
พลังงานเพื่อนามาใช้ในร่างกายทาให้สามารถมีแรงทางาน
พลังงานเป็นสิ่งที่ทุกชีวิตต่างคุ้นเคยเป็นอย่างดี โดยเฉพาะ
มนุษย์ที่สามารถใช้พลังงานมาสร้างอารยธรรม ถ่ายทอด
และรักษามาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือวิวัฒนาการของมนุษย์
เป็นวิวัฒนาการที่ควบคู่มากับการใช้พลังงาน พลังงานเป็น
สิ่งที่ไม่อาจเกิดขึ้นเองหรือสูญหายไปเองได้
ความหมายของพลังงาน (Energy)
แต่อาจเปลี่ยนรูปจากพลังงานหนึ่งไปเป็นพลังงาน
อีกรูปหนึ่งได้ เช่น เตารีดไฟฟ้ าจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ า
เป็นพลังงานความร้อน เมื่อน้ามันเกิดการเผาไหม้จะทาให้
พลังงานศักย์เคมีเปลี่ยนไปเป็นพลังงานความร้อนและ
แสงสว่าง ไดนาโมเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้ า
ความหมายของพลังงาน (Energy)
จากเดิมที่มนุษย์รู้จักพลังงาน ส่วนใหญ่เป็นพลังงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตของมนุษย์ เช่น พลังงานที่เป็น
แรงกาย พลังงานที่นามาใช้ให้ความอบอุ่นหรือแสงสว่างแก่
ร่างกาย ต่อมาเริ่มรู้จักแหล่งพลังงานที่มาจากภายนอก
มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้พลังงานจากลมในการเดินทางทาง
ทะเลโดยเรือใบเมื่อประมาณ 5,000 ปีที่แล้ว รู้จักใช้พลังงาน
จากลมโดยการใช้กังหันลมเมื่อประมาณ 3,000 ปีที่แล้ว
แหล่งพลังงาน (Energy)
รู้จักใช้พลังงานจากน้าเมื่อประมาณ 1,000 ปีที่แล้ว
โดยนามาหมุนกังหันน้า เริ่มรู้จักใช้ถ่านหิน เมื่อประมาณ
300 กว่าปีที่แล้ว ส่วนน้ามันและก๊าซธรรมชาติเพิ่งนามาใช้
ในชีวิตประจาวันและสามารถทาให้แบ่งแหล่งที่มาของ
พลังงานได้เป็น 2 ประเภทใหญ่
แหล่งพลังงาน (Energy)
เป็นแหล่งพลังงานที่เกิดโดยธรรมชาติ ใช้แล้วไม่สูญ
สิ้น และยังไม่มีผลต่อสภาพแวดล้อมเพราะไม่เกิดมลพิษ
ใดๆ ถ้าไม่เปลี่ยนสภาพมากนัก เช่น พลังงานจากดวง
อาทิตย์ กระแสลม แรงดึงดูดของโลก ความร้อนใต้พิภพ
ความร้อนในมหาสมุทร การใช้มวลชีวภาพทาเชื้อเพลิง
แหล่งพลังงาน (Energy)
1. แหล่งพลังงานที่ใช้แล้วไม่สูญสิ้น
เป็นพลังงานที่เกิดจาก การสะสมพลังงานของ
สิ่งมีชีวิตที่ทับถมกันใต้พิภพเป็นเวลาหลายล้านปี ซึ่ง
มนุษย์เริ่มรู้จักนามาใช้เมื่อ 100 กว่าปีที่แล้ว เช่น ก๊าซ
ธรรมชาติปิโตรเลียม ถ่านหิน
แหล่งพลังงาน (Energy)
2. แหล่งพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป
พลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานที่เพิ่งใช้กัน เมื่อ
ประมาณ 100 กว่าปีที่ผ่านมา แต่เป็นพลังงานที่มนุษย์
เรารู้จัก และนามาใช้แพร่หลายที่สุด ซึ่งวัตถุดิบที่ใช้ใน
การผลิตกระแสไฟฟ้ า แบ่งได้ 5 ประเภท คือ
พลังงานไฟฟ้ า
พลังงานไฟฟ้ า
1.
น้ามัน
ดีเซล
2.
กังหัน
ก๊าซ
3.
พลัง
งาน
ความ
ร้อน
4.
พลัง
งาน
ความ
ร้อน
รวม
5.
พลัง
น้า
พลังงานชีวมวล
1.
ไม้
หรือ
เชื้อ
เพลิง
จาก
ไม้
2.
ผลผลิต
ที่เหลือ
จาก
การ
เกษตร
3.
ก๊าซ
ชีวภาพ
4.
แอลกอ
ฮอล์
หมัก
ผลผลิต
การ
เกษตร
5.
น้ามัน
พืช
1.ตรวจสอบลมยางเป็นประจา เพราะยางที่อ่อนเกินไป
ทาให้สิ้นเปลืองน้ามันมากกว่ายางที่มีปริมาณลมยาง
ตามที่มาตรฐานกาหนด
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
2.สลับเปลี่ยนยาง ตรวจตั้งศูนย์ล้อตามกาหนด จะช่วย
ประหยัดน้ามันเพิ่มขึ้น
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
3.ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถนานๆ แค่จอด
รถติดเครื่องทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที ก็เสียน้ามันฟรีๆ
200 ซีซี
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
4.ไม่ควรติดเครื่องทิ้งไว้เมื่อจอดรถให้ดับเครื่องยนต์ทุก
ครั้ง เมื่อลงจากรถหรือคอยคน เพราะการติดเครื่องทิ้ง
ไว้เปลืองน้ามัน และสร้างมลพิษอีกด้วย
5.ไม่ออกรถกระชากดังเอี๊ยด การออกรถกระชาก 10 ครั้ง
สูญเสียน้ามันไปเปล่าๆ ถึง 100 ซีซี น้ามันจานวนนี้รถ
สามารถวิ่งได้ไกล 700 เมตร
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
6.ไม่เร่งเครื่องยนต์ตอนเกียร์ว่างอย่างที่เราเรียกกันติด
ปากว่าเบิ้ลเครื่องยนต์ ทา 10 ครั้ง สูญเสียน้ามันถึง 50
ซีซี ปริมาณน้ามันขนาดนี้รถวิ่งไปได้ตั้ง 350 เมตร
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
7.ตรวจตั้งเครื่องยนต์ตามกาหนด ควรตรวจเช็ค
เครื่องยนต์สม่าเสมอ
