SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาสุนัขจรจัด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว ภัสสราภา ขัดทา เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาว ภัสสราภา ขัดทา เลขที่ 13
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาสุนัขจรจัด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Problems with stray dogs
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ภัสสราภา ขัดทา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จากสภาวการณ์ปัจจุบัน ปัญหาเกี่ยวกับสัตว์จรจัด โดยเฉพาะสุนัขจรจัดนับเป็นปัญหาที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่าง
จริงจังจากผู้ที่มีความรับผิดชอบ อีกทั้งคนในสังคมต่างละเลยปัญหานี้เนื่องจากเห็นว่าเป็นปัญหาที่มิได้เป็นผลกระทบ
โดยตรงต่อสาธารณสุขและความปลอดภัยของพวกเขา แต่แท้จริงแล้วปัญหาสุนัขจรจัดถือเป็นปัญหาที่มีต้นเหตุมาจาก
สมาชิกในสังคมและก่อให้เกิดปัญหาโดยรวม ทั้งนี้เพราะสุนัขเร่ร่อนเหล่านั้นล้วนเคยเป็นสัตว์เลี้ยงที่มีผู้เอาใจใส่ดูแลมา
ก่อน หากแต่ต่อมาเมื่อเจ้าของมีเหตุจาเป็นที่ไม่สามารถรับผิดชอบสัตว์เลี้ยงของตนเองได้ เช่น สุนัขคลอดลูก สุนัขป่วย
สุนัขพิการ หรือซื้อสุนัขมาเพราะความน่ารักพอสุนัขเริ่มโตก็กลับนาไปปล่อยให้เป็นสุนัขเร่ร่อน เมื่อมีสุนัขจรจัดมากขึ้น
ได้กลายเป็นแหล่งรวมเชื่อโรคต่างๆ นาไปสู้ปัญหาสาธารณสุข หากถูกสุนัขจรจัดเหล่านั้นกัด ก่อให้เกิดความไม่
ปลอดภัยในพื้นที่มีสุนัขจรจัดอยู่รวมกันเป็นจานวนมาก คนในสังคมในบางกลุ่มได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และได้
ดาเนินการรับเลี้ยงสุนัขจรจัด มีการให้วัคซีนป้องกันโรคต่างๆ การทาหมัน และจากัดบริเวณที่อยู่อาศัยของสุนัขจรจัด
ทาให้ปัญหาทางสาธารณะสุขในด้านการแพร่ขยายของเชื้อโรคและปัญหาความปลอดภัยในวงที่จากัดยิ่งขึ้น และการ
ดาเนินงานของคนในสังคมเหล่านี้ก็ไม่ได้รับการสนับสนุนของภาครัฐและเอกชนเท่าใดนัก ทาให้สภาพชีวิตของพวกเขา
อยู่ในสภาพที่ลาบาก ต้องแบกภาระทางการเงินเพื่อดูแลสุนัขจรจัดจานวนมาก รวมทั้งในส่วนที่อยู่อาศัยของพวกเขาก็
มีสภาพไม่เป็นไปตามสุขลักษณะที่ดีด้วยการตระหนักปัญหาดังกล่าวดิฉันจึงได้จัดทาโครงงานเรื่องปัญหาสุนัขจรจัด ใน
3
การร่วมมีส่วนช่วยเหลือด้านการให้ความรู้ไม่มากก็น้อยในเรื่องสุนัขจรจัด และรณรงค์เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการทิ้งสุนัข
ให้กลายเป็นสุนัขจรจัด
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาสุนัขจรจัด
2.เพื่อศึกษายอดสถิติของสุนัขจรจัดที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี
3.เพื่อศึกษาวิธีแก้ปัญหาของปัญหาสุนัขจรจัด
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาข้อมูลเรื่องปัญหาสุนัขจรจัดจากแหล่งข้อมูลต่างๆ คือ เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต และ หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-สาเหตุของปัญหา
-ปริมาณสุนัขจรจัดในปัจจุบัน
-วิธีป้องกันปัญหา
-การแก้ปัญหาสุนัขจรจัด
หลักการและทฤษฎี
การเกิดของสุนัขจรจัดในสังคมไทย
1.โดยอุบัติเหตุ เช่น พลัด หลง หลุดจากบ้านแล้วกลับไม่ถูกหรือหลงระเริงไปจนไม่กลับบ้าน มักพบกับสุนัข
