SlideShare a Scribd company logo
1 of 125
Download to read offline
(O-NET)
ประวัติศาสตร์ไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นววรรณ วุฒฑะกุล
ř.ความหมาย
- วิชาว่าด้วยเรืÉองราวเกีÉยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ทัÊงความสําเร็จและความล้มเหลวรวมทัÊงสิÉง
ทีÉมนุษย์ค้นคว้าและประดิษฐ์ขึÊน
- ศึกษาโดยอาศัยร่องรอยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึÉงนักประวัติศาสตร์ต้องใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้า โดยคํานึงถึงมิติเวลา และความสําคัญทีÉเรืÉองราวนัÊนๆ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สังคมอย่างไร
Ś. วิธีการทางประวัติศาสตร์
- ตัÊงคําถาม / หัวข้อทีÉสนใจ
- สํารวจเอกสาร
- ตัÊงสมมติฐาน
- ค้นคว้าข้อมูล – หลักฐานทางประวัติศาสตร์
- วิเคราะห์ – ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
- การตีความ
- การวิเคราะห์
การศึกษาประวัติศาสตร์ด้วยวิธีทางประวัติศาสตร์ มีความสําคัญและเกิดประโยชน์ เพราะ
- ทําให้การศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์เป็นไปอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ
- ทําให้ได้เรียนรู้ความเป็นมาและวิวัฒนาการของมนุษย์ในอดีต ประสบการณ์ของมนุษย์ใน
ประวัติศาสตร์เป็นบ่อเกิดแห่งความรู้ของมนุษย์ในสมัยต่อมา
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ทัÊงหมดในแง่ของเวลา บุคคล สถานทีÉ ฯลฯ
- ช่วยรักษาความต่อเนืÉองของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
- ทําให้มีความรู้ความเข้าใจเกีÉยวกับประสบการณ์ต่าง ๆ ของมนุษย์อย่างมีเหตุผล มองเห็นคุณค่า
ของมนุษย์ทีÉสร้างความเจริญด้านต่างๆแก่สังคม
- สามารถใช้เป็นบทเรียน หรือ แบบอย่างในการแก้ปัญหา และ ในการประพฤติของคนในสังคมตาม
วิถีทางทีÉถูกต้อง ทําให้มนุษย์มีวิวัฒนาการตามแนวทางทีÉเหมาะสม
- ทําให้ผู้ศึกษามีความเฉลียวฉลาดขึÊน สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทัÊงปัจจุบันและ
อนาคต
ś. การศึกษาประวัติศาสตร์
- แบ่งตามยุคสมัย เช่น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ ฯลฯ
- แบ่งตามขอบเขต เช่น ประวัติศาสตร์ไทย ประวัติศาสตร์สากล ประวัติศาสตร์ท้องถิÉน ฯลฯ
1
- แบ่งตามด้านต่าง ๆ เช่นประวัติศาสตร์การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ
ประวัติศาสตร์สังคม ฯลฯ
- แบ่งตามภูมิศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์เอเชีย ประวัติศาสตร์อเมริกา ฯลฯ
Ŝ. หลักฐานทางประวัติศาสตร์
- จําแนกตามความสําคัญ ได้แก่ หลักฐานขัÊนต้นหรือปฐมภูมิ หลักฐานชัÊนรองหรือทุติยภูมิ
- จําแนกตามหลักฐานลักษณะ ได้แก่ หลักฐานลายลักษณ์อักษร และหลักฐานทีÉไม่เป็นลายลักษณ์
อักษร
ŝ.การแบ่งยุคสมัย
- การนับศักราชแบบไทย พ.ศ. นับเมืÉอพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ( พ.ศ. – ŝŜś = ค.ศ.)
ม.ศ. ไทยได้รับจากอินเดียโดยผ่านขอม ( ม.ศ. – ŞŚř = พ.ศ.)
จ.ศ. แพร่หลายอาณาจักรล้านนาใช้จดในจารึกตํานาน พระราชพงศาวดาร เอกสาร
ทางราชการ จดหมายเหตุ ( จ.ศ. + řřŠř = พ.ศ.)
ร.ศ. เริÉมนับเมืÉอตัÊงกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี ( ร.ศ. + ŚśŚŜ = พ.ศ.)
- การนับศักราชแบบสากล ค.ศ. นับตัÊงแต่วันทีÉพระเยซูประสูติ ( ค.ศ. + ŝŜś = พ.ศ.)
ฮ.ศ. นับตัÊงแต่ปีทีÉนบีมูฮําหมัดหนีออกจากเมืองเมกกะไปยังเมืองมะดินา
( ฮ.ศ. + řřŚŚ = พ.ศ.)
ř. สภาพสังคมไทย
การจัดระเบียบทางสังคมไทย
สมัยอยุธยา การจัดลําดับชัÊนในสังคมชัดเจนขึÊน โดยจัดลําดับชัÊนตาม “ระบบศักดินา”
- ศักดินาเป็นเครืÉองกําหนดฐานะของคนในสังคม หรือ การแบ่งลําดับชนชัÊนในสังคม
- เป็นเครืÉองกําหนดจํานวนไพร่พลทีÉสังกัดมูลนาย หรือ ความพยายามควบคุมกําลังคนให้รวมเป็นกลุ่ม
เพืÉอสะดวกในการเกณฑ์แรงงานไปใช้ประโยชน์
- กําหนดบทบาท สิทธิ และหน้าทีÉของคนในสังคมมากน้อยต่างกันขึÊนอยู่กับตําแหน่ง บรรดาศักดิÍและ
ราชทินนาม โดยถือตามกฎหมายทีÉประกาศใช้ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ คือ “พระไอยการ
ตําแหน่งนาพลเรือนและพระไอยการตําแหน่งนาทหารหัวเมือง” เพืÉอให้ระบบศักดินารัดกุมและมัÉนคง
ขึÊน กฎหมายฉบับนีÊกําหนดให้ทุกคนมีศักดินาเพืÉอกําหนดหน้าทีÉทีÉมีต่อรัฐตามชาติกําเนิด ศักดินาจึง
ครอบคลุมถึงระบบการปกครอง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการจัดระเบียบคนในสังคม
- เป็นสิÉงกําหนดการลงโทษความผิดทางกฎหมาย เรียกว่า การปรับไหม หรือกําหนดการใช้เครืÉองยศ
ของชนชัÊนสูง
- ศักดินาจึงครอบคลุมทัÊงระบบการปกครอง เศรษฐกิจ การจัดระเบียบของคนในสังคมและวัฒนธรรม
2
การควบคุมกําลังคนเช่นนีÊทําให้สังคมคงอยู่ได้เพราะมีลักษณะ Ś ประเภท คือ
ř .ความสัมพันธ์ในระบบอุปถัมภ์
Ś. อิทธิพลจากพระพุทธศาสนา
การเลืÉอนฐานะของคนในสังคม
ř. บวช Ś. ทําความดีความชอบทางราชการ ś. ทาสสามารถไถ่ตนเองได้
การเลิกไพร่ – ทาส
สาเหตุ
ř. เพืÉอสร้างความมัÉนคงแก่ราชบัลลังก์ เพืÉอรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง คือ สถาบันกษัตริย์ ซึÉงนํามาซึÉง
ความเป็นเอกภาพและความเป็นเอกราชของชาติ
Ś. ความจําเป็นทีÉต้องการแรงงานเพืÉอทํานา รัฐบาลส่งเสริมการปลูกข้าว เพราะเป็นสินค้าทีÉต้องการ
ของตลาดโลก
ś. ป้ องกันลัทธิจักรวรรดินิยม
พ.ร.บ. เกณฑ์ทหาร พ.ศ. ŚŜŜŠ ชายฉกรรจ์ อายุ řŠ ปี รับราชการ Ś ปี ปลดเป็นกองหนุน
พ.ร.บ. พิกัดเกษียณอายุลูกทาสลูกไทย พ.ศ. ŚŜřş
พ.ร.บ. ทาส พ.ศ. ŚŜŜŠ ยกเลิกทาส
ผลจากการเลิกไพร่ – ทาส
ř. ไพร่และทาสเปลีÉยนฐานะมาเป็นชาวไร่ ชาวนา และกรรมกรในสังคมสมัยใหม่ ขุนนางก็กลายเป็น
นายทุนทีÉดิน
Ś. คนไทยมีความเสมอภาค เป็นเสรีชน ซึÉงเป็นรากฐานการปรับปรุงประเทศสมัยใหม่
ś. อํานาจทางการเมืองของกษัตริย์มัÉนคงขึÊน
การจัดการศึกษา
การติดต่อกับตะวันตกทําให้ชนชัÊนนําเห็นความสําคัญของวิทยาการและเทคโนโลยีจากตะวันตก
จึงต้องจัดการศึกษาแบบตะวันตก จุดประสงค์ของการจัดการศึกษาแบบตะวันตก เพืÉอผลิตบุคลากรเข้ารับ
ราชการและสามัญชนมีสิทธิเลืÉอนฐานะในสังคมของตนได้ อันเป็นการสร้างคนรุ่นใหม่ในสังคม ซึÉงเป็นเหตุให้
ขุนนางเสืÉอมอิทธิพล สามัญชนรุ่นใหม่หรือปัญญาชนกลุ่มนีÊจะเป็นผู้ทีÉมีบทบาทในสังคมสูงต่อมาทัÊงฝ่ายทหาร
และพลเรือนในฐานะ “ผู้นําใหม่” ดังเช่น กลุ่มผู้นําในการกบฏ ร.ศ. řśŘ ผู้นําในกลุ่มคณะราษฎร์ทีÉทําการ
เปลีÉยนแปลงการปกครองเมืÉอวันทีÉ ŚŜ มิถุนายน พ.ศ. ŚŜşŝ
3
รัชกาลทีÉ ŝ ทรงจัดการศึกษาโดย
- ตัÊงโรงเรียนหลวง เมืÉอ พ.ศ. ŚŜřŜ และโรงเรียนสําหรับสามัญชน เพืÉอให้สามัญชนมีโอกาสรับ
การศึกษาเล่าเรียน คือ “โรงเรียนวัดมหรรณพาราม” พ.ศ. ŚŜśŘ ตัÊงกรมศึกษาธิการดูแลด้าน
การศึกษา
- จัดการศึกษาเฉพาะ เช่นโรงเรียนแพทย์ กฎหมาย ทหาร ฯลฯ
- พระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงให้แก่ผู้ศึกษาดีและสามารถสอบชิงทุนไปศึกษาต่อต่างประเทศ
รัชกาลทีÉ Ş
- ทรงตัÊงสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมืÉอ พ.ศ. ŚŜŝš
- ทรงประกาศพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ŚŜŞŜ ทําให้เด็กทัÊงหญิงและชายเข้ารับการศึกษาเท่า
เทียมกัน หลังการเปลีÉยนแปลงการปกครอง ขยายการศึกษาไปสู่ชนบทอย่างทัÉวถึง ตัÊงมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์และการเมือง พ.ศ. ŚŜşş เพืÉอเป็นตลาดวิชาขยายโอกาสทางการศึกษา และเผยแพร่
ความรู้ระบอบประชาธิปไตยไปสู่ประชาชนและก่อตัÊงมหาวิทยาลัยในภูมิภาค
Ś. สภาพการเมืองการปกครองของไทย
การปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. ŚŜśŝ
สาเหตุ
- ความเสืÉอมของระบบศักดินา ระบบมูลนาย ทําให้กษัตริย์ไม่สามารถควบคุมกําลังคนได้อย่างแท้จริง
กลายเป็นขุนนางทีÉมีอํานาจในการควบคุมกําลังคน
- ความซํÊาซ้อนและความเลืÉอมลํÊาของการบริหารฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ทําให้มีการก้าวก่ายในการ
ปฏิบัติราชการ
- ภัยคุกคามจากลัทธิจักรวรรดินิยม ในสมัยรัชกาลทีÉ Ŝ ไทยต้องยอมรับรองสิทธิของฝรัÉงเหนือดินแดน
ของเขมรส่วนนอกและฝรัÉงเศสไม่ต้องรับรู้สิทธิของไทยเหนือเขมร สมัยรัชกาลทีÉ ŝ ไทยต้องสูญเสีย
ดินแดนให้แกฝรัÉงเศสถึง Ŝ ครัÊง ได้แก่ พ.ศ. ŚŜśř สูญเสียแคว้นสิบสองจุไทย วิกฤตการณ์ ร.ศ. řřŚ
เสียดินแดนฝัÉงซ้ายแม่นํÊาโขง พ.ศ. ŚŜŜŞ เสียฝัÉงขวาแม่นํÊาโขง พ.ศ. ŚŜŜš เสียเขมรส่วนใน พ.ศ. ŚŜŝř
เสียดินแดนหัวเมืองมลายูให้แก่อังกฤษ
4
การปฏิรูปการปกครองทีÉสําคัญ ได้แก่ แบ่งการปฏิรูปออกเป็น
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิÉน
การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง การปฏิรูปการปกครองส่วน
ภูมิภาค
การปฏิรูปการปกครองส่วน
ท้องถิÉน
ř. จัดรูปแบบบริหารราชการเป็น
ระบบกระทรวงจํานวน řŚ
กระทรวง เช่น กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงกลาโหม กระทรวงธรรม
การ ฯลฯ เสนาบดี กระทรวงส่วน
ใหญ่เป็นเชืÊอพระวงศ์ทําให้ขุนนาง
ถูกลดบทบาทและเสืÉอมอํานาจ
Ś. ตัÊงสภาทีÉปรึกษาราชการแผ่นดิน
เพืÉอทําหน้าทีÉเป็นทีÉปรึกษาราชการ
แผ่นดินและสภาทีÉปรึกษาส่วน
พระองค์ เพืÉอสอบถามการงานและ
ปรึกษาเรืÉองราวบางประการทีÉทรงมี
พระราชดําริ สมาชิกส่วนใหญ่เป็น
กลุ่มสยามหนุ่ม ซึÉงเป็นคนรุ่นใหม่ทีÉ
ได้รับการศึกษาแบบตะวันตก
ประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์
และขุนนาง
ś. ตัÊงตําแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร
ภายหลังวิกฤติการณ์วังหน้าเพืÉอ
กําหนดผู้ทีÉจะขึÊนครองราชย์
ผล ขุนนางถูกลดอํานาจ รัชกาลทีÉ
Ŝ ทรงควบคุมการบริหารประเทศ
ř . จั ด ตัÊง ร ะ บ บ ม ณ ฑ ล
เทศาภิบาลเพืÉอสร้างความ
เป็นเอกภาพทางการปกครอง
และการดูแลหัวเมืองอย่าง
ใกล้ชิด ยกเลิก เมืองเอก โท
ต รี หั ว เ มื อ ง ชัÊ น ใ น
เมื อง ปร ะเ ทศ รา ชแ ละ
เปลีÉยนเป็นมณฑล
Ś. ยกเลิกระบบกินเมือง
เพราะมีข้าหลวงเทศาภิบาล
มาดูเป็นหูเป็นตาแทนรัฐบาล
จากส่วนกลาง
ś. ให้สิทธิแก่ราษฎรในการ
เลือกผู้ปกครองตนเองเป็นครัÊง
แรก พ.ศ. ŚŜśŝ โปรด ฯ ให้มี
การทดลองเลือกตัÊงกํานัน
ผู้ใหญ่บ้าน ทีÉ อ. บางปะอิน
จ. พระนครศรีอยุธยา ถือเป็น
รากฐานของการบริหารการ
ปกครองส่วนภูมิภาคแบบใหม่
ผล สามารถสกัดกัÊนภัยจาก
ลัทธิจักรวรรดินิยม แต่ได้รับ
การต่อต้านจากหัวเมือง ได้แก่
กบฏผีบุญทางภาคอีสาน
กบฏเงีÊยวเมืองแพร่ทาง
ภาคเหนือ กบฏเจ้าเจ็ดตนใน
ภาคใต้
ř. เปิดโอกาสให้ราษฎรมีส่วนใน
การบริหารท้องถิÉนของตนเองโดย
การจัดตัÊงสุขาภิบาล ซึÉงราษฎรมี
ส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด
และรักษาสาธารณะสมบัติ ถนน
หนทาง การเก็บภาษีเพืÉอนําเงิน
มาบํารุงท้องถิÉนของตน
พ.ศ. ŚŜŜŘ จัดตัÊงสุขาภิบาล
กรุงเทพ ฯ พ.ศ. ŚŜŜŠ จัดตัÊง
สุขาภิบาลหัวเมืองทีÉ ต. ท่าฉลอม
จ. สมุทรปราการเป็นครัÊงแรก
ผล เป็นการฝึกฝนให้ราษฎรได้มี
โอกาสเรียนรู้การปกครองในระดับ
ท้องถิÉนและบริหารงานเพืÉอเป็น
ประโยชน์ของชุมชนอย่างมี
ประสิทธิภาพ
5
ผลการปฏิรูปการปกครองในรัชกาลทีÉ ŝ
1. สิÊนสุดรูปแบบปกครองทีÉไทยเคยใช้มาหลายร้อยปี เปลีÉยนเป็นรูปแบบการปกครองตามแบบ
ตะวันตก ส่งผลต่อความเป็นเอกภาพทางการปกครอง ทําให้พลเมืองมีความผูกพันกับรัฐบาลและ
รู้สึกเป็นอันหนึÉงอันเดียวกัน นําไปสู่ความเป็นรัฐชาติ
2. เกิดการรวมศูนย์กลางอํานาจมาไว้ทีÉสถาบันกษัตริย์ ทําให้พระมหากษัตริย์ทรงมีอํานาจอย่าง
แท้จริงทัÊงในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ขุนนางถูกลดบทบาทและเสืÉอมอํานาจ
ś. สามารถป้ องกันภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม
การเมืองสมัยรัชกาลทีÉ Ş
สาเหตุการปฏิวัติเปลีÉยนแปลงการปกครอง ร.ศ. řśŘ ( พ.ศ. ŚŝśŜ )
1. เนืÉองจากนายทหารสมาชิกของขบวนการ ร.ศ. řśŘ สําเร็จการศึกษาตามระบบการศึกษาสมัยใหม่
รวมถึงได้รับอิทธิพลจากปัญญาชนหัวก้าวหน้าของไทย เช่น ก.ศ.ร. กุหลาบ และ เทียนวรรณ ทําให้
นายทหารกลุ่มนีÊซึÉงมีหัวหน้า คือ ขุนทวยหาญพิทักษ์ ร้อยตรีเหรียญ ศรีจันทร์ เคลืÉอนไหวทาง
การเมือง
Ś. ความไม่พอใจในพระราชกรณียกิจของรัชกาลทีÉ Ş
ś. วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การผลิตข้าวและความยากจนของชาวนาขบวนการ ร.ศ. řśŘ
ประสบความล้มเหลว รัชกาลทีÉ Ş ทรงโปรดเกล้า ฯ พระราชทานอภัยโทษให้ จากโทษประหารชีวิต
ลดเหลือจําคุกตลอดชีวิตรัชกาลทีÉ Ş ทรงพยายามพัฒนาความรู้ความคิดของพลเมืองให้มากขึÊน
เช่น การตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ŚŜŞŜ และการให้สิทธิเสรีภาพในการแสดงออก
ความคิดเห็นแก่วงการหนังสือพิมพ์ ตลอดจนทรงเห็นว่าการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศ
ไทย ควรจะมีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เพราะชาวไทยยังไม่พร้อมทีÉจะรับระบอบนีÊเพราะเป็น
ของใหม่ ทรงมีพระราชดําริทีÉจะสอนระบอบประชาธิปไตยแก่ขุนนางและข้าราชการก่อน จึงทรง
จัดตัÊงดุสิตธานีลักษณะเป็นเมืองประชาธิปไตยในบริเวณพระราชวังดุสิต เพืÉอฝึกให้ขุนนางและ
ข้าราชการทดลองปกครองและบริหารราชการท้องถิÉน ทีÉเรียกว่าเทศบาล
การเมืองการปกครองสมัยรัชกาลทีÉ ş
เมืÉอพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึÊนครองราชย์มีการตัÊงอภิรัฐมนตรีเป็นทีÉปรึกษาราชการ
แผ่นดินทางด้านการเมืองทีÉอํานาจการปกครองตกอยู่ในหมู่พระราชวงศ์ ทําให้กลุ่มข้าราชการรุ่นใหม่ ๆ ทีÉจบ
การศึกษาจากต่างประเทศไม่พอใจ และปัญหาทางสังคมได้แก่ ปัญหาทางชนชัÊน
รัชกาลทีÉ ş ทรงมีแผนการทีÉจะพระราชทานรัฐธรรมนูญถึง Ś ฉบับ คือ
ฉบับทีÉ ř คือ ร่างรัฐธรรมนูญของพระยากัลยาณไมตรี ( Dr.Francis B. Sayre) พ.ศ. ŚŜŞš
ฉบับทีÉ Ś มีชืÉอว่า An Outline of Changes in the Form of Government นายเรมอนด์ บี, สตีเวนส์
6
ทีÉปรึกษากระทรวงการต่างประเทศและพระยาศรีวิศาลวาจา ปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่างประเทศเป็น
ผู้ร่าง
สาเหตุการเปลีÉยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. Śŝşŝ สรุปได้ดังนีÊ
ř. ความเสืÉอมศรัทธาการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
Ś. ประชาชนบางส่วนได้รับการศึกษาแบบตะวันตก
ś. อิทธิพลของสืÉอมวลชน
Ŝ. เกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํÉาภายในประเทศ
ŚŜ มิถุนายน พ.ศ. ŚŜşŝ การเปลีÉยนแปลงการปกครองของไทยจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่
ระบอบประชาธิปไตย
สาเหตุ ř. ความก้าวหน้าทางการศึกษาและการได้รับความคิดทางการเมืองแบบ
ประชาธิปไตย ทําให้สามัญชนมีโอกาสเท่าเทียมกับชนชัÊนสูงในการได้รับ
การศึกษาตัÊงแต่รัชกาลทีÉ ŝ เป็นต้นมา
Ś. แบบอย่างการปฏิวัติของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น ญีÉปุ่น เปอร์เซีย
ตุรกี และจีน
ś. ความไม่พอใจของปัญญาชนในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกตํÉาของรัฐบาลใน
สมัยรัชกาลทีÉ ş แม้รัชกาลทีÉ ş ทรงแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การตัด
งบประมาณรายจ่ายส่วนพระองค์ และส่วนราชการ การปลดข้าราชการออกจาก
ตําแหน่ง แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้
คณะราษฎร กลุ่มปัญญาชนซึÉงได้รับการศึกษาจากต่างประเทศ ทัÊงฝ่ายพลเรือน ซึÉงมี ผู้นํา คือ
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือนายปรีดี พนมยงค์ และร้อยโทประยูร ภมรมนตรี
ฝ่ายทหาร ซึÉงมีผู้นํา คือพระยาพหลพลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเดช
พันเอกพระยาฤทธิอัคเนย์ พันตรีหลวงพิบูลสงคราม รวมกลุ่มเรียกว่า
“คณะราษฎร” เพืÉอทําการเปลีÉยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญา
สิทธิราชไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข คณะราษฎร
ดําเนินการยึดอํานาจเปลีÉยนแปลงการปกครองได้สําเร็จในวันทีÉ ŚŜ มิถุนายน
ŚŜşŝ
กบฏบวรเดช พ.ศ. ŚŜşŞ หลังการเปลีÉยนแปลงไม่นาน “คณะกู้บ้านเมือง” นําโดย พลเอกพระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าบวรเดชได้เรียกร้องให้รัฐบาลบริหารประเทศตามครรลองของระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญอย่างแท้จริง
ทัÊงนีÊเนืÉองจากภายหลังการเปลีÉยนแปลงการปกครองไม่นาน ก็เกิดปัญหาความ
7
ขัดแย้งระหว่างคณะราษฎร์กับรัชกาลทีÉ ş ได้แก่ความขัดแย้งเรืÉองเค้าโครง
เศรษฐกิจ อันนําไปสู่การรัฐประหาร วันทีÉ ŚŘ มิถุนายน ŚŜşŝ และกบฏบวรเดช
ซึÉงกบฏบวรเดชนําไปสู่การสู้รบระหว่างฝ่ายกู้บ้านเมืองอย่างรุนแรง ระหว่างวันทีÉ
řř – ŚŜ ตุลาคม พ.ศ. ŚŜşŞ ซึÉงจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายกู้บ้านเมือง
พลเอกพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบวรเดชเสด็จลีÊภัยไปต่างประเทศท้ายสุดเป็น
เหตุการณ์หนึÉงซึÉงนําไปสู่การสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัว
เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม
คณะราษฎรได้มอบหมายให้หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ( ปรีดี พนมยงค์ ) ร่างเค้าโครงเศรษฐกิจ เพืÉอ
คณะราษฎรจะได้นํามาใช้ในการพิจารณาวางนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ แต่ก็นําไปสู่ความขัดแย้งระหว่าง
กลุ่มผู้นําคณะราษฎรด้วยกันเอง ดังนีÊ
รัฐบาลจะบังคับเอาทีÉดินทัÊงหมดของคณะราษฎรทัÊงหมดโดยจ่ายค่าตอบแทนเป็นพันธบัตรรัฐบาล
ซึÉงทําให้คณะราษฎรแตกความคิดเห็นออกเป็น Ś ฝ่าย คือ ฝ่ายทีÉเห็นว่ามีความคิดเห็นโน้มเอียงไป
ทางระบอบคอมมิวนิสต์ นําโดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา กับฝ่ายทีÉเห็นด้วยกับแนวคิดนีÊได้แก่
กลุ่มคนรุ่นใหม่ทัÊงฝ่ายทหารและพลเรือน สําหรับรัชกาลทีÉ ş ทรงมีพระราชวินิจฉัยไม่เห็นด้วย
เพราะทรงเห็นว่าเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าวลิดรอนเสรีภาพของประชาชน ผลจากเรืÉองนีÊทําให้
รัฐบาลตราพระราชบัญญัติทีÉว่าด้วยคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ŚŜşŞ และหลวงประดิษฐ์มนูธรรมต้อง
เดินทางออกนอกประเทศ
วันทีÉ Ś มีนาคม พ.ศ. ŚŜşş พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวสละราชสมบัติ
เหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ
คณะราษฎร อันมีสาเหตุเนืÉองจากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างขุนนางเก่ากับคณะราษฎร
แม้ว่าพระองค์จะทรงวางพระองค์เป็นกลางแต่คณะราษฎรก็เข้าใจว่าทรงสนับสนุนกลุ่มขุนนาง
โดยเฉพาะเหตุการณ์กบฏบวรเดช เมืÉอเสด็จไปรักษาพระองค์ทีÉประเทศอังกฤษ ระหว่างนัÊนทรงได้
มีพระบรมราชวินิจฉัยในเรืÉองต่าง ๆ หลายเรืÉองทีÉขัดแย้งกับรัฐบาล ได้แก่ ทรงขอให้รัฐบาลแต่งตัÊง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภททีÉ Ś ตามรัฐธรรมนูญ โดยคํานึงถึงคุณวุฒิและความเหมาะสม
ให้รัฐบาลดําเนินการอภัยโทษนักการเมืองทีÉถูกลงโทษเพราะความขัดแย้งทางการเมือง ปรากฏว่า
รัฐบาลปฏิเสธพระราชประสงค์ ดังนัÊน วันทีÉ Ś มีนาคม ŚŜşş พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัวจึงทรงประกาศสละราชสมบัติ
การเมืองการปกครองของไทยหลังการเปลีÉยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ŚŜşŝ
คณะราษฎรประกาศหลัก Ş ประการ เพืÉอการบริหารประเทศ คือรักษาเอกราช การเมือง
เศรษฐกิจและศาล รักษาความปลอดภัยภายในประเทศ การกินดีอยู่ดีของราษฎรให้เสมอภาค
8
เสรีภาพแก่ราษฎร และให้การศึกษาแก่ราษฎรอย่างเต็มทีÉ แต่เป็นทีÉน่าเสียดายว่าหลังการ
เปลีÉยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ŚŜşŝ เป็นต้นมา ระบอบประชาธิปไตยของไทยต้องประสบปัญหา
ทางการเมืองบ่อยครัÊง มีการปฏิวัติ รัฐประหาร และการเข้ายึดอํานาจการปกครองโดยฝ่ายทหาร
ตัÊงแต่ พ.ศ. ŚŜşŞ จนถึง พ.ศ. ŚŝśŜ สาเหตุสืบเนืÉองมาจากคนไทยส่วนใหญ่ยังขาดอุดมการณ์
และมีวิถีชีวิตทีÉไม่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตย เพราะคนไทยส่วนใหญ่ยังยึดติดกับวิถีชีวิต
ความเชืÉอแบบดัÊงเดิม แต่ประการสําคัญทีÉสุดเกิดจากความขัดแย้งทางความคิดระหว่างผู้นําทาง
การเมือง ทําให้ฝ่ายทหารมักประสบความสําเร็จในการยึดอํานาจการปกครองโดยเริÉมตัÊงแต่
- ความขัดแย้งในกลุ่มคณะราษฎรระหว่างหลวงประดิษฐ์มนูธรรมกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม
ในทีÉสุดจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประสบความสําเร็จในการยึดอํานาจการปกครอง
- จอมพล ป. พิบูลสงคราม ปกครองประเทศในระบอบอํานาจนิยมจนถึงปลายสงครามโลก
ครัÊงทีÉ Ś จึงถูกสถานการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศบีบบังคับให้หลุดจากตําแหน่ง
นายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ. ŚŜŠş – ŚŜšŘ ประเทศไทยมีรัฐบาลพลเรือนถึง Ş ชุด
รัฐประหาร ŚŜšŘ ทําให้จอมพล ป. พิบูลสงครามกลับเข้ามามีอํานาจอีก แต่ใน พ.ศ. ŚŝŘŘ ก็
ถูกจอมพลสฤษดิÍ ธนรัชต์ ปฏิวัติยึดอํานาจ
- จอมพลสฤษดิÍ ธนรัชต์ ทํารัฐประหารครัÊงทีÉ Ś พ.ศ. ŚŝŘŘ โดยมีเหตุจากภัยคุกคามของ
