SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
3000-1314
หน่วยที่ 1
วิทยาศาสตร์และกระบวนการแสวงหาความรู้
วิทยาศาสตร์
คําว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์
นั้น มาจากภาษาลาติน คําว่า scientia ซึ่งหมายความว่า
ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้น
วิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนํามาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่างๆ
ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ
ความหมายของเทคโนโลยี
"Technology" ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า "Technologia" แปลว่า การ
กระทําที่มีระบบ อย่างไรก็ตามคําว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กับคําว่า
วิทยาศาสตร์ โดยเรียกรวม ๆ ว่า "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"
พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 406) ได้ให้ความหมาย
ของเทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนําเอาวิทยาศาสตร์
ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์เป็นตัวความรู้ ส่วนเทคโนโลยีนั้นเป็นการนําความรู้ไปใช้
ในทางปฏิบัติให้เกิดสิ่งที่เป็นรูปธรรมได้ วัดได้หรือจับต้องได้ โดยการนํา
ทรัพยากรธรรมชาติ ต่าง ๆ มาใช้ในทางปฏิบัติ
สรุปได้ว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะไม่มีคุณค่าถ้าหากปราศจาก
เทคโนโลยีมาเชื่อมโยง และเทคโนโลยีที่ปราศจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เป็นพื้นฐานก็ไม่สามารถจะนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสูงสุด
วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์
วิถีชีวิตจิตใจของคนที่นิยมเหตุผล มองสิ่งต่างๆโดยใช้ปัญญา
ชอบพิสูจน์ ทดสอบหาความจริง
* สิ่งสําคัญคือ ความใฝ่รู้ การรู้จักใช้เหตุผล ใช้วิจารณญาณ
ไม่หลงเชื่อสิ่งใดโดยง่าย
: วิถีชีวิตที่มีความชื่นชม ให้ความสําคัญกับเทคโนโลยี ซึ่ง
เป็นเครื่องอํานวยความสะดวกในการดําเนินชีวิต
วัฒนธรรม
เทคโนโลยี
ปรัชญาทางวิทยาศาสตร์
• อุดมการณ์ในการแสวงหาความรู้จากธรรมชาติ
• ธรรมชาติเป็นสิ่งที่ดําเนินไปอย่างมีระบบ มีกลไกการทํางาน
ต่อเนื่อง มีความสัมพันธ์กัน ทุกอย่างเป็นไปตามกฎของเหตุ และ
ผล มนุษย์จึงสามารถหากฎเกณฑ์ได้
• นักวิทยาศาสตร์มีความเชื่อมั่นในผลของการค้นพบ และสามารถ
สรุปเป็นหลักสากลได้
• นักวิทยาศาสตร์เกิดความสงสัยไม่สิ้นสุด จึงพยายามแสวงหาความรู้
ตลอด
ขอบเขตและข้อจํากัดของวิทยาศาสตร์
• สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่รู้จําเป็นต้องศึกษาค้นคว้าต่อไป
• วิทยาศาสตร์ ไม่อาจอธิบาย “ศรัทธา ความเชื่อ ความดี ความชั่ว”
• วิทยาศาสตร์ ไม่อาจอธิบาย “ความงาม สุนทรียะ จริยศาสตร์ เทว
วิทยาและศาสนา”
• ความรู้วิทยาศาสตร์จํากัดตัวเองอยู่ที่วิธีการค้นคว้าเครื่องมือและ
เทคโนโลยีที่มีอยู่
• ความไม่สมบูรณ์ของความรู้จํากัดตัวเองที่รายละเอียดที่จะสรุปเป็น
ตัวความรู้
• มนุษย์นําความรู้เท่าที่รู้มาสร้างสรรค์เทคโนโลยี
ขอบเขตและข้อจํากัดของวิทยาศาสตร์(ต่อ)
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
ความหมาย : บุคลิกภาพของบุคคลที่มีความใฝ่ รู้ มีเหตุผล มีการคิดการมอง
สิ่งต่างๆ อย่างฉลาด ชอบพิสูจน์ ทดสอบหาความจริง ต้องการรู้ความจริง
ของธรรมชาติ การดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุมีผล
ลักษณะของผู้มีเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์
1. ชอบแสวงหาความรู้ ช่างสังเกต กระตือรือร้น
2. มีความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่รับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างมีประสิทธิภาพ
3. รู้จักมอง รู้จักคิด พยายามเข้าถึงความจริง แยกแยะเหตุและผลได้
4. รู้จักคิด จัดการ ทํากิจกรรมต่างๆให้สําเร็จ ทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ มี
ความอดทนและรับผิดชอบ
5. สามารถแสวงหา คัดเลือก จัดกลุ่ม จัดระบบความรู้ ความคิดได้
ชัดเจน นําความรู้ที่มีและความรู้ใหม่ใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
6. รู้เท่าทันสิ่งต่างๆ ความเป็นไปในชีวิตและธรรมชาติ
ลักษณะของผู้มีเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์(ต่อ)
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
• ด้านความสะดวกสบาย การคมนาคม การสื่อสาร การดํารงชีวิต
• ความสมบูรณ์ ความสุข อํานวยสิ่งต่างๆให้พัฒนา
• เทคโนโลยีชีวภาพ ช่วยให้เกิดการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์
เพื่อความทนทานในการดํารงชีวิต
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
• ความรู้ด้านพลังงานนิวเคลียร์เชิงบวก
• ความรู้เรื่องเทคโนโลยีอวกาศ เพื่อการค้นคว้าทดลอง
• พัฒนาอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ สังคม

More Related Content

More from pattanan sabumoung

เนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressedเนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressedpattanan sabumoung
 
เนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressedเนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressedpattanan sabumoung
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายpattanan sabumoung
 
บทที่ 3 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
บทที่  3  องค์ประกอบของระบบสารสนเทศบทที่  3  องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศpattanan sabumoung
 
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม
บทที่  2  ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคมบทที่  2  ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคมpattanan sabumoung
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆpattanan sabumoung
 

More from pattanan sabumoung (18)

Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5
 
เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4
 
เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3
 
เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2
 
เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1
 
เนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressedเนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressed
 
เนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressedเนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressed
 
เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2
 
เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1
 
เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3
 
เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2
 
เนื้อหา 1.1
เนื้อหา 1.1เนื้อหา 1.1
เนื้อหา 1.1
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302
 
บทที่ 3 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
บทที่  3  องค์ประกอบของระบบสารสนเทศบทที่  3  องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม
บทที่  2  ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคมบทที่  2  ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม
 
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆบทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
บทที่ 1 สารสนเทศเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
 

Lesson 1