เพศผู้หนุ่มๆ แตกพานออกไปติดสุนัขเพศเมีย ฯลฯ รวมถึงพวกที่เลี้ยงสุนัขแบบปล่อยสะเปะ สะปะ เจ้าของมีหน้าที่ให้
อาหารอย่างเดียว ไม่ได้ดูดาดูดีว่าสุนัขของตนจะออกไปทาอะไรที่ไหน ฯลฯ
2.โดยเจ้าของ ประเภทนี้เป็นความตั้งใจที่จะนาสุนัขออกจากบ้าน โดยตัวเจ้าของสุนัขเอง ทาให้เกิดเหตุเทวดา
ตกสวรรค์ขึ้น อันมีสาเหตุจาก
- สุนัขไม่ได้สวยน่ารักดั่งใจนึก เช่น ขี้เหร่ มีตาหนิ ผิดพันธุ์ ฯลฯ คลาดเคลื่อนจากความหวังเมื่อซื้อมาขณะเป็นลูกสุนัข
-เจ็บไข้ได้ป่วย เบื่อการรักษาเยียวยา ภาระและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ยิ่งยุคปัจจุบัน ด้วยแล้ว เจ้าของเองยังเอาตัวไม่รอด
เลย
-นิสัยไม่เหมาะสม มักพบว่าเป็นสุนัขดุอันตรายเลี้ยงไม่ไหว จาเป็นต้องโละทิ้งไป
-ประชากรสุนัขล้นบ้าน ท่านที่ลืมวางแผนครอบครัวสุนัขในบ้านเผลอแผลบเดียวขยายพันธุ์จนล้นหลาม เกินกว่าจะ
เลี้ยงดูไหว ทาให้ต้องจัดการขับออกไปเป็นสุนัขจรจัด
ปัญหา จึงเกิดขึ้นมากมายในทุกพื้นที่ทาให้เราทุกคนนั้นรู้ปัญหาร่วมกันจึงต้องการ ให้คนอยู่ในบริเวณคอนโด
เมืองเอกช่วยกันแก้ไขหาข้อยุติในการโต้แย้งได้
4
ผลสารวจ คนกทม. 76.1% สุนัข-แมวจรจัด เป็นปัญหาสังคมที่ต้องเร่งแก้ไข
ศูนย์สารวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ได้ดาเนินโครงการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสุนัข-แมวจรจัด โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่างจากประชาชนที่อาศัย
อยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จานวนทั้งสิ้น 1,207 กลุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลในวันที่ 22 - 25 เมษายน 2562 ซึ่งกลุ่ม
ตัวอย่างในการสารวจครั้งนี้ใช้เกณฑ์ตารางสาเร็จรูปของ Taro Yamane กาหนดว่าประชากรเกิน 100,000 คน
ต้องการความเชื่อมั่น 95% และความผิดพลาดไม่เกิน 3% ต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 1,111 กลุ่มตัวอย่าง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิงห์ สิงห์ขจร ประธานคณะกรรมการศูนย์สารวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ กล่าวว่า ผล
การสารวจในครั้งนี้ต่อปัญหาสุนัข-แมวจรจัด เนื่องจากปัจจุบันตัวเลขจานวนสุนัขจรจัดในพื้นที่กรุงเทพมหานครจาก
กรมปศุสัตว์ มีจานวนประมาณ 140,000-150,000 ตัว ซึ่งศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดของกรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของ
ศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดประเวศ และศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดทัพทัน จ.อุทัยธานี สามารถรองรับสุนัขจรจัดได้ประมาณ
10,000 ตัว เมื่อเทียบกับปัญหาจานวนสุนัขจรจัดที่มีจานวนกว่า 150,000 ตัว กทม. ไม่มีพื้นที่สาหรับรองรับได้
ทั้งหมดเพื่อเป็นการแก้ปัญหาในระยะยาว และกรมควบคุมโรค รายงานสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าในปี 2562 มีการ
รายงานพบผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้า 1 ราย เป็นเพศชาย อายุ 32 ปี ที่จังหวัดสุรินทร์ ผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการพบว่าติดเชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า ผู้เสียชีวิตมีประวัติถูกสุนัขจรจัดกัด ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2561