คอมมิวนิสต์ นายกรัฐมนตรีและดํารงตําแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดทัÊงนิติบัญญัติ บริหาร
และตุลาการ ความเด็ดขาดในการรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองพยายามเรียกร้อง
ศรัทธาและการยอมรับจากประชาชน โดยการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์การประกาศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ย้อนกลับไปสู่การปกครองสมัยสุโขทัยแบบพ่อปกครองลูกมา
ประยุกต์ใช้
- วันมหาวิปโยค řŜ ตุลาคม ŚŝřŞ ประชาชน ซึÉงนําโดยนิสิตนักศึกษา ลุกฮือเพืÉอต่อต้านเผด็จ
การทหาร ทําให้จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนัÊนลาออกจากตําแหน่งและ
พรรคพวกต้องลีÊภัยไปต่างประเทศ ทําให้ประเทศไทยกลับมามีการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ พ.ศ. Śŝřş ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับเป็นประชาธิปไตยมากทีÉสุด
ฉบับหนึÉง
- เหตุการณ์ Ş ตุลาคม Śŝřš เกิดจากการกวาดล้างนิสิต นักศึกษา ทีÉถูกมองว่าได้รับการ
สนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ทําให้มีการปราบปรามนิสิต นักศึกษาอย่าง
รุนแรง ทําให้นิสิต นักศึกษาจํานวนมากหนีเข้าป่าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ ระหว่าง
พ.ศ. Śŝřš – ŚŝŚŘ จึงเป็นยุคของการเผด็จการยึดอํานาจนิยมอีกครัÊง
- รัฐประหาร พ.ศ. ŚŝŚŘ เป็นต้นมา มีความพยายามทีÉจะเสริมสร้างและพัฒนาระบอบ
ประชาธิปไตย ในสมัยนายกรัฐมนตรีพลเอกเกรียงศักดิÍ ชมะนันท์ รัฐบาลพลเอกเปรม
9
ติณสูลานนท์ พ.ศ. Śŝśř จัดให้มีการเลือกตัÊงพลเอกชาติชาย ชุณหะวัน ได้เป็นนายกรัฐมนตรี
แต่วันทีÉ Śś กุมภาพันธ์ ŚŝśŜ ถูกคณะผู้รักษาความสงบแห่งชาติ ( ร.ส.ช. ) ยึดอํานาจ
เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ วันทีÉ řş พฤษภาคม Śŝśŝ เพืÉอต่อต้านการเป็นนายกรัฐมนตรีทีÉไม่
ได้มาจากการเลือกตัÊงของพลเอกสุจินดา คราประยูร ทําให้นายอานันท์ ปันยารชุน เป็น
นายกรัฐมนตรีอีกครัÊงและจัดให้มีการเลือกตัÊง พ.ศ. Śŝśŝ นายชวน หลีกภัย เป็ น
นายกรัฐมนตรี ต่อด้วยการเลือกตัÊงครัÊงต่อมา นายบรรหาร ศิลปะอาชา และพลเอกชวลิต ยง
ใจยุทธ ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี และนายชวน หลีกภัย ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี
สมัยทีÉ Ś
- รัฐธรรมนูญ ฉบับทีÉ řŞ ( พ.ศ. ŚŝŜŘ ) ถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญทีÉมาจากความต้องการของ
ประชาชนอีกฉบับหนึÉง กําหนดให้มีการเลือกตัÊง เมืÉอ พ.ศ. ŚŝŜŜ ปรากฏว่าพรรคไทยรักไทย
โดย พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้รับคะแนนเสียงข้างมากในการจัดตัÊงรัฐบาลจนครบวาระ Ŝ
ปี และได้รับคะแนนกลับมาดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกวาระ แต่เกิดปัญหาด้านทุจริต
คอรัปชัÉนตลอดจนวิกฤตศรัทธาด้านจริยธรรมของผู้นํา จึงต้องจัดให้มีการเลือกตัÊงใหม่
รัฐนิยม
พันเอกหลวงพิบูลสงครามดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี เมืÉอวันทีÉ řŞ ธันวาคม พ.ศ. ŚŜŠř รัฐบาลพันเอก
หลวงพิบูลสงครามได้ประกาศใช้รัฐนิยมจํานวน řŚ ฉบับ ในการบริหารประเทศตามนโยบายสร้างชาติ ระหว่าง
เดือนมิถุนายน พ.ศ. ŚŜŠŚ ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. ŚŜŠŝ รัฐนิยมเปรียบเสมือน “ประเพณีนิยมประจําชาติ” ใน
พ.ศ. ŚŜŠŝ รัฐบาลได้ประกาศพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ จึงมีการจัดตัÊงสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ให้เป็น
หน่วยงานเพืÉอปฏิบัติหน้าทีÉตามนโยบายสร้างชาติด้านวัฒนธรรม คือการอบรมสัÉงสอนและปลูกฝังความรักชาติ
ร่วมทัÊงการกล่อมเกลาด้านวัฒนธรรมแก้ประชาชนด้วย รัฐนิยมทีÉประกาศใช้ทีÉสําคัญ ได้แก่การเปลีÉยนชืÉอจาก
ประเทศสยามเป็นประเทศไทยการสงวนอาชีพสําหรับคนไทย การชักชวนชาวไทยให้ร่วมมือกันสร้างชาติ เป็นต้น
ไทยกับสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś
วันทีÉ Š ธันวาคม พ.ศ. ŚŜŠŜ ญีÉปุ่นยกพลขึÊนบกทีÉประเทศไทยตามจังหวัดต่างๆ เช่นทีÉสงขลา ปัตตานี
นครศรีธรรมราช และประจวบคีรีขันธ์ เกิดการปะทะกันระหว่างทหารและตํารวจไทยกับทหารญีÉปุ่ น มี
ผู้ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต ทําให้รัฐบาลต้องยอมจํานนต่อญีÉปุ่นในวันนัÊนและทําสัญญาเป็นพันธมิตรกับญีÉปุ่น
ในช่วงสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś เรียกว่า “กติกาสัญญาพันธมิตรระหว่างไทยกับญีÉปุ่น” เพืÉอประโยชน์แก่ประเทศชาติ
ในสถานการณ์คับขัน ในทีÉสุดวันทีÉ Śŝ มกราคม พ.ศ. ŚŜŠŝ รัฐบาลไทยประกาศเข้าร่วมสงครามโดยเป็น
พันธมิตรกับญีÉปุ่น เพืÉอให้ความร่วมมือกับญีÉปุ่นทางด้านการทหารและยุทธปัจจัย มีการจัดตัÊงคณะกรรมการผสม
ประสานงานไทย – ญีÉปุ่น เพืÉอสร้างทางรถไฟสายมรณะ เชืÉอมจากไทยไปสู่พม่า นอกจากนัÊนแล้ว ไทยกับญีÉปุ่น
ยังทําสนธิสัญญาว่าด้วยอาณาเขตประเทศไทยใน”มาลัยและภูมิภาคฉาน” ทําให้ไทยได้รับมอบคืนดินแดนทีÉเสีย
ไปตัÊงแต่รัชกาลทีÉ ŝ กลับคืนมา คือเมืองเชียงตุง และเมืองม่าน ในพม่า ดินแดนกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี และปะ
10
ลิส ของมลายู นอกจากนัÊนแล้วไทยกับญีÉปุ่นยังร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจอืÉนๆ เช่น การค้าขาย การทีÉรัฐบาลไทย
ให้กองทัพญีÉปุ่นกู้เงิน ตลอดจนความร่วมมือในการเผยแพร่วัฒนธรรมซึÉงกันและกัน
ขบวนการเสรีไทย
ระหว่างทีÉรัฐบาลให้ความร่วมมือกับรัฐบาลญีÉปุ่นในสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś นายปรีดี พนมยงค์
หนึÉงในผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ไม่เห็นด้วยกับการกระทําของรัฐบาล
ไทย จึงดําเนินการก่อตัÊงขบวนการเสรีไทย เพืÉอต่อต้านญีÉปุ่นทัÊงภายในและภายนอกประเทศ โดยภายในประเทศ
มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นํา ซึÉงประสานการทํางานร่วมกับเสรีไทยทีÉก่อตัÊงขึÊนในอังกฤษและอเมริกา โดยมี
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจําวอชิงตันเป็นผู้นํา และได้รับความร่วมมือจาก
นักศึกษาและคนไทยทัÊงในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ วัตถุประสงค์ของขบวนการคือ ให้ความร่วมมือกับฝ่าย
สัมพันธมิตรในการปฏิบัติการสืบราชการลับในประเทศไทย เพืÉอทีÉจะปลดปล่อยไทยให้เป็นอิสระจากญีÉปุ่น โดย
ได้รับการสนับสนุนด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ ต่อมาภายหลังสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś ยุติบทบาทของขบวนการเสรีไทย
มีส่วนร่วมอย่างมากในการช่วยผ่อนปรนและคลีÉคลายสถานภาพของประเทศไทยหลังสงคราม มิให้อยู่ในฐานะ
ประเทศผู้แพ้สงคราม ทําให้ประเทศไทยกลับสู่ภาวะปกติโดยเร็ว
ś. สภาพเศรษฐกิจไทย
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนัÉงเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเปลีÉยนแปลงทีÉสําคัญ คือ
1. การเปลีÉยนแปลงทางการค้า นําไปสู่การลงนามสนธิสัญญาเบอร์นี ( พ.ศ. ŚśŞš ) ไทยเก็บภาษีขา