8.ไม่ต้องอุ่นเครื่อง หากออกรถและขับช้าๆ สัก 1-2 กม.
แรก เครื่องยนต์จะอุ่นเอง ไม่ต้องเปลืองน้ามันไปกับ
การอุ่นเครื่อง
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
9.ไม่ควรบรรทุกน้าหนักเกิดพิกัด เพราะเครื่องยนต์จะ
ทางานตามน้าหนักที่เพิ่มขึ้น หากบรรทุกหนักมากจะ
ทาให้เปลืองน้ามัน และสึกหรอสูง
10.ใช้ระบบการใช้รถร่วมกัน หรือคาร์พูล (Car pool) ที่
หมายเดียวกัน ทางผ่านหรือใกล้เคียงกัน ควรใช้รถคัน
เดียวกัน
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
11.เดินทางเท่าที่จาเป็นจริงๆ เพื่อประหยัดน้ามัน
ใช้โทรศัพท์ก็ได้ ประหยัดน้ามัน ประหยัดเวลา
12.ไปซื้อของหรือไปธุระใกล้บ้านหรือใกล้ๆ ที่ทางาน
อาจจะเดิน หรือใช้รถจักรยานบ้างก็ได้
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
13.ก่อนไปพบใคร ควรโทรศัพท์ไปถามก่อนจะได้ไม่
เสียเวลาไม่เสียน้ามันไปโดยเปล่าประโยชน์
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
14.สอบถามเส้นทางที่จะไปให้แน่ชัด หรือศึกษาแผนที่
ให้ดีจะได้ไม่หลง ไม่เสียเวลา ไม่เปลืองน้ามัน
15.ควรใช้โทรศัพท์ โทรสาร ไปรษณีย์ อินเตอร์เน็ท
หรือใช้บริการส่งเอกสาร แทนการเดินทางด้วย
ตัวเองเพื่อประหยัดน้ามัน
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
16.ไม่ควรเดินทางโดยไม่ได้วางแผนการเดินทาง ควร
กาหนดเส้นทางและช่วงเวลาการเดินทางที่เหมาะสม
17.หมั่นศึกษาเส้นทางลัด ช่วยให้ไม่ต้องเดินทางยาวนาน
และควรขับรถด้วยความเร็วคงที่ เลือกขับที่ความเร็ว
70 – 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ที่ 2,000–2,500 รอบ
เครื่องยนต์ ความเร็วระดับประหยัดน้ามันได้มากกว่า
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
18.ไม่ควรขับรถลากเกียร์ เพราะจะทาให้เครื่องยนต์
หมุนรอบสูงกินน้ามันมากและเครื่องยนต์สึกหรอง่าย
19.ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งที่จะทาให้เครื่องยนต์ทางาน
หนักขึ้น เช่น การทาให้เกิดการต้านลม
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
20.ไม่ควรใช้น้ามันเบนซินที่ออกเทนสูงเกินความจาเป็น
ของเครื่องยนต์ เพราะเป็นการสิ้นเปลืองพลังงาน
21.หมั่นเปลี่ยนน้ามันเครื่อง ไส้กรองน้ามันเครื่อง ไส้
กรองอากาศ ตามระยะเวลาที่เหมาะสมเพื่อประหยัด
น้ามัน
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
22.สาหรับเครื่องยนต์แบบเบนซิน ควรเลือกเติมน้ามัน
เบนซิน ให้ถูกชนิด ถูกประเภท โดยเลือกตามค่าออก
เทนที่เหมาะสมกับรถแต่ละยี่ห้อ
23.ไม่จาเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศตลอดเวลา ยาม
เช้าๆ เปิดกระจกรับความเย็น จากลมธรรมชาติ
สดชื่นดี ประหยัดน้ามัน
แนวทางวิธีการประหยัดน้ามัน
24.ไม่ควรเร่งเครื่องปรับอากาศในรถอย่างเต็มที่จน
เกินความจาเป็น ไม่เปิดแอร์แรงๆ จนรู้สึกหนาว
เกินไปเพราะสิ้นเปลืองพลังงาน
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
1.ปิดสวิตช์ไฟและเครื่องใช้ไฟฟ้ าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้
งาน สร้างให้เป็นนิสัยในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจาก
ห้อง
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
2.เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดง
ประสิทธิภาพ ให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อหาก
มีอุปกรณ์ไฟฟ้ าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้ เบอร์ 5
3.ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1
ชั่วโมง สาหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที
สาหรับเครื่องปรับอากาศ เบอร์ 5
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
4.หมั่นทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศเครื่องปรับอากาศ
บ่อย ๆ เพื่อลดการเปลืองไฟ
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
5.ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่ง
เป็นอุณหภูมิที่กาลังสบาย
6.ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็นรั่วไหลจากห้องที่ติดตั้ง
เครื่องปรับอากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง
ฝ้ าเพดาน ประตู ช่องแสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่
เปิดเครื่องปรับอากาศ