แต่ไม่ได้พบแพทย์เพื่อรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งผู้เสียชีวิตรายดังกล่าวถือเป็นผู้เสียชีวิตรายแรกของปี 2562
ในช่วงที่ผ่านมามีการถกเถียงในประเด็นปัญหาสุนัข-แมวจรจัด ว่าจะมีการแก้ไขอย่างไร โดยเฉพาะประเด็นเรื่องผู้เลี้ยง
จะต้องมีความรับผิดชอบต่อสัตว์เลี้ยงของตนเอง การขึ้นทะเบียนสุนัข-แมว การเก็บภาษีสัตว์เลี้ยง รวมไปถึงประเด็น
แนวทางการจากัดสุนัข-แมวจรจัดที่ไม่มีเจ้าของทิ้ง ความคิดเห็นของประชาชนต่อปัญหาสุนัข-แมวจรจัด โดยมีข้อมูลที่
น่าสนใจดังต่อไปนี้
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คิดว่าสุนัข-แมวจรจัด เป็นปัญหาสังคมที่ต้องเร่งแก้ไข ร้อยละ 76.1 และเคยพบเห็น
สุนัข-แมวจรจัด ในบริเวณที่อยู่อาศัย ร้อยละ 87.6
คิดว่าสุนัข-แมวจรจัด จะเป็นอันตรายต่อตนเองและครอบครัว ร้อยละ 42.8 และคิดว่าปัญหาสุนัข-แมวจรจัดเกิดจาก
ความมักง่ายของผู้เลี้ยง ร้อยละ 74.1
ทราบว่าผู้ที่นาสัตว์เลี้ยงมาปล่อยทิ้งหรือไม่รักษาความสะอาด หรือปล่อยให้ก่อความเดือดร้อนราคาญแก่ชุมชน ผู้เป็น
เจ้าของจะถูกปรับ 5,000 บาท กฎหมาย ร้อยละ 42.7 และอยากให้ผู้ที่ให้อาหารสุนัข-แมวจรจัด ที่ไม่ได้เลี้ยงดูอย่าง
ใกล้ชิด หยุดพฤติกรรม ร้อยละ 47.9
5
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยากให้หน่วยงานภาครัฐมีกระบวนการนาสุนัข-แมวจรจัดไปดูแลในสถานที่ที่เหมาะสม ร้อยละ
84.2
อยากให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ร้อยละ 83.6 และ
เห็นด้วยกับการที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด ร้อยละ 78.0
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยในการที่หน่วยงานภาครัฐมีการขึ้นทะเบียนสุนัข-แมว โดยผู้เลี้ยงจะต้องมีความ
รับผิดชอบต่อสัตว์เลี้ยงของตนเอง ร้อยละ 78.0
รายละเอียดของการสารวจความคิดเห็นกับเกี่ยวกับปัญหาสุนัข-แมวจรจัด
1. ท่านเคยพบเห็นสุนัข-แมวจรจัด ในบริเวณที่ท่านอยู่อาศัยหรือไม่
เคย ร้อยละ 87.6
ไม่เคย ร้อยละ 8.0
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 4.4
2. ท่านคิดว่าสุนัข-แมวจรจัดเป็นปัญหาสังคมที่ต้องเร่งแก้ไข ใช่หรือไม่
ใช่ ร้อยละ 76.1
ไม่ใช่ ร้อยละ 11.3
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 12.6
3. ท่านคิดว่าสุนัข-แมวจรจัด จะเป็นอันตรายต่อท่านและครอบครัว หรือไม่
เป็นอันตราย ร้อยละ 42.8
ไม่เป็นอันตราย ร้อยละ 44.7
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 12.6
4. ท่านคิดว่าปัญหาสุนัข-แมวจรจัดเกิดจากความมักง่ายของผู้เลี้ยงใช่ หรือไม่
ใช่ ร้อยละ 74.1
ไม่ใช่ ร้อยละ 13.1
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 12.8
5. ท่านทราบหรือไม่ว่า ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ผู้ที่นาสัตว์เลี้ยงมาปล่อยทิ้งหรือไม่รักษาความ
สะอาด หรือปล่อยให้ก่อความเดือดร้อนราคาญแก่ชุมชน ผู้เป็นเจ้าของจะถูกปรับ 5,000 บาท
ทราบ ร้อยละ 42.7
ไม่ทราบ ร้อยละ 37.7
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 19.6