เข้าได้วาละ ř,ŝŘŘ บาท และ ř,şŘŘ บาท
2. การอพยพเข้ามาของคนจีน ทําให้เกิดพ่อค้าคนกลาง มีการนําสินค้าอุปโภคบริโภคไปแลกกับ
สินค้า และผลผลิตการเกษตรหรือทํางานกับกรมพระคลังสินค้า ทัÊงนีÊเพราะคนจีนเป็นอิสระจาก
การควบคุม กําลังคนในระบบไพร่ จึงสามารถประกอบอาชีพการค้าและสะสมเงินทุน
3. การเปลีÉยนแปลงการจัดเก็บภาษีอากร เป็นระบบเจ้าภาษีนายอากร
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การค้าระหว่างไทยกับตะวันตกประสบปัญหา คือ
1. ชาวตะวันตกประสบความยุ่งยากในการติดต่อค้าขายกับคนไทย เพราะ
1.1 การค้ากับไทยเป็นการค้าผูกขาดโดยพระคลังสินค้า ซึÉงทําให้ไม่สะดวกในการติดต่อซืÊอขาย
สินค้า เพราะต้องซืÊอขายผ่านพระคลังสินค้าเท่านัÊน
1.2 อัตราภาษีอากรขาเข้าและขาออกของไทยมีอัตราไม่แน่นอนและใช้วิธีเลือกปฏิบัติทีÉไม่เท่า
เทียมกัน
1.3 รัฐบาลไทยใช้สิทธิเลือกซืÊอก่อน โดยบังคับซืÊอในราคาตํÉา ทีÉเหลือจึงนําไปขายได้
11
2. ชนชัÊนสูงของไทยเป็นกลุ่มคนทีÉผูกขาดการค้าต่างประเทศเอาไว้โดยร่วมมือกับชาวจีน และ
หวาดระแวงท่าทีของชาวตะวันตก เมืÉอพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึÊนครองราชย์
สถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศเปลีÉยนแปลงไปมาก จีนแพ้อังกฤษในสงครามฝิÉน พม่าเสีย
ดินแดนให้แก่อังกฤษ รัชกาลทีÉ Ŝ ทรงตระหนักดีว่า ชาวตะวันตกต้องการให้ไทยเปลีÉยนระบบ
การค้าผูกขาดเป็นการค้าแบบเสรี ดังนัÊน เมืÉอเซอร์ จอห์น เบาว์ริÉง ขอแก้สัญญาทางการค้า รัชกาล
ทีÉ Ŝ จึงยอมผ่อนปรนทัÊงทีÉไทยเสียเปรียบทุกข้อ แต่เพืÉอรักษาความเป็นอยู่ของชาติ จึงมีการลงนาม
ในสนธิสัญญาเบาว์ริÉง ( พ.ศ. ŚśšŠ ) ซึÉงมีสาระสําคัญ ดังนีÊ
ř. ยกเลิกการค้าผูกขาดเป็นการค้าเสรี
Ś. ยกเลิกภาษีปากเรือ ให้เก็บภาษีขาเข้าในอัตราร้อยละ ś
ś. อนุญาตให้ข้าวเป็นสินค้าออก และอนุญาตให้นําฝิÉนเข้ามาจําหน่ายแก่เจ้าภาษีฝิÉน
Ŝ. ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
ŝ. ไม่มีการกําหนดอายุสิÊนสุดของสัญญา
นอกจากนีÊหากมีการยกเลิกหรือแก้ไขสนธิสัญญาฉบับนีÊจะกระทําได้ต่อเมืÉอคู่สัญญายินยอมและ
กระทําได้ภายหลังลงนามแล้ว řŘ ปี สนธิสัญญาฉบับนีÊยังเป็นแบบให้ชาติอืÉนเข้ามาทําสัญญาใน
ลักษณะนีÊซึÉงได้สร้างปัญหาเศรษฐกิจระยะยาวแก่รัฐบาลไทย เพราะก่อให้เกิดการเปลีÉยนแปลง
ทางเศรษฐกิจไทยไปเป็นเศรษฐกิจการค้า และอุตสาหกรรมไทยสมัยใหม่ในเวลาต่อมา คือ
1. ใช้วิธีการค้าแบบเสรี กรมพระคลังสินค้าถูกยกเลิก ทําให้การค้าและระบบเศรษฐกิจของไทย
ขยายตัว
2. นําไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบเงินตราและการเปลีÉยนแปลงการผลิต การใช้เงินตราเป็นตัวกลาง
ในการแลกเปลีÉยนสินค้าและเปลีÉยนจากการผลิตเพืÉอพอเลีÊยงชีพไปเป็นการผลิตสินค้าเฉพาะ
อย่างเพืÉอการค้า เช่น ข้าว ไม้สัก ดีบุก นํÊาตาล เพราะสินค้าเหล่านีÊเป็นสินค้าออกเพืÉอเป็น
วัตถุดิบป้ อนแหล่งอุตสาหกรรมของโลก เศรษฐกิจไทยถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึÉงของระบบ
เศรษฐกิจโลก การผลิตเพืÉอบริโภคก็เปลีÉยนมาเป็นการผลิตเพืÉอการค้า และมีการนํา
เครืÉองจักรมาใช้ในการผลิตด้วย ก่อให้เกิดการล่มสลายของหัตถกรรมในครัวเรือน เช่น การ
ตัÊงโรงสีข้าวด้วยเครืÉองจักร มีการขยายพืÊนทีÉการเพาะปลูก โดยเฉพาะในพืÊนทีÉราบภาคกลาง
การขุดคลองเพืÉอเปิดทีÉดินใหม่ ทําให้เกิดการรับรองกรรมสิทธิÍทีÉดิน ปรากฏว่าชนชัÊนสูงมี
โอกาสเป็นเจ้าของทีÉดินมากกว่า ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างเจ้าของทีÉดินและ
เกษตรกรผู้เช่าทีÉดิน ชาวนาส่วนใหญ่ไม่มีทีÉดินเป็นของตนเอง ต้องอยู่ในฐานะผู้เช่าทีÉดิน หรือ
หากมีทีÉดินก็มักจะได้ทีÉระดับคุณภาพตํÉา มีการขยายตัวของอุตสาหกรรมป่าไม้ เหมืองแร่
3. การปฏิรูปการคลังสมัยรัชกาลทีÉ ŝ โดยจัดตัÊงหอรัษฎากรพิพัฒน์และกรมพระคลังมหาสมบัติ
เพืÉอควบคุมการรวบรวมและการจัดเก็บภาษีอากร นําไปสู่การจัดทํางบประมาณแผ่นดินเป็น
12
ครัÊงแรก ทําให้ขุนนางส่วนกลางและส่วนท้องถิÉนทีÉเคยได้ประโยชน์จากภาษีอากรแบบเก่า
ต้องลดบทบาททางเศรษฐกิจของตน นอกจากนีÊยังมีการแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์
พระมหากษัตริย์ออกจากทรัพย์สินของประเทศ มีการจัดตัÊงธนาคารพาณิชย์ขึÊน เช่นธนาคาร
ฮ่องกงและเซีÉยงไฮ้ ธนาคารชาเตอร์ ส่วนธนาคารแห่งแรกของคนไทย คือ บุคคลัภย์ หรือ
สยามกัมมาจล ต่อมาคือ ธนาคารไทยพาณิชย์
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึง รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ผลของสนธิสัญญาเบาว์ริÉง ก่อให้เกิดปัญหาด้านการคลังของไทยเป็นอย่างมาก ความพยายามทีÉจะ
รักษาดุลระหว่างรายรับ รายจ่าย และความพยายามทีÉจะไม่กู้เงินจากต่างประเทศ เพราะเกรงจะถูกแทรกแซง
ด้านการเมือง ต่อมาในรัชกาลทีÉ Ş เกิดปัญหาด้านการเกษตร เกิดภาวะฝนแล้งส่งผลทําให้เกิดวิกฤตการณ์ข้าว
ขาดแคลนภายในประเทศ รัฐบาลจึงห้ามส่งข่าวออกขายต่างประเทศ ทําให้ต้องสูญเสียรายได้ ผลคือขาด
ดุลการค้า ประจวบกับวิกฤตการณ์เศรษฐกิจตกตํÉาทัÉงโลกหลังสงครามโลกครัÊงทีÉ ř ปัญหาเศรษฐกิจดังกล่าว
ส่งผลกระทบถึงรัชกาลทีÉ ş พระองค์ทรงพยายามแก้ปัญหาหลายวิธี ได้แก่ การดําเนินนโยบายลดรายจ่ายของ
รัฐบาลและส่วนพระมหากษัตริย์ลง เพิÉมภาษีอากรหลายชนิด ยุบหน่วยงานทีÉสําคัญ คือ การดุล(ปลด)ข้าราชการ
ออกจากงาน ซึÉงประเด็นนีÊนําไปสู่ความไม่พอใจของข้าราชการบางกลุ่มทีÉได้รับการศึกษาจากตะวันตกและได้
แนวคิดประชาธิปไตยได้วิพากษ์วิจารณ์ความล้มเหลวของรัฐบาลในการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจว่าเป็น
เพราะรัฐบาลขาดความเอาใจใส่ในการวางรากฐานเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะปัญหาการเกษตรทีÉพึÉงพา
ธรรมชาติเป็นเหตุนําไปสู่การเปลีÉยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย เมืÉอวันทีÉ ŚŜ มิถุนายน ŚŜşŝ
เศรษฐกิจไทยหลังการเปลีÉยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ŚŜşŝ ถึงหลังสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś
ř. นโยบายเศรษฐกิจของคณะราษฎร – สมัยสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś นโยบายเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์
มนูธรรม โดยเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ (สมุดปกเหลือง) ซึÉงมีลักษณะแก้ปัญหาคล้ายระบบสหกรณ์ แต่
ไม่ได้ประกาศใช้ เพราะรัฐบาลขณะนัÊนไม่เห็นชอบ และรัชกาลทีÉ ş ก็ทรงมีพระราชดําริไม่เห็นชอบ(สมุดปกขาว)
โดยเกรงว่าลักษณะค่อนไปทางสังคมนิยม รัฐบาลไทยจึงดําเนินนโยบายเศรษฐกิจเป็นแบบเสรีนิยมมาโดยตลอด
ทําให้เศรษฐกิจส่วนใหญ่ตกอยู่ในมือของชาวจีนและชาวตะวันตก สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น
นายกรัฐมนตรี รัฐบาลดําเนินนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจเพืÉอให้คนไทยมีงานทํา และขจัดอิทธิพลทาง