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
7.ลดและหลีกเลี่ยงการเก็บเอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไม่
จาเป็นต้องใช้งานในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศเพื่อลด
การสูญเสีย
8.ติดตั้งฉนวนกันความร้อนโดยรอบห้องที่มีการปรับ
อากาศ เพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเท
ความร้อนเข้าภายในอาคาร
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
9.ใช้มู่ลี่กันสาดป้ องกันแสงแดดส่องกระทบกับตัวอาคาร
และบุฉนวนกันความร้อนตามหลังคาและฝาผนังเพื่อ
ไม่ให้เครื่องปรับอากาศทางานหนักเกินไป
10.หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทความร้อน
เข้าสู่ห้องปรับอากาศติดตั้งและใช้อุปกรณ์ควบคุมการ
เปิด-ปิดประตูในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
11.ควรปลูกต้นไม้รอบๆ อาคาร เพราะต้นไม้ขนาดใหญ่ 1
ต้น ให้ความเย็นเท่ากับเครื่องปรับอากาศ 1 ตัน
12.ควรปลูกต้นไม้เพื่อช่วยบดบังแดดข้างบ้านหรือเหนือ
หลังคาเพื่อเครื่องปรับอากาศจะไม่ต้องทางานหนัก
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
13.ปลูกพืชคลุมดินจะทาให้บ้านเย็น ไม่จาเป็นต้องเปิด
เครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป
14.ในสานักงานให้ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ และ
อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไม่จาเป็นในช่วงเวลา12.00–13.00 น.
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
15.ไม่จาเป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศ
ก่อนเวลาเริ่มทางาน และควรปิด
เครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเลิกใช้
งานเล็กน้อย เพื่อประหยัดไฟ
16.เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
17.หากอากาศไม่ร้อนเกินไป ควรเปิดพัดลมแทน
เครื่องปรับอากาศจะช่วยประหยัดไปประหยัด
18.ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอดผอมจอม
ประหยัด แทนหลอดอ้วน ใช้หลอดตะเกียบแทน
หลอดไส้ หรือใช้หลอดคอมแพคท์ฟลูออเรสเซนต์
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
19.ควรใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเล็กทรอ
นิกคู่กับหลอดผอมจอมประหยัด
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
20.ควรใช้โคมไฟแบบมีแผ่นสะท้อนแสงในห้องต่าง ๆ
เพื่อช่วยให้แสงสว่างจากหลอดไฟกระจายได้อย่าง
เต็มประสิทธิภาพ
21.หมั่นทาความสะอาดหลอดไฟที่บ้าน เพราะจะช่วย
เพิ่มแสงสว่าง ควรทาอย่างน้อย 4 ครั้ง ต่อปี
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
22.ใช้หลอดไฟที่มีวัตต์ต่า สาหรับ
บริเวณที่จาเป็นต้องเปิดทิ้งไว้ทั้ง
คืน ไม่ว่าจะเป็นในบ้านหรือข้าง
นอก
23.ควรตั้งโคมไฟที่โต๊ะทางาน หรือติดตั้งไฟเฉพาะจุด
แทนการเปิดทั้งห้องเพื่อทางาน
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
24.ควรทาสีอ่อนตกแต่งอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อ
การสะท้อนแสงที่ดีและทาภายในอาคารเพื่อทาให้
ห้องสว่างได้มากกว่า
25.ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติโดยติดตั้งกระจก หรือติด
ฟิล์มที่มีคุณสมบัติป้ องกันความร้อน แต่ยอมให้แสง
ผ่านเข้าได้ เพื่อลดการใช้พลังงานแสงสว่างในอาคาร
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
26.ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่งในบริเวณที่มีความต้องการ
ใช้แสงสว่างน้อย หรือบริเวณที่มีแสงสว่างเพียงพอแล้ว
27.ปิดตู้เย็นให้สนิท ทาความสะอาดภายในตู้เย็น และแผ่น
ระบาย ความร้อนหลังตู้เย็นสม่าเสมอเพื่อให้ตู้เย็นไม่
ต้องทางานหนัก
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
28.อย่าเปิดตู้เย็นบ่อย อย่านาของร้อนเข้าแช่ในตู้เย็น
เพราะจะทาให้ตู้เย็นทางานเพิ่มขึ้นกินไฟมากขึ้น
29.ตรวจสอบขอบยางประตูของตู้เย็นไม่ให้
เสื่อมสภาพ เพราะจะทาให้ความเย็นรั่วออกมาได้
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
30.เลือกขนาดตู้เย็นให้เหมาะสมกับขนาดครอบครัว
และควรตั้งตู้เย็นไว้ห่างจากผนังบ้าน 15
เซนติเมตร
31.ควรละลายน้าแข็งในตู้เย็นสม่าเสมอ การปล่อยให้
น้าแข็งจับหนาเกินไป จะทาให้เครื่องต้องทางานหนัก
ทาให้กินไฟมาก
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
32.เลือกซื้อตู้เย็นประตูเดียว เนื่องจากตู้เย็น 2 ประตู จะ
กินไฟมากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาดเท่ากัน
เพราะต้องใช้ท่อน้ายาทาความเย็นที่ยาวกว่า และใช้
คอมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่กว่า
33.ควรตั้งสวิตซ์ควบคุมอุณหภูมิของตู้เย็นให้
เหมาะสม
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
34.ไม่ควรพรมน้าจนแฉะเวลารีดผ้า เพราะต้องใช้
ความร้อนในการรีดมากขึ้น
35.ดึงปลั๊กออกก่อนการรีดเสื้อผ้าเสร็จตัวสุดท้าย
เพราะความร้อนที่เหลือในเตารีด ยังสามารถรีดต่อ
ได้จนกระทั่งเสร็จช่วยประหยัดไฟฟ้ า
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
36.เสียบปลั๊กครั้งเดียว ต้องรีดให้เสร็จ ไม่ควรเสียบและ
ถอดปลั๊กเตารีดบ่อย ๆ เพราะการทาให้เตารีดกินไฟ
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
37.ลด ละ เลี่ยง การใส่เสื้อสูท เพราะไม่เหมาะสมกับ
สภาพอากาศเมืองร้อน
38.ซักผ้าด้วยเครื่อง ควรใส่ผ้าให้เต็มกาลังของเครื่อง
เพราะซัก 1 ตัวกับซัก 20 ตัว ก็ต้องใช้น้าในปริมาณ
เท่า ๆ กัน
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
39.ไม่ควรอบผ้าด้วยเครื่องซักผ้า เพราะเปลืองไฟมาก
ควรตากเสื้อผ้ากับแสงแดดหรือแสงธรรมชาติ
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
40.ปิดโทรทัศน์ทันทีเมื่อไม่มีคนดู เป็นการสิ้นเปลือง
ไฟฟ้ าโดยใช่เหตุ แถมยังต้องซ่อมเร็วอีกด้วย
41.ไม่ควรปรับจอโทรทัศน์ให้
สว่างเกินไป และอย่าเปิดให้เสียงดัง
เกินความจาเป็นเพราะเปลืองไฟ
ทาให้อายุเครื่องสั้นลงด้วย
42.อยู่บ้านเดียวกัน ดูโทรทัศน์รายการเดียวกัน ก็ควรจะดู
เครื่องเดียวกัน ไม่ใช่ดูคนละเครื่องคนละห้อง
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
43.เช็ดผมให้แห้งก่อนเป่ าผมทุกครั้ง
ใช้เครื่องเป่ าผมสาหรับแต่งทรงผม
ไม่ควรทาให้ผมแห้งโดยต้องเป่ า
44.ต้องใช้เตาก๊าซหุงต้มอาหาร ประหยัดการใช้เตาไฟฟ้ า
เตาอบไฟฟ้ า และควรติดตั้งวาล์วนิรภัย (Safety Valve)
เพื่อความปลอดภัยด้วย
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
45.เวลาหุงต้มอาหารด้วยเตาไฟฟ้ า ควรจะปิดเตาก่อน
อาหารสุก 5 นาที เพราะความร้อนที่เตาจะร้อนต่อ
อีกอย่างน้อย 5 นาที เพียงพอที่จะทาให้อาหารสุก
46.อย่าเสียบปลั๊กหม้อหุงข้าวไว้ เพราะระบบอุ่น จะ
ทางานตลอดเวลาทาให้สิ้นเปลืองไฟเกินความจาเป็น
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
47.กาต้มน้าไฟฟ้ า ต้องดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อน้าเดือด
อย่าเสียบไฟไว้เมื่อไม่มีคนอยู่
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
48.แยกสวิตช์ไฟออกจากกัน ให้สามารถเปิดปิดได้
เฉพาะจุด ไม่ใช้ปุ่ มเดียวเปิดปิดทั้งชั้น
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
49.หลีกเลี่ยงการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ต้องมีการปล่อย
ความร้อน เช่น กาต้มน้า หม้อหุงต้มไว้ในห้องที่มี
เครื่องปรับอากาศ
50.ซ่อมบารุงอุปกรณ์ไฟฟ้ าให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
และหมั่นทาความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้ าอยู่เสมอ
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
51.อย่าเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งไว้ถ้าไม่ใช้งาน ติดตั้ง
ระบบลดกระแสไฟเข้าเครื่องเมื่อพักการทางาน จะ
ประหยัดไฟได้ร้อยละ 35 – 40 และ ถ้าหากปิด
หน้าจอทันทีเมื่อไม่ใช้งาน จะประหยัดไฟได้ร้อย
ละ 60
52.ดูสัญลักษณ์ Energy Star ก่อนเลือกซื้ออุปกรณ์
สานักงาน (เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้ า เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ) ซึ่งจะ
ช่วยประหยัดพลังงาน ลดการใช้กาลังไฟฟ้ าเพราะ
จะมีระบบประหยัดไฟฟ้ าอัตโนมัติ
แนวทางวิธีการประหยัดไฟฟ้ า
1.ใช้น้าอย่างประหยัด หมั่นตรวจสอบการรั่วไหลของน้า
เพื่อลดการสูญเสียน้าอย่างเปล่าประโยชน์
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
2.ไม่ควรปล่อยให้น้าไหลตลอดเวลาตอนล้างหน้า แปรง
ฟัน โกนหนวด และถูสบู่ตอนอาบน้า เพราะจะสูญน้า
โดยเปล่าประโยชน์นาทีละหลาย ๆ ลิตร
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
3.ใช้สบู่เหลวแทนสบู่ก้อนเวลาล้างมือ เพราะการใช้สบู่
ก้อนล้างมือจะใช้เวลามากกว่าการใช้สบู่เหลวและการ
ใช้สบู่เหลวที่ไม่เข้มข้น จะใช้น้าน้อยกว่าการล้างมือ
ด้วยสบู่เหลวเข้มข้น
4.ซักผ้าด้วยมือควรรองน้าใส่กะละมังแค่พอใช้ อย่าเปิด
น้าไหลทิ้งไว้ตลอดเวลาซัก เพราะสิ้นเปลืองกว่าการ
ซักโดยวิธีการขังน้าไว้ในกะละมัง
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
5.ใช้ Sprinkler หรือฝักบัวรดน้าต้นไม้ แทนการฉีดน้า
ด้วยสายยาง จะประหยัดน้าได้มากกว่า
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
6.ไม่ควรใช้สายยางและเปิดน้าไหลตลอดเวลาในขณะที่
ล้างรถ จะใช้น้ามากถึง 400 ลิตร แต่ถ้าล้างด้วยน้าและ
ฟองน้าในกระป๋ อง หรือภาชนะบรรจุน้า จะลดการใช้
น้าได้มากถึง 300 ลิตร ต่อการล้างหนึ่งครั้ง
7.ไม่ควรล้างรถบ่อยครั้งจนเกินไป เพราะจะสิ้นเปลือง
น้าและยังทาให้เกิดสนิมที่ตัวถังได้ด้วย
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
8.ควรตรวจสอบท่อน้ารั่วภายในบ้าน ด้วยการปิดก๊อก
น้าทุกตัว หลังจากทุกคนเข้านอน หรือเวลาที่ไม่มีใคร
ใช้น้าระยะหนึ่ง จดหมายเลขวัดน้าไว้ ถ้าตอนเช้ามาตร
เคลื่อนที่โดยไม่มีใครเปิดน้าใช้ ก็เรียกช่างมาตรวจซ่อม
9.ควรล้างพืชผักและผลไม้ในอ่างหรือภาชนะที่มีการกัก
น้าไว้เพียงพอ เพราะการล้างด้วยน้าที่ไหลจากก๊อกน้า
โดยตรง จะใช้น้ามากกว่าการล้างด้วยน้าที่บรรจุไว้ใน
ภาชนะถึงร้อยละ 50
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
10.ตรวจสอบซักโครกว่ามีจุดรั่วหรือไม่ ให้ลองหยด
สีผสมอาหารลงในถังพักน้า แล้วสังเกตดูที่คอห่าน
หากมีน้าสีลงมาโดยที่ไม่ได้กดชักโครก ให้รีบซ่อม
11.ไม่ใช้ชักโครกเป็นที่ทิ้งเศษอาหาร กระดาษ สารเคมี
ทุกชนิด เพราะจะทาให้สูญเสียน้าจากการชักโครก
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
12.ใช้อุปกรณ์ประหยัดน้า เช่น ชักโครกประหยัดน้า
ฝักบัวประหยัดน้า ก๊อกประหยัดน้า
13. ติด Areator หรือ อุปกรณ์เติมอากาศที่หัวก๊อก เพื่อ
ช่วยเพิ่มอากาศให้แก่น้าที่ไหลออกจากหัวก๊อก ลด
ปริมาณการไหลของน้าช่วยประหยัดน้า
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
14.ไม่ควรรดน้าต้นไม้ตอนแดดจัด เพราะน้าจะระเหย
หมดไปเปล่าๆ ให้รดตอนเช้าที่อากาศยังเย็น
15.อย่าทิ้งน้าดื่มที่เหลือในแก้วโดยไม่เกิดประโยชน์ ใช้
รดน้าต้นไม้ ใช้ชาระความสะอาดสิ่งต่าง ๆ ได้อีกมาก
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
16.ควรใช้เหยือกน้ากับแก้วเปล่าในการดื่มน้าและให้ผู้ที่
ต้องการดื่มรินน้าดื่มเอง และควรดื่มให้หมดทุกครั้ง
17.ล้างจานในภาชนะที่ขังน้าไว้
จะประหยัดน้าได้มากกว่าการ
ล้างจานด้วยวิธีปล่อยน้าให้ไหล
จากก๊อก
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
18.ติดตั้งระบบน้าให้สามารถใช้ประโยชน์จากการเก็บ
และจ่ายน้าตามแรงโน้มถ่วงของโลกเพื่อหลีกเลี่ยง
การใช้พลังงานไปสูบและจ่ายน้าภายในอาคาร
แนวทางวิธีการประหยัดน้า
1.อย่าใช้กระดาษหน้าเดียวทิ้ง ให้ใช้กระดาษอย่างคุ้มค่า
ใช้ทั้งสองหน้า ให้นึกเสมอว่ากระดาษแต่ละแผ่นย่อม
หมายถึงต้นไม้หนึ่งต้นที่ต้องเสียไป
แนวทางวิธีการประหยัดพลังงานอื่นๆ
2.ในสานักงานให้ใช้การส่งเอกสารต่อๆ กัน แทนการ
สาเนาเอกสารหลายๆ ชุดเพื่อประหยัดกระดาษ
ประหยัดพลังงาน
แนวทางวิธีการประหยัดพลังงานอื่นๆ
3.ลดการสูญเสียกระดาษเพิ่มมากขึ้น ด้วยการหลีกเลี่ยง
การใช้กระดาษปะหน้าโทรสารชนิดเต็มแผ่น และหัน
มาใช้กระดาษขนาดเล็ก ที่สามารถตัดพับบนโทรสาร
4.ใช้การส่งผ่านข้อมูลข่าวสารต่างๆ ผ่านระบบ
คอมพิวเตอร์โดยโมเด็ม หรือแผ่นดิสก์ แทนการส่ง
ข่าวสารข้อมูลโดยเอกสาร ช่วยลดชั้นตอนการทางาน
ลดการใช้พลังงาน
แนวทางวิธีการประหยัดพลังงานอื่นๆ
5.หลีกเลี่ยงการใช้จานกระดาษ แก้วน้ากระดาษ เวลาจัด
งานสังสรรค์ต่างๆ เพราะสิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต
6.รู้จักแยกแยะประเภทขยะเพื่อช่วยลดขั้นตอน และลด
พลังงานในการทาลายขยะ และทาให้ง่ายต่อการกาจัด
แนวทางวิธีการประหยัดพลังงานอื่นๆ
7.หนังสือพิมพ์อ่านเสร็จแล้วอย่าทิ้งให้เก็บไว้ขาย หรือ
พับถุงเก็บไว้ทาอะไรอย่างอื่น ใช้ซ้าทุกครั้งถ้าทาได้
ช่วยลดการใช้พลังงานในการผลิต
8.ขึ้นลงชั้นเดียวหรือสองชั้นไม่จาเป็นต้องใช้ลิฟท์ จาไว้
เสมอว่าการกดลิฟท์แต่ละครั้งสูญเสียพลังงาน 7 บาท
แนวทางวิธีการประหยัดพลังงานอื่นๆ
9.งด เลิก บริโภคผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้วทิ้งเลย เพราะเป็น
การสิ้นเปลืองพลังงานในการผลิต และเป็นการเพิ่ม
ปริมาณขยะ เปลืองพลังงานในการกาจัดขยะ
10.ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์ที่ยากต่อการ
ทาลาย เช่น โฟม หรือพลาสติก ควรเลือกใช้บรรจุ
ภัณฑ์ที่นากลับมาใช้ใหม่ได้ (Reuse) หรือนาไปผ่าน
กระบวนการผลิตมาใช้ใหม่ได้ (Recycle)
แนวทางวิธีการประหยัดพลังงานอื่นๆ
11.สนับสนุนสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์เป็นวัสดุที่สามารถ
นามาผ่านกระบวนการนามาใช้ใหม่ (Recycle) และ
จัดให้มีการแยกแยะในครัวเรือนและในสานักงาน
12.ให้ความร่วมมือสนับสนุน หรือเข้าร่วมกิจกรรมกับ
หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่รณรงค์
ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์พลังงาน
แนวทางวิธีการประหยัดพลังงานอื่นๆ
13.กระตุ้นเตือนให้ผู้อื่นช่วยกันประหยัดพลังงานในการ
ติดสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายให้ช่วยประหยัดไฟ
ตรงบริเวณใกล้สวิทช์ไฟ เพื่อเตือนให้ปิดเมื่อเลิกใช้
การเลือกซื้อและใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้าน
(สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
การเลือกซื้อตู้เย็น
1. เลือกซื้อตู้เย็นที่มีขนาดสอดคล้องกับความต้องการของ
ครอบครัว กรณีที่เคยใช้ตู้เย็นมาก่อนขนาดตู้เดิมจะเป็น
พื้นฐาน ที่จะตอบคาถามได้ว่าตู้เย็นหลังใหม่ควรมีขนาดเท่าใด
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเก็บของในตู้เย็นจะช่วยลด
ความจาเป็นที่จะต้องใช้ตู้เย็นขนาดใหญ่ลงได้ ปริมาณการใช้
ไฟฟ้ าเป็นสัดส่วนโดยตรงกับขนาดของตู้เย็น
การเลือกซื้อตู้เย็น
2. ตู้เย็นที่มีการละลายน้าแข็งอัตโนมัติ จะใช้พลังงาน
มากกว่าตู้เย็นที่ละลายน้าแข็งด้วยการกดปุ่ ม
การเลือกซื้อตู้เย็น
3. ตู้เย็นที่มีเครื่องทาน้าดื่มและน้าแข็งที่สามารถรองรับ
น้าดื่มและน้าแข็งไม่ต้องเปิดประตูตู้เย็นบ่อยครั้งและช่วย
ทาให้อุณหภูมิของพื้นที่ทาความเย็นคงที่สม่าเสมอ แต่
ขณะ เดียวกันตู้เย็นชนิดนี้จะใช้พลังงานไฟฟ้ ามากกว่า
ตู้เย็นที่ไม่มีเครื่องทาน้าเย็นและน้าแข็ง
4. ตู้เย็นเบอร์ 5 มีประสิทธิภาพพลังงานมากกว่าตู้เย็น
เบอร์ 4,3 และเบอร์อื่นๆ ที่น้อยกว่า เลือกซื้อตู้เย็นที่ไม่ใช้
สารประกอบ CFC ในการทาความเย็นเพื่อผลกระทบต่อ
ชั้นโอโซนในบรรยากาศ
การเลือกซื้อตู้เย็น
5. เลือกซื้อตู้เย็นที่มีฉนวนโดยรอบหนาหรือมีฉนวน
ป้ องกันการสูญเสียความเย็นที่มีประสิทธิภาพ
6. เลือกซื้อตู้เย็นสีอ่อน จะทาให้การสะท้อนแสง
ภายในห้องที่ติดตั้งตู้เย็นดีขึ้น ช่วยลดความจาเป็นที่
จะต้องใช้หลอดแสงสว่างมาก
การเลือกซื้อตู้เย็น
การใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสม
1. เลือกติดตั้งตู้เย็นในที่เหมาะสม ไม่ถูกแสงแดด ไม่อยู่
ใกล้เตาประกอบหุงต้มอาหารทุกชนิด อยู่ห่างจากผนัง
โดยรอบพอสมควร เพื่อความสะดวกในการทาความ
สะอาดและระบายความร้อนของตู้เย็น
การใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสม
2. ตู้เย็นที่บรรจุของเต็มจะใช้พลังงานน้อยกว่าตู้เย็นที่
ว่างเปล่าหรือไม่เต็ม ของที่แช่อยู่ในช่องแช่แข็งที่เต็มจะ
ช่วยทาให้อุณหภูมิของตู้เย็นกลับสูงสู่สภาวะปกติได้เร็ว
ภายหลังจากการเปิดประตูตู้เย็นแต่ละครั้ง
การใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสม
3. จัดการกับตู้เย็นเก่า ภายหลังจากการติดตั้งตู้เย็นหลัง
ใหม่แล้วอย่างเหมาะสม การเก็บรักษาและใช้ตู้เย็นเก่าที่
ไม่มีประสิทธิภาพเป็นตู้เย็นสารอง จะทาให้การใช้ตู้เย็น
ใหม่ที่มีประสิทธิภาพ แต่ไม่ได้ช่วยลดการใช้พลังงาน
ใดๆ เพียงแต่ช่วยเพิ่มเนื้อที่ในการเก็บมากขึ้นเท่านั้น
4. การดูดฝุ่ นทาความสะอาดด้านหลังตู้เย็นสม่าเสมอ
จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการทางานของตู้เย็นได้มาก
5. ตรวจสอบและทาความสะอาดยางของประตูตู้เย็น
สม่าเสมอ และบารุงรักษาให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี ปิดได้
สนิท ทดสอบโดยใช้ธนบัตรหรือกระดาษวางในตาแหน่ง
ต่างๆ ระหว่างยางขอบประตูกับตู้เย็นแล้วปิดประตูตู้เย็น
จากนั้นค่อยๆ ดึงธนบัตรหรือกระดาษออก ถ้าดึงออกได้
โดยง่ายแสดงว่าความเย็นภายในตู้เย็นรั่วไหล การปรับตั้ง
ประตูหรือยางขอบประตู อาจช่วยให้การรั่วไหลของความ
เย็นลดลงได้
การใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสม
6. คลุมอาหารหรือของที่แช่ในตู้เย็นที่มีความชื้นก่อน
แช่ในตู้เย็น อาหารเปียกชื้นจะทาให้คอมเพรสเซอร์
ทางานหนักขึ้น
การใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสม
7. หมั่นละลายน้าแข็งสม่าเสมอ เมื่อมีการสะสมน้าแข็ง
มากเกินกว่าเครื่องหมายแสดงในตู้เย็น(ปุ่ มแดง หรือ
สัญลักษณ์อื่น)
8. ปล่อยให้อาหารร้อนเย็นตัวลงภายนอกตู้เย็น ก่อน
นาเข้าเก็บไว้ใน ตู้เย็น
การใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสม
9. ตรวจสอบและติดตั้งการทาความเย็นของตู้เย็นให้อยู่ที่
ระดับความเหมาะสม คือในพื้นที่แช่เย็นทั่วไปที่อุณหภูมิ
3 – 5 องศาเซลเซียส และที่ช่องแช่แข็งที่อุณหภูมิ10 ถึง
15 องศาเซลเซียส การตรวจวัดอาจต้องใช้เทอร์โมมิเตอร์
เนื่องจากตู้เย็นโดยทั่วไปจะไม่บอกอุณหภูมิภายในตู้เย็น
10. เก็บสิ่งของหรืออาหารที่ต้องการใช้บ่อยในพื้นที่ใกล้
มือภายในตู้เย็น เพื่อความสะดวกในการหยิบใช้ และการ
แสดงชื่อหรือเครื่องหมายบนอาหารที่เก็บในตู้เย็นอย่าง
ชัดเจนและหาง่ายจะช่วยลดเวลาในการเปิดหาของใน
ตู้เย็น
การใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสม
การเลือกซื้อและใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้าน
(สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
การเลือกเครื่องซักผ้า
1. เครื่องซักผ้าที่ใส่ผ้าด้านข้างจะใช้พลังงานในการซัก
น้อยกว่าเครื่องซักผ้าที่ใส่ผ้าด้านบนถึง ร้อยละ 70
การเลือกเครื่องซักผ้า
2. เครื่องซักผ้าที่สามารถปรับปริมาณน้าและผงซักฟอก
ได้ตามปริมาณผ้าที่ใส่เพื่อซัก
3. เครื่องซักผ้าที่ตั้งอุณหภูมิระดับต่าง ๆ ได้ จะช่วยใน
การเลือกอุณหภูมิของน้าสาหรับการซักผ้าชนิดต่างๆ
สอดคล้องกันมากขึ้น และช่วยลดการใช้พลังงาน
การเลือกเครื่องซักผ้า
4. การปั่นที่ความเร็วสูงภายหลังการซักจะช่วยสลัดน้า
ออกจากผ้าได้มากและใช้เวลาในการทาให้ผ้าแห้งลด
น้อยลง
การใช้เครื่องซักผ้าอย่างเหมาะสม
1. ใช้น้าร้อนเฉพาะกรณีที่ผ้ามีการเปื้อนมาก และเมื่อ
ต้องการสุขอนามัยมากเท่านั้น
การใช้เครื่องซักผ้าอย่างเหมาะสม
2. ผงซักฟอกที่ละลายในน้าเย็นจะช่วยลดความจาเป็น
ที่จะต้องใช้น้าร้อนในการซักผ้าได้สะอาดเท่ากับการซัก
ในน้าร้อน
3. แช่ และชาระล้างคราบสกปรกมากบนผ้าก่อนซัก
เครื่อง
การใช้เครื่องซักผ้าอย่างเหมาะสม
4. ทาความสะอาดขุยผ้าและเส้นใยที่ตะแกรงกรอง
ภายหลังการซักทุกครั้ง
5. ซักผ้าเมื่อมีปริมาณผ้าเต็มปริมาณที่เครื่องกาหนด ใน
การซักแต่ละครั้ง
การใช้เครื่องซักผ้าอย่างเหมาะสม
6. ไม่ใช้ผงซักฟอกมากเกินความจาเป็น ผงซักฟอก
ที่มากเกินความจาเป็นจะทาให้เครื่องทางานหนักขึ้นและ
ใช้พลังงานมากขึ้น
7. เลือกตากผ้า แห้งโดยใช้ แสงแดด แทนการปั่นและอบ
ผ้า แห้งด้วยไฟฟ้ า
1. การใช้น้าเย็นในการชาระล้างภาชนะแทนการใช้น้า
ร้อน จะช่วยลดการใช้พลังงานในการทาน้าให้ร้อน เมื่อ
ต้องการล้างภาชนะหุงต้มหรือภาชนะรองรับอาหาร ซึ่ง
การล้างด้วยน้าเย็นจะสามารถกาจัดคราบ ไขมันได้
ดีกว่าการล้างด้วยน้าร้อนไขมันจะจับตัวกันได้ดีในน้า
เย็นและสามารถล้างออกได้โดยง่าย
การหุงต้มที่มีประสิทธิภาพ
2. เมื่อมีการต้มของเหลวทุกชนิด ควรปิดฝาภาชนะหุง
ต้มให้มิดชิด
การหุงต้มที่มีประสิทธิภาพ
3. เลือกใช้กระทะหรือหม้อไฟฟ้ าขนาดเล็ก สาหรับการ
หุงต้มปริมาณน้อยแทนการใช้หัวเตาหุงต้มที่มีขนาดใหญ่
4. เมื่อหุงต้มถังเตาแก๊สไม่ควรปล่อยให้มีเปลวไฟลุกสูง
เกินความจาเป็น
5. เมื่อการใช้เตาอบ ควรอบอาหารหลายอย่างพร้อมกัน
เตรียมเตาอบในช่วงเวลาไม่เกิน 5 นาที และปิดเตาอบ 10
นาทีล่วงหน้าเพื่อให้ความร้อนที่สะสมในเตาอบช่วยทาให้
อาหารสุกตามต้องการ
การหุงต้มที่มีประสิทธิภาพ
6. รักษาความสะอาดบริเวณหัวเตาและพื้นผิวสัมผัสกับ
ภาชนะหุงต้มเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพพลังงานสูงสุด
7. เลือกภาชนะหุงต้มที่สอดคล้องกับขนาดของหัวเตา
ในการหุงต้มอาหาร
การหุงต้มที่มีประสิทธิภาพ
8. เลือกใช้เตาไมโครเวฟให้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถทา
ได้ โดยเฉพาะปริมาณไม่มากและต้องการความรวดเร็ว
เช่น การอุ่นอาหารควรต้มเดือดปริมาณน้อย ซึ่งจะช่วย
ลดการใช้พลังงานได้มาก

More Related Content

Similar to Lesson 5

ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
Natnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่ 9 16 46
ใบงานที่  9 16 46ใบงานที่  9 16 46
ใบงานที่ 9 16 46
Gee GameKub
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
Nattawoot Boonmee
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
Aon NP
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
ออร์คิด คุง
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัย
Enooann Love
 
บังต่อ
บังต่อบังต่อ
บังต่อ
Ekapong Tor
 
ใบงานที่ 9 16 ภ
ใบงานที่ 9 16 ภใบงานที่ 9 16 ภ
ใบงานที่ 9 16 ภ
Noonnu Ka-noon
 
ใบงานท 9-16
ใบงานท    9-16ใบงานท    9-16
ใบงานท 9-16
Jp Eternally
 

Similar to Lesson 5 (20)

09คอม
09คอม09คอม
09คอม
 
K9
K9K9
K9
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
ใบงาน9 16
ใบงาน9 16ใบงาน9 16
ใบงาน9 16
 
งานที่ 9
งานที่ 9งานที่ 9
งานที่ 9
 
ใบงาน9 16
ใบงาน9 16ใบงาน9 16
ใบงาน9 16
 
ใบงานที่ 9 16 46
ใบงานที่  9 16 46ใบงานที่  9 16 46
ใบงานที่ 9 16 46
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
09
0909
09
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัย
 
บังต่อ
บังต่อบังต่อ
บังต่อ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบงานที่ 9 16 ภ
ใบงานที่ 9 16 ภใบงานที่ 9 16 ภ
ใบงานที่ 9 16 ภ
 
ใบงานท 9-16
ใบงานท    9-16ใบงานท    9-16
ใบงานท 9-16
 

More from pattanan sabumoung

More from pattanan sabumoung (20)

Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5
 
เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4
 
เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3
 
เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2
 
เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1
 
เนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressedเนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressed
 
เนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressedเนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressed
 
เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2
 
เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1
 
เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3
 
เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2
 

Lesson 5