6. ท่านอยากให้ผู้ที่ให้อาหารสุนัข-แมวจรจัด ที่ไม่ได้เลี้ยงดูอย่างใกล้ชิด หยุดพฤติกรรมหรือไม่
อยาก ร้อยละ 47.9
ไม่อยาก ร้อยละ 33.7
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 18.4
7. ท่านอยากให้หน่วยงานภาครัฐมีกระบวนการนาสุนัข-แมวจรจัดไปดูแลในสถานที่ที่เหมาะสมหรือไม่
อยาก ร้อยละ 84.2
6
ไม่อยาก ร้อยละ 6.9
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 8.9
8. ท่านอยากให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด เพื่อความปลอดภัยของประชาชน หรือไม่
อยาก ร้อยละ 83.6
ไม่อยาก ร้อยละ 7.0
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 9.4
9. ท่านเห็นด้วยหรือไม่ การที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด
เห็นด้วย ร้อยละ 78.0
ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 10.1
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 11.9
10. ท่านเห็นด้วยหรือไม่หากหน่วยงานภาครัฐมีการขึ้นทะเบียนสุนัข-แมว โดยผู้เลี้ยงจะต้องมีความรับผิดชอบต่อสัตว์
เลี้ยงของตนเอง
เห็นด้วย ร้อยละ 72.6
ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 15.9
ไม่แน่ใจ ร้อยละ 11.5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุของการทิ้งสุนัข
2. สารวจสถิติของจานวนสุนัขจรจัดในแต่ละปี และแนวโน้มในอนาคตในการเพิ่มขึ้นหรือ ลดลง
3.สารวจความคิดเห็นของคนในเมืองว่าคิดอย่างไรกับสุนัขจรจัด
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. โทรศัพท์มือถือ
2. คอมพิวเตอร์
3. อินเทอร์เน็ต
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ภัสสราภา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ภัสสราภา
3 จัดทาโครงร่างงาน ภัสสราภา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ภัสสราภา
5 ปรับปรุงทดสอบ ภัสสราภา
6 การทาเอกสารรายงาน ภัสสราภา
7 ประเมินผลงาน ภัสสราภา
8 นาเสนอโครงงาน ภัสสราภา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ทราบสาเหตุและการแก้ปัญหาสุนัขจรจัด และได้ทราบความคิดเห็นของคนในเมืองว่าคิดอย่างไรกับสุนัขจรจัดมีวิธี
ปฏิบัติอย่างไรกับสุนัขเหล่านี้และได้ทราบสถิติของจานวนสุนัขจรจัดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในแต่ละปี
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และที่บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนาธรรม
แหล่งอ้างอิง
Peeraya.(2561).ปัญหาสุนัขจรจัด[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/560410081chutarat/payha-sunakh-ni-sangkhm-thiy/ crcad. (วันที่ค้น
ข้อมูล 31 กันยายน 2562).
อินทรชัย พาณิชกุล.(2558).วิกฤตสุนัขจรจัด [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก
https://www.posttoday.com/politic/report/383721. (วันที่ค้นข้อมูล 31 กันยายน 2562).
8
ศูนย์สำรวจควำมคิดเห็นบ้ำนสมเด็จโพลล์ สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏบ้ำนสมเด็จ
เจ้ำพระยำ.(2562).โครงการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสุนัข-แมวจรจัด[ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก
https://www.thairath.co.th/news/local/1555731.(วันที่ค้นข้อมูล 31 กันยายน 2562).

More Related Content

Similar to activity 1: COMPUTER PROJECT

ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kansiri Sai-ud
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
Nuttawat Sawangrat
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
Ploy Gntnd
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Permtrakul Khammoon
 

Similar to activity 1: COMPUTER PROJECT (20)

Work.1
Work.1Work.1
Work.1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัขโครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
โครงร่างโครงงานพฤติกรรมสุนัข
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
 
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6  ปี  2556
แบบทดสอบวัดผลสำเร็จทางการเรียน O net ม.6 ปี 2556
 
Thiraphat60305
Thiraphat60305Thiraphat60305
Thiraphat60305
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
Corn Snake
Corn SnakeCorn Snake
Corn Snake
 
โครงงาน เลขที่-4-8 คู่
โครงงาน เลขที่-4-8 คู่โครงงาน เลขที่-4-8 คู่
โครงงาน เลขที่-4-8 คู่
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 
แมวววววว
แมววววววแมวววววว
แมวววววว
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
at1
at1at1
at1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
2560 project 55
2560 project 552560 project 55
2560 project 55
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

activity 1: COMPUTER PROJECT

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาสุนัขจรจัด ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว ภัสสราภา ขัดทา เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาว ภัสสราภา ขัดทา เลขที่ 13 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาสุนัขจรจัด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Problems with stray dogs ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ภัสสราภา ขัดทา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน จากสภาวการณ์ปัจจุบัน ปัญหาเกี่ยวกับสัตว์จรจัด โดยเฉพาะสุนัขจรจัดนับเป็นปัญหาที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่าง จริงจังจากผู้ที่มีความรับผิดชอบ อีกทั้งคนในสังคมต่างละเลยปัญหานี้เนื่องจากเห็นว่าเป็นปัญหาที่มิได้เป็นผลกระทบ โดยตรงต่อสาธารณสุขและความปลอดภัยของพวกเขา แต่แท้จริงแล้วปัญหาสุนัขจรจัดถือเป็นปัญหาที่มีต้นเหตุมาจาก สมาชิกในสังคมและก่อให้เกิดปัญหาโดยรวม ทั้งนี้เพราะสุนัขเร่ร่อนเหล่านั้นล้วนเคยเป็นสัตว์เลี้ยงที่มีผู้เอาใจใส่ดูแลมา ก่อน หากแต่ต่อมาเมื่อเจ้าของมีเหตุจาเป็นที่ไม่สามารถรับผิดชอบสัตว์เลี้ยงของตนเองได้ เช่น สุนัขคลอดลูก สุนัขป่วย สุนัขพิการ หรือซื้อสุนัขมาเพราะความน่ารักพอสุนัขเริ่มโตก็กลับนาไปปล่อยให้เป็นสุนัขเร่ร่อน เมื่อมีสุนัขจรจัดมากขึ้น ได้กลายเป็นแหล่งรวมเชื่อโรคต่างๆ นาไปสู้ปัญหาสาธารณสุข หากถูกสุนัขจรจัดเหล่านั้นกัด ก่อให้เกิดความไม่ ปลอดภัยในพื้นที่มีสุนัขจรจัดอยู่รวมกันเป็นจานวนมาก คนในสังคมในบางกลุ่มได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และได้ ดาเนินการรับเลี้ยงสุนัขจรจัด มีการให้วัคซีนป้องกันโรคต่างๆ การทาหมัน และจากัดบริเวณที่อยู่อาศัยของสุนัขจรจัด ทาให้ปัญหาทางสาธารณะสุขในด้านการแพร่ขยายของเชื้อโรคและปัญหาความปลอดภัยในวงที่จากัดยิ่งขึ้น และการ ดาเนินงานของคนในสังคมเหล่านี้ก็ไม่ได้รับการสนับสนุนของภาครัฐและเอกชนเท่าใดนัก ทาให้สภาพชีวิตของพวกเขา อยู่ในสภาพที่ลาบาก ต้องแบกภาระทางการเงินเพื่อดูแลสุนัขจรจัดจานวนมาก รวมทั้งในส่วนที่อยู่อาศัยของพวกเขาก็ มีสภาพไม่เป็นไปตามสุขลักษณะที่ดีด้วยการตระหนักปัญหาดังกล่าวดิฉันจึงได้จัดทาโครงงานเรื่องปัญหาสุนัขจรจัด ใน
  • 3. 3 การร่วมมีส่วนช่วยเหลือด้านการให้ความรู้ไม่มากก็น้อยในเรื่องสุนัขจรจัด และรณรงค์เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการทิ้งสุนัข ให้กลายเป็นสุนัขจรจัด วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาสุนัขจรจัด 2.เพื่อศึกษายอดสถิติของสุนัขจรจัดที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี 3.เพื่อศึกษาวิธีแก้ปัญหาของปัญหาสุนัขจรจัด ขอบเขตโครงงาน ศึกษาข้อมูลเรื่องปัญหาสุนัขจรจัดจากแหล่งข้อมูลต่างๆ คือ เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต และ หนังสือที่เกี่ยวข้อง -สาเหตุของปัญหา -ปริมาณสุนัขจรจัดในปัจจุบัน -วิธีป้องกันปัญหา -การแก้ปัญหาสุนัขจรจัด หลักการและทฤษฎี การเกิดของสุนัขจรจัดในสังคมไทย 1.โดยอุบัติเหตุ เช่น พลัด หลง หลุดจากบ้านแล้วกลับไม่ถูกหรือหลงระเริงไปจนไม่กลับบ้าน มักพบกับสุนัข เพศผู้หนุ่มๆ แตกพานออกไปติดสุนัขเพศเมีย ฯลฯ รวมถึงพวกที่เลี้ยงสุนัขแบบปล่อยสะเปะ สะปะ เจ้าของมีหน้าที่ให้ อาหารอย่างเดียว ไม่ได้ดูดาดูดีว่าสุนัขของตนจะออกไปทาอะไรที่ไหน ฯลฯ 2.โดยเจ้าของ ประเภทนี้เป็นความตั้งใจที่จะนาสุนัขออกจากบ้าน โดยตัวเจ้าของสุนัขเอง ทาให้เกิดเหตุเทวดา ตกสวรรค์ขึ้น อันมีสาเหตุจาก - สุนัขไม่ได้สวยน่ารักดั่งใจนึก เช่น ขี้เหร่ มีตาหนิ ผิดพันธุ์ ฯลฯ คลาดเคลื่อนจากความหวังเมื่อซื้อมาขณะเป็นลูกสุนัข -เจ็บไข้ได้ป่วย เบื่อการรักษาเยียวยา ภาระและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ยิ่งยุคปัจจุบัน ด้วยแล้ว เจ้าของเองยังเอาตัวไม่รอด เลย -นิสัยไม่เหมาะสม มักพบว่าเป็นสุนัขดุอันตรายเลี้ยงไม่ไหว จาเป็นต้องโละทิ้งไป -ประชากรสุนัขล้นบ้าน ท่านที่ลืมวางแผนครอบครัวสุนัขในบ้านเผลอแผลบเดียวขยายพันธุ์จนล้นหลาม เกินกว่าจะ เลี้ยงดูไหว ทาให้ต้องจัดการขับออกไปเป็นสุนัขจรจัด ปัญหา จึงเกิดขึ้นมากมายในทุกพื้นที่ทาให้เราทุกคนนั้นรู้ปัญหาร่วมกันจึงต้องการ ให้คนอยู่ในบริเวณคอนโด เมืองเอกช่วยกันแก้ไขหาข้อยุติในการโต้แย้งได้
  • 4. 4 ผลสารวจ คนกทม. 76.1% สุนัข-แมวจรจัด เป็นปัญหาสังคมที่ต้องเร่งแก้ไข ศูนย์สารวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้ดาเนินโครงการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสุนัข-แมวจรจัด โดยเก็บจากกลุ่มตัวอย่างจากประชาชนที่อาศัย อยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จานวนทั้งสิ้น 1,207 กลุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลในวันที่ 22 - 25 เมษายน 2562 ซึ่งกลุ่ม ตัวอย่างในการสารวจครั้งนี้ใช้เกณฑ์ตารางสาเร็จรูปของ Taro Yamane กาหนดว่าประชากรเกิน 100,000 คน ต้องการความเชื่อมั่น 95% และความผิดพลาดไม่เกิน 3% ต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 1,111 กลุ่มตัวอย่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิงห์ สิงห์ขจร ประธานคณะกรรมการศูนย์สารวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ กล่าวว่า ผล การสารวจในครั้งนี้ต่อปัญหาสุนัข-แมวจรจัด เนื่องจากปัจจุบันตัวเลขจานวนสุนัขจรจัดในพื้นที่กรุงเทพมหานครจาก กรมปศุสัตว์ มีจานวนประมาณ 140,000-150,000 ตัว ซึ่งศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดของกรุงเทพมหานคร ทั้งในส่วนของ ศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดประเวศ และศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดทัพทัน จ.อุทัยธานี สามารถรองรับสุนัขจรจัดได้ประมาณ 10,000 ตัว เมื่อเทียบกับปัญหาจานวนสุนัขจรจัดที่มีจานวนกว่า 150,000 ตัว กทม. ไม่มีพื้นที่สาหรับรองรับได้ ทั้งหมดเพื่อเป็นการแก้ปัญหาในระยะยาว และกรมควบคุมโรค รายงานสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าในปี 2562 มีการ รายงานพบผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้า 1 ราย เป็นเพศชาย อายุ 32 ปี ที่จังหวัดสุรินทร์ ผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการพบว่าติดเชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า ผู้เสียชีวิตมีประวัติถูกสุนัขจรจัดกัด ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2561 แต่ไม่ได้พบแพทย์เพื่อรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งผู้เสียชีวิตรายดังกล่าวถือเป็นผู้เสียชีวิตรายแรกของปี 2562 ในช่วงที่ผ่านมามีการถกเถียงในประเด็นปัญหาสุนัข-แมวจรจัด ว่าจะมีการแก้ไขอย่างไร โดยเฉพาะประเด็นเรื่องผู้เลี้ยง จะต้องมีความรับผิดชอบต่อสัตว์เลี้ยงของตนเอง การขึ้นทะเบียนสุนัข-แมว การเก็บภาษีสัตว์เลี้ยง รวมไปถึงประเด็น แนวทางการจากัดสุนัข-แมวจรจัดที่ไม่มีเจ้าของทิ้ง ความคิดเห็นของประชาชนต่อปัญหาสุนัข-แมวจรจัด โดยมีข้อมูลที่ น่าสนใจดังต่อไปนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คิดว่าสุนัข-แมวจรจัด เป็นปัญหาสังคมที่ต้องเร่งแก้ไข ร้อยละ 76.1 และเคยพบเห็น สุนัข-แมวจรจัด ในบริเวณที่อยู่อาศัย ร้อยละ 87.6 คิดว่าสุนัข-แมวจรจัด จะเป็นอันตรายต่อตนเองและครอบครัว ร้อยละ 42.8 และคิดว่าปัญหาสุนัข-แมวจรจัดเกิดจาก ความมักง่ายของผู้เลี้ยง ร้อยละ 74.1 ทราบว่าผู้ที่นาสัตว์เลี้ยงมาปล่อยทิ้งหรือไม่รักษาความสะอาด หรือปล่อยให้ก่อความเดือดร้อนราคาญแก่ชุมชน ผู้เป็น เจ้าของจะถูกปรับ 5,000 บาท กฎหมาย ร้อยละ 42.7 และอยากให้ผู้ที่ให้อาหารสุนัข-แมวจรจัด ที่ไม่ได้เลี้ยงดูอย่าง ใกล้ชิด หยุดพฤติกรรม ร้อยละ 47.9
  • 5. 5 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยากให้หน่วยงานภาครัฐมีกระบวนการนาสุนัข-แมวจรจัดไปดูแลในสถานที่ที่เหมาะสม ร้อยละ 84.2 อยากให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ร้อยละ 83.6 และ เห็นด้วยกับการที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด ร้อยละ 78.0 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยในการที่หน่วยงานภาครัฐมีการขึ้นทะเบียนสุนัข-แมว โดยผู้เลี้ยงจะต้องมีความ รับผิดชอบต่อสัตว์เลี้ยงของตนเอง ร้อยละ 78.0 รายละเอียดของการสารวจความคิดเห็นกับเกี่ยวกับปัญหาสุนัข-แมวจรจัด 1. ท่านเคยพบเห็นสุนัข-แมวจรจัด ในบริเวณที่ท่านอยู่อาศัยหรือไม่ เคย ร้อยละ 87.6 ไม่เคย ร้อยละ 8.0 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 4.4 2. ท่านคิดว่าสุนัข-แมวจรจัดเป็นปัญหาสังคมที่ต้องเร่งแก้ไข ใช่หรือไม่ ใช่ ร้อยละ 76.1 ไม่ใช่ ร้อยละ 11.3 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 12.6 3. ท่านคิดว่าสุนัข-แมวจรจัด จะเป็นอันตรายต่อท่านและครอบครัว หรือไม่ เป็นอันตราย ร้อยละ 42.8 ไม่เป็นอันตราย ร้อยละ 44.7 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 12.6 4. ท่านคิดว่าปัญหาสุนัข-แมวจรจัดเกิดจากความมักง่ายของผู้เลี้ยงใช่ หรือไม่ ใช่ ร้อยละ 74.1 ไม่ใช่ ร้อยละ 13.1 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 12.8 5. ท่านทราบหรือไม่ว่า ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ผู้ที่นาสัตว์เลี้ยงมาปล่อยทิ้งหรือไม่รักษาความ สะอาด หรือปล่อยให้ก่อความเดือดร้อนราคาญแก่ชุมชน ผู้เป็นเจ้าของจะถูกปรับ 5,000 บาท ทราบ ร้อยละ 42.7 ไม่ทราบ ร้อยละ 37.7 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 19.6 6. ท่านอยากให้ผู้ที่ให้อาหารสุนัข-แมวจรจัด ที่ไม่ได้เลี้ยงดูอย่างใกล้ชิด หยุดพฤติกรรมหรือไม่ อยาก ร้อยละ 47.9 ไม่อยาก ร้อยละ 33.7 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 18.4 7. ท่านอยากให้หน่วยงานภาครัฐมีกระบวนการนาสุนัข-แมวจรจัดไปดูแลในสถานที่ที่เหมาะสมหรือไม่ อยาก ร้อยละ 84.2
  • 6. 6 ไม่อยาก ร้อยละ 6.9 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 8.9 8. ท่านอยากให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด เพื่อความปลอดภัยของประชาชน หรือไม่ อยาก ร้อยละ 83.6 ไม่อยาก ร้อยละ 7.0 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 9.4 9. ท่านเห็นด้วยหรือไม่ การที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่ปลอดจากสุนัข-แมวจรจัด เห็นด้วย ร้อยละ 78.0 ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 10.1 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 11.9 10. ท่านเห็นด้วยหรือไม่หากหน่วยงานภาครัฐมีการขึ้นทะเบียนสุนัข-แมว โดยผู้เลี้ยงจะต้องมีความรับผิดชอบต่อสัตว์ เลี้ยงของตนเอง เห็นด้วย ร้อยละ 72.6 ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 15.9 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 11.5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุของการทิ้งสุนัข 2. สารวจสถิติของจานวนสุนัขจรจัดในแต่ละปี และแนวโน้มในอนาคตในการเพิ่มขึ้นหรือ ลดลง 3.สารวจความคิดเห็นของคนในเมืองว่าคิดอย่างไรกับสุนัขจรจัด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. โทรศัพท์มือถือ 2. คอมพิวเตอร์ 3. อินเทอร์เน็ต
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ภัสสราภา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ภัสสราภา 3 จัดทาโครงร่างงาน ภัสสราภา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ภัสสราภา 5 ปรับปรุงทดสอบ ภัสสราภา 6 การทาเอกสารรายงาน ภัสสราภา 7 ประเมินผลงาน ภัสสราภา 8 นาเสนอโครงงาน ภัสสราภา ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบสาเหตุและการแก้ปัญหาสุนัขจรจัด และได้ทราบความคิดเห็นของคนในเมืองว่าคิดอย่างไรกับสุนัขจรจัดมีวิธี ปฏิบัติอย่างไรกับสุนัขเหล่านี้และได้ทราบสถิติของจานวนสุนัขจรจัดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในแต่ละปี สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และที่บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนาธรรม แหล่งอ้างอิง Peeraya.(2561).ปัญหาสุนัขจรจัด[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/560410081chutarat/payha-sunakh-ni-sangkhm-thiy/ crcad. (วันที่ค้น ข้อมูล 31 กันยายน 2562). อินทรชัย พาณิชกุล.(2558).วิกฤตสุนัขจรจัด [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก https://www.posttoday.com/politic/report/383721. (วันที่ค้นข้อมูล 31 กันยายน 2562).