เศรษฐกิจของคนต่างชาติลดบทบาทการผูกขาดทางเศรษฐกิจของชาติตะวันตกและชาวจีนเรียกร้องให้คนไทย
นิยมใช้สินค้าทีÉผลิตภายในประเทศ เพืÉอให้คนไทยพึÉงพาตนเองได้ รัฐบาลเข้าไปมีบทบาททางเศรษฐกิจโดยเข้า
ดําเนินธุรกิจภายในประเทศเอง รวมไปถึงการจัดตัÊงรัฐวิสาหกิจ ได้แก่บริษัทกึÉงราชการทําให้ไม่สามารถกําจัด
อิทธิพลของพ่อค้าจีน เพราะต้องพึÉงการจัดการของชาวจีน
ระหว่างสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś รัฐบาลไทยดําเนินนโยบายทีÉมีสัมพันธภาพกับฝ่ายโลกเสรี สภาวะ
เศรษฐกิจไทยเติบโตขึÊนเพราะผลจากสงครามเกาหลี จอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเข้ามามีอํานาจทางการเมือง
อีกครัÊง และยังคงดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยม โดยเข้ามามีบทบาทด้านการลงทุนในรูป
13
รัฐวิสาหกิจทีÉเรียกว่าทุนนิยมโดยรัฐและส่งเสริมธุรกิจภาคเอกชน ซึÉงเศรษฐกิจแบบชาตินิยมนีÊก่อให้เกิดการ
แสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างพ่อค้ากับราชการทําให้อํานาจทางเศรษฐกิจไทยตกอยู่ในมือของกลุ่ม
นายทุนเก่าและใหม่ แต่สําหรับการแก้ปัญหาพืÊนฐานของสังคมไทยนัÊนรัฐบาลเข้าไปแก้ปัญหาน้อยมาก เช่น
เรืÉองกรรมสิทธิÍทีÉดิน หรือการผลิตแบบล้าหลัง
Ś. นโยบายเศรษฐกิจภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติรัฐบาลภายใต้การนําของจอม
พลสฤษดิÍ ธนะรัชต์ ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นครัÊงแรก โดยรัฐบาลไทยได้รับการช่วยเหลือ
จากสหรัฐอเมริกาเพืÉอปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยและก้าวหน้าและดําเนินการต่อเนืÉองเรืÉอยมาจนถึงปัจจุบัน เป็น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับทีÉ Š แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนีÊก่อให้เกิดการเปลีÉยนแปลง
ในสังคมไทยอย่างมาก คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ř (พ.ศ. ŚŝŘŜ – ŚŝŘš) เป็น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจล้วนๆ เพียงฉบับเดียว เน้นการขยายบริการพืÊนฐานทางเศรษฐกิจ เพืÉอเสริมสร้าง
บรรยากาศการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศโดยการสร้างถนน ไฟฟ้ า ฯลฯ ขยาย
การศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ระดับภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ สงขลา ขอนแก่น เน้นการเพิÉมรายได้ประชาชาติและ
ก่อให้เกิดชนชัÊนกลาง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Ś ( พ.ศ. ŚŝřŘ – ŚŝřŜ ) รวมแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมเข้าด้วยกัน ขยายการพัฒนาสู่ชนบทเพืÉอขจัดการแทรกซึมของพรรคคอมมิวนิสต์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ś ( พ.ศ. Śŝřŝ – Śŝřš ) กระจายรายได้ระหว่างเมือง
และชนบท กําหนดนโยบายประชากร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Ŝ ( พ.ศ. ŚŝŚŘ - ŚŝŚŜ ) เร่งขยายการผลิตเพืÉอส่งออก
ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างเมืองและชนบท มุ่งสร้างความเป็นธรรมในสังคม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ŝ ( พ.ศ. ŚŝŚŝ – ŚŝŚš ) เน้นรักษาเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจ ขยายพืÊนทีÉพัฒนาบริเวณทะเลฝัÉงตะวันออก
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Ş ( พ.ศ. ŚŝśŘ - ŚŝśŜ ) ปรับปรุงประสิทธิภาพการ
ผลิตตลาด เพืÉอให้สินค้าไทยแข่งกับต่างประเทศ เพิÉมประสิทธิภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ş ( พ.ศ. Śŝśŝ – Śŝśš ) รักษาอัตราการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและต่อเนืÉอง กระจายรายได้และการพัฒนาสู่ชนบท
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Š ( พ.ศ. ŚŝŜŘ – ŚŝŜŜ ) มุ่งเน้นพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์และบูรณะรักษาสิÉงแวดล้อม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ š ( พ.ศ. ŚŝŜŝ – ŚŝŜš ) มุ่งเน้นการสร้างระบบบริหาร
จัดการทีÉดีในสังคมไทย การเสริมสร้างฐานรากของสังคมให้แข็งแรง การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้มีความ
สมดุลและยัÉงยืน
14
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ řŘ ( พ.ศ. ŚŝŝŘ – ŚŝŝŜ ) นําแนวพระราชดําริ
เศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์อย่างยัÉงยืน
หลังจากประเทศไทยประกาศใช้แผนเศรษฐกิจและสังคมมาเป็นเวลา ŜŘ ปี ปรากฏว่าความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอยู่ในเกณฑ์และก้าวหน้า ส่งผลให้ผลผลิตทัÊงภาคเกษตรกรรม
และอุตสาหกรรมมีอัตราเพิÉมสูงขึÊนและมีกรรมวิธีในการผลิตทีÉอาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การ-
สาธารณูปโภคได้รับการปรับปรุงและกระจายไปสู่ชนบทมากขึÊน การลงทุนจากต่างประเทศสูงขึÊน อัตราการกู้ยืม
เงินตราต่างประเทศลดลงและอัตราการเพิÉมประชากรลดลง แต่ความเจริญเติบโตเหล่านีÊมิได้กระจายไปสู่
ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ยังมีปัญหาความยากจนและความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้ ความ
เจริญด้านต่างๆ กระจุกอยู่ตามเมืองใหญ่ และในกรุงเทพ ฯ ช่องว่างระหว่างบุคคลมีมากขึÊนรวมไปถึงปัญหา
มลพิษทีÉเกิดจากการพัฒนาประเทศด้านอุตสาหกรรม กลุ่มนายทุนและนักการเมืองร่วมมือประสานประโยชน์
ทางเศรษฐกิจและสร้างเสริมอํานาจทางการเมืองในปัจจุบัน
------------------------------------------------
15
ประวัติศาสตร์สากล
ř. ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ř.ř ยุคหิน
ยุคหิน ( Paleolithic Age หรือ
Old stone Age )
ยุคหินกลาง ( Mesolithic Age
หรือ Middle Stone Age )
ยุคหินใหม่ ( Neolithic Age หรือ
New Stone Age )
ř. อายุประมาณ Ś ล้านปี
Ś. ดํารงชีพด้วยการล่าสัตว์ เก็บ
ผลไม้ป่า
ś. อาศัยตามถํÊาหรือทีÉพัก
หยาบๆ
Ŝ. พึÉงพาธรรมชาติ ไม่เข้าใจ
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ŝ. รู้จักใช้ไฟ
Ş. ประกอบพิธีฝังศพ อันเป็น
จุดเริÉมต้นของศาสนา
ş. ภาพจิตรกรรมผนังถํÊาตาม
ความเชืÉอและพิธีกรรม
ř. อายุประมาณ Š พันปี ก่อน
คริสต์ศักราช
Ś. เริÉมรู้จักเพาะปลูกและเลีÊยงสัตว์
แบบง่ายๆ
ś. ภาพจิตรกรรมผนังถํÊามีความ
ซับซ้อนมากขึÊน จุดมุ่งหมายเพืÉอ
พิธีกรรมความเชืÉอเรืÉองวิญญาณ
Ŝ. มีพิธีกรรมเกีÉยวกับพระ
ř. อายุประมาณ Ŝ พันปี ก่อน
คริสต์ศักราช
Ś. ผลิตอาหารได้เอง รู้จักเก็บกัก
อาหาร หยุดเร่ร่อน
ś. เครืÉองมือเครืÉองใช้ทีÉทําด้วยหิน
ประณีตขึÊน เรียกว่า “หินขัด”
Ŝ . รู้ จั ก ก า ร ท อ ผ้ า ทํ า
เครืÉองปัÊนดินเผา ทําเครืÉองทุ่นแรง
เช่นการเสียดสีให้เกิดไฟ ประดิษฐ์
เรือ
ŝ. รวมกลุ่มสังคมเกษตรกรรมเป็น
หมู่บ้านมีการจัดระเบียบเพืÉอ
ควบคุมสังคม มีหัวหน้าชุมชน
Ş. อนุสาวรีย์หิน ( Stonehenge)
ซึÉง ถื อ เ ป็ น ก า ร เ ริÉ ม ต้ น ง า น
สถาปัตยกรรมของมนุษย์ เชืÉอว่า
สร้างเพืÉอคํานวณทางดาราศาสตร์
พิธีกรรมทางศาสนาทีÉเกีÉยวข้องกับ
การเกษตรหรือบูชาพระอาทิตย์
ř.Ś ยุคโลหะ
- ทองแดง
- สําริด
- เหล็ก
16
Ś. ยุคประวัติศาสตร์
Ś.ř สมัยโบราณ
อียิปต์
- ศูนย์กลางของอารยธรรมอยู่ทีÉลุ่มแม่นํÊาไนล์ มีปราการธรรมชาติเป็นทะเลทรายล้อมรอบ
- เป็นสังคมเกษตรกรรมพัฒนาจนเป็นเมือง (โมนิส) ขยายพืÊนทีÉเพาะปลูก สร้างเขืÉอน
- มีการสถาปนาราชวงศ์ขึÊนปกครอง กษัตริย์ เรียกว่า ฟาโรห์ เป็นกึÉงกษัตริย์กึÉงเทพเจ้า
- โครงสร้างทางสังคมแบ่งเป็น ś ชนชัÊนคือ
ฟาโรห์
ชนชัÊนสูง พระขุนนาง
ชนชัÊนกลาง พ่อค้า , ช่างฝีมือ
ชนชัÊนตํÉา ประชาชน ชาวนา ชาวไร่ ทาส
- เจริญรุ่งเรืองด้านอารยธรรม มีการประดิษฐ์อักษรภาพ ( เฮียโรกลิฟฟิค) และจารึกบนแผ่นกระดาษ
ปาปิรุส
- ผูกพันกับพิธีกรรมและพระเจ้า ตัÊงแต่เกิด – ตาย นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เทพเจ้าสูงสุด คือ รา
หรือ เร ( สุริยเทพ ) เทพเจ้าทีÉสําคัญ คือ เทพโอชิรส
- เชืÉอเรืÉองวิญญาณและเชืÉอเรืÉองโลกหน้า จึงทําให้มีการทํามัมมีÉเพืÉอรักษาร่างผู้ตายไม่ให้เน่าเปืÉอย
สร้างพีระมิดไว้เก็บศพฟาโรห์
- ศิลปะจึงสะท้อนความคิดและความเชืÉอของคนในสังคม เช่น การสร้างพีระมิด สฟิงซ์ วิหารเทพ
เจ้า เสาโอเบลิสก์ คัมภีร์มรณะ ( Book of the Dead )
เมโสโปเตเมีย
- เป็นบริเวณทีÉอุดมสมบูรณ์ระหว่างแม่นํÊา Ś สาย คือ แม่นํÊาไทกรีส และ ยูเฟรติส จึงทําให้ชนชาติ
ต่างๆ แย่งชิงผลัดเปลีÉยนเข้ามาสร้างสรรค์อารยธรรมของตน
- ชาติแรกทีÉเข้า คือ สุเมเรียน ซึÉงมีความเจริญด้านการเกษตร รู้จักงานชลประทานและจัดการ
ปกครองแบบนครรัฐได้เป็นครัÊงแรก
- ประดิษฐ์อักษรลิÉม ( Cuneiform ) ลงบนแผ่นดินเหนียว มีความเจริญด้านคณิตศาสตร์ เช่น การคูณ
หาร ถอดรากกําลัง Ś เลขฐาน ŞŘ มีการติดต่อค้าขายกับภายนอก
- นับถือเทพเจ้าหลายองค์ วิหารบูชาเทพเจ้า คือ ซิกกูแรต ( Ziggurat )
17
- บาบิโลเนีย ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมบูราบี ใช้บทลงโทษทีÉรุนแรง “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน”
เพืÉอสร้างระเบียบและความยุติธรรมให้แก่ดินแดน ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของโลก
- อัสซีเรีย การแกะสลักภาพนูนตํÉา ( bas – relief ) แสดงการสู้รบของกษัตริย์อัสซูร์บาลิปาล รวบรวม
งานเขียนของนักปราชญ์ไว้ทีÉห้องสมุดเมืองเนเวห์ ( Nineveh ) ซึÉงเป็นห้องสมุดแห่งแรกของโลก
- คาลเดีย สร้างสวนลอยแห่งกรุงบาบิโลน มีความสามารถด้านดาราศาสตร์ แบ่งสัปดาห์ = 7 วัน
สามารถทํานายสุริยุปราคา และนําเอาดาราศาสตร์มาเป็นเครืÉองทํานายชะตาชีวิตมนุษย์
- เปอร์เซีย ระบอบการปกครองแบบจักรวรรดินิยมทีÉมัÉนคง ขยายการค้าเข้าไปยังดินแดนต่างๆ
- ฟินิเซีย มีความสามารถด้านการค้า การแลกเปลีÉยนเงินตรา เป็นชาติแรกทีÉมีเหรียญคําทองใช้ เป็น
ผู้เผยแพร่วัฒนธรรมของชาติต่างๆ ในภูมิภาคนีÊ
กรีก
กรีก เป็นเชืÊอสายอินโด – ยูโรเปีÊยน เรียกวัฒนธรรมตนเองว่า เฮเลนนีส ( Hellenes) เรียกบ้านเมือง
ตนเองว่า เฮลลัส ( Hellas ) ยุคเฮเลนิค ( Hellenic Civilization)
- มีศูนย์กลางอยู่ทีÉเอเธนส์ มีการปกครองแบบนครรัฐ ศูนย์กลางของนครรัฐอยู่ทีÉ “อะโครโปลิส”
- มีความรุ่งเรืองทางการค้ามาก การเดินทางไปค้าขายกับดินแดนต่างๆ ทําให้ชาวกรีกมีโลกทัศน์
กว้างขวาง และรับวัฒนธรรมจากดินแดนต่างๆ ทําให้ชาวกรีกเป็นคนอยากรู้อยากเห็น เชืÉอมัÉน
ในเหตุผล เชืÉอในดุลพินิจของตน ส่งผลต่อแนวคิดมนุษย์นิยม ( Humanism)
- สนใจในธรรมชาตินิยม (Naturalism) นับถือเทพเจ้าหลายองค์ แต่มีอิสรภาพทางความคิด เพราะ
ศาสนาไม่มีอิทธิพลวิถีเหนือชีวิตของคนในสังคมมากนัก
- แนวคิดประชาธิปไตย มนุษย์ปกครองแบบนครรัฐอิสระ เช่น นครรัฐเอเธนส์ ปกครองแบบ
ประชาธิปไตยทางโดยพลเมืองชายทีÉเป็นเจ้าของทีÉดินและเกิดในนครรัฐจะมีสิทธิในการปกครองมี
สิทธิในการเข้าประชุมสภาราษฎร
อารยธรรมของกรีกซึÉงเป็นรากฐานของอารยธรรมตะวันตกในปัจจุบัน ได้แก่
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม
เน้นความยิÉงใหญ่ เรียบง่าย
กลมกลืน
- ดอริก : มหาวิหารพาร์เธนอน
- ไอโอนิค
- โครินเซียน
เป็ นการปัÊนทีÉมีสัดส่วนและ
สรีระทีÉเป็ นมนุษย์จริง การ
เปลือยกายเป็นการแสดงออก
ถึงความงามของมนุษย์ตาม
ธรรมชาติ เช่น นักขว้างจักร
จิตรกรรมทีÉมีชืÉอเสียง ได้แก่
ก า ร เ ขี ย น ภ า พ บ น
เครืÉองปัÊนดินเผาลวดลาย
ต่างๆ
18
วรรณกรรม ละคร
มหากาพย์อีเลียตและโอเดสซีของโฮมเมอร์
นิทานอีสปและงานด้านปรัชญาของเพลโต โส
เกรตีส อริสโตเติÊล
ละครสุขนาฏกรรม ( Comedy )
ละครโศกนาฏกรรม ( Tragedy ) การสร้างโรง
มหรสพ
ส่วนสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชนัÊน เป็นยุคทีÉกรีกเผยแพร่วัฒนธรรมของตนไปยังด้าน
ตะวันออก จนสามารถครอบครอง อียิปต์ เปอร์เซีย จนถึงตอนเหนือของอินเดียจึงมีการผสมผสานศิลปะกรีกกับ
ศิลปะตะวันออก จึงเป็นศิลปะทีÉเน้นความงดงามแบบหรูหรา อลังการ แสดงถึงอารมณ์อย่างรุนแรง
โรมัน
- ถือว่าเป็นผู้สืบทอดวัฒนธรรมของกรีก เพราะผสมผสานวัฒนธรรมกรีก กับของอีทรัสกันเข้า
ด้วยกัน เช่น การวางผังเมือง การแกะสลัก เครืÉองปัÊนดินเผา ท่อระบายนํÊา การใช้ประตูโค้ง
- โรมันปกครองแบบสาธารณรัฐ ซึÉงประกอบด้วยตําแหน่งมี Ś คน เป็นประมุขฝ่ายบริหารและมี
สภาสูงจํานวน śŘŘ คน ประกอบด้วย ชนชัÊนสูงและเจ้าของทีÉดิน ( Patrician ) ส่วนสภาราษฎร
ประกอบด้วยพลเมืองโรมันทัÊงพาทริเซียนและพลีเบียน ( Plebeian) คือชนชัÊนสามัญชน
- ต่อมาพวกพลีเบียนมีบทบาททางการเมืองมากขึÊนและมีสิทธิในการปกครองและสามารถแต่งตัÊง
ตําแหน่งตรีบูน( Tribune ) ซึÉงมีสิทธิÍออกเสียง Vote ทําให้มีการบันทึกกฎหมายเป็นลายลักษณ์
อักษร เรียกว่ากฎหมายสิบสองโต๊ะ ซึÉงเป็นกฎหมายฉบับแรกของโรมันทีÉเป็นลายลักษณ์อักษร
มีความเสมอภาคทางกฎหมายทําให้การตัดสินคดีมีมาตรฐานเดียวกัน
- มีการแบ่งแยกอํานาจกัน ทหารเข้ามามีบทบาททางการเมืองมากขึÊน จูเลียส ซีซาร์ ดํารง
ตําแหน่งผู้เผด็จการตลอดชีพ ส่วนออกัสตัส ซีซาร์ตัÊงตนเป็นจักรพรรดิทําให้การปกครองระบบ
สาธารณรัฐสิÊนสุด การปกครองแบบจักรพรรดิÍ เรียกว่า “สมัยสันติภาพโรมัน” อันเป็นผล
ปรับปรุงการปกครอง ปรับปรุงภาษี ขยายดินแดน สร้างสาธารณูปโภค เช่น สะพาน ถนน ท่อนํÊา
ทีÉจักรพรรดิรวมกันได้อย่างมัÉนคงเพราะมีกฎหมายควบคุม ตลอดจนการปลูกฝังวัฒนธรรมและ
ภาษาละติน ค.ศ. ŜşŞ จักรพรรดิโรมันตะวันตกถูกยึดครองโดยพวกอนารยชนเผ่าติวตัน
- ชาวโรมันเป็นนักปฏิวัติ นักประยุกต์ เพืÉอให้เกิดประโยชน์ใช้สอย นับถือเทพเจ้าตามอย่างกรีก
แต่เปลีÉยนชืÉอ นําศิลปะมารับใช้มนุษย์แทนการรับใช้พระเจ้า
- ชาวโรมันคํานึงถึงประโยชน์ในการใช้สอย ความรับผิดชอบต่อสังคม ความมีระเบียบวินัย ความ
หรูหรา ความสะดวกสบายและการแสดงออกถึงความยิÉงใหญ่ของอํานาจรัฐ เช่นวิหารแพนธี
ออน โคลอสเซียม โรงละคร ทีÉอาบนํÊาสาธารณะ
- จิตรกรรม ภาพวาดทีÉฝาผนังนครปอมเปอี
- วรรณกรรม มหากาพย์เอเนียต ( Aenied ) ของเวอร์จิล
19
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา

More Related Content

What's hot

ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกKlangpanya
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 

What's hot (6)

ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
V 263
V 263V 263
V 263
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 

Viewers also liked

Authority Control Part II
Authority Control Part IIAuthority Control Part II
Authority Control Part IIKelley Rowan
 
Ebola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIH
Ebola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIHEbola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIH
Ebola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIHelfinagnostic5474
 
Menu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO Restaurant
Menu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO RestaurantMenu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO Restaurant
Menu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO RestaurantMarco Ciofetta
 
Affordable Housing Facts by Wish Empire
Affordable Housing Facts by Wish EmpireAffordable Housing Facts by Wish Empire
Affordable Housing Facts by Wish EmpireWish Empire
 
الحملة التوعوية للحدائق
الحملة التوعوية للحدائقالحملة التوعوية للحدائق
الحملة التوعوية للحدائقValuecorporate
 
ADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICS
ADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICSADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICS
ADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICSFazil Marakkat
 
SobekCM Mets Editor for Use with dPanther
SobekCM Mets Editor for Use with dPantherSobekCM Mets Editor for Use with dPanther
SobekCM Mets Editor for Use with dPantherKelley Rowan
 

Viewers also liked (8)

Authority Control Part II
Authority Control Part IIAuthority Control Part II
Authority Control Part II
 
Ebola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIH
Ebola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIHEbola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIH
Ebola Nurse Nina Pham Goes from Good to Fair After Trip to NIH
 
Memphis shelby county agriscience 2 13 presentation
Memphis shelby county agriscience 2 13 presentationMemphis shelby county agriscience 2 13 presentation
Memphis shelby county agriscience 2 13 presentation
 
Menu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO Restaurant
Menu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO RestaurantMenu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO Restaurant
Menu autunnale ristorante vegano a Perugia YOO Restaurant
 
Affordable Housing Facts by Wish Empire
Affordable Housing Facts by Wish EmpireAffordable Housing Facts by Wish Empire
Affordable Housing Facts by Wish Empire
 
الحملة التوعوية للحدائق
الحملة التوعوية للحدائقالحملة التوعوية للحدائق
الحملة التوعوية للحدائق
 
ADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICS
ADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICSADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICS
ADDITIVE MANUFACTURING OF THERMOPLASTICS
 
SobekCM Mets Editor for Use with dPanther
SobekCM Mets Editor for Use with dPantherSobekCM Mets Editor for Use with dPanther
SobekCM Mets Editor for Use with dPanther
 

Similar to สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา

TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1kurorma Bent
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Lib Rru
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e newsshm-nstda
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓weskaew yodmongkol
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกNoeyNoey
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์Thanawut Rattanadon
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52Somdetpittayakom Spk
 

Similar to สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา (20)

Occ03
Occ03Occ03
Occ03
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
V 275
V 275V 275
V 275
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
V 274
V 274V 274
V 274
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
5
55
5
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
V 261
V 261V 261
V 261
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
วารสารประดิพัทธ์ ฉบับที่ 52
 
V250
V250V250
V250
 
V250
V250V250
V250
 

More from Pasit Suwanichkul

สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานPasit Suwanichkul
 
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษ
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษสรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษ
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษPasit Suwanichkul
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทยสรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทยPasit Suwanichkul
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 

More from Pasit Suwanichkul (6)

สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษ
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษสรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษ
สรุปเข้มฯ#7 ภาษาอังกฤษ
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทยสรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 

สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. ประวัติศาสตร์ไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นววรรณ วุฒฑะกุล ř.ความหมาย - วิชาว่าด้วยเรืÉองราวเกีÉยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ทัÊงความสําเร็จและความล้มเหลวรวมทัÊงสิÉง ทีÉมนุษย์ค้นคว้าและประดิษฐ์ขึÊน - ศึกษาโดยอาศัยร่องรอยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึÉงนักประวัติศาสตร์ต้องใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้า โดยคํานึงถึงมิติเวลา และความสําคัญทีÉเรืÉองราวนัÊนๆ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สังคมอย่างไร Ś. วิธีการทางประวัติศาสตร์ - ตัÊงคําถาม / หัวข้อทีÉสนใจ - สํารวจเอกสาร - ตัÊงสมมติฐาน - ค้นคว้าข้อมูล – หลักฐานทางประวัติศาสตร์ - วิเคราะห์ – ประเมินคุณค่าของหลักฐาน - การตีความ - การวิเคราะห์ การศึกษาประวัติศาสตร์ด้วยวิธีทางประวัติศาสตร์ มีความสําคัญและเกิดประโยชน์ เพราะ - ทําให้การศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์เป็นไปอย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ - ทําให้ได้เรียนรู้ความเป็นมาและวิวัฒนาการของมนุษย์ในอดีต ประสบการณ์ของมนุษย์ใน ประวัติศาสตร์เป็นบ่อเกิดแห่งความรู้ของมนุษย์ในสมัยต่อมา - สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ทัÊงหมดในแง่ของเวลา บุคคล สถานทีÉ ฯลฯ - ช่วยรักษาความต่อเนืÉองของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต - ทําให้มีความรู้ความเข้าใจเกีÉยวกับประสบการณ์ต่าง ๆ ของมนุษย์อย่างมีเหตุผล มองเห็นคุณค่า ของมนุษย์ทีÉสร้างความเจริญด้านต่างๆแก่สังคม - สามารถใช้เป็นบทเรียน หรือ แบบอย่างในการแก้ปัญหา และ ในการประพฤติของคนในสังคมตาม วิถีทางทีÉถูกต้อง ทําให้มนุษย์มีวิวัฒนาการตามแนวทางทีÉเหมาะสม - ทําให้ผู้ศึกษามีความเฉลียวฉลาดขึÊน สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทัÊงปัจจุบันและ อนาคต ś. การศึกษาประวัติศาสตร์ - แบ่งตามยุคสมัย เช่น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ ฯลฯ - แบ่งตามขอบเขต เช่น ประวัติศาสตร์ไทย ประวัติศาสตร์สากล ประวัติศาสตร์ท้องถิÉน ฯลฯ 1
  • 8. - แบ่งตามด้านต่าง ๆ เช่นประวัติศาสตร์การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์สังคม ฯลฯ - แบ่งตามภูมิศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์เอเชีย ประวัติศาสตร์อเมริกา ฯลฯ Ŝ. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ - จําแนกตามความสําคัญ ได้แก่ หลักฐานขัÊนต้นหรือปฐมภูมิ หลักฐานชัÊนรองหรือทุติยภูมิ - จําแนกตามหลักฐานลักษณะ ได้แก่ หลักฐานลายลักษณ์อักษร และหลักฐานทีÉไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร ŝ.การแบ่งยุคสมัย - การนับศักราชแบบไทย พ.ศ. นับเมืÉอพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ( พ.ศ. – ŝŜś = ค.ศ.) ม.ศ. ไทยได้รับจากอินเดียโดยผ่านขอม ( ม.ศ. – ŞŚř = พ.ศ.) จ.ศ. แพร่หลายอาณาจักรล้านนาใช้จดในจารึกตํานาน พระราชพงศาวดาร เอกสาร ทางราชการ จดหมายเหตุ ( จ.ศ. + řřŠř = พ.ศ.) ร.ศ. เริÉมนับเมืÉอตัÊงกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี ( ร.ศ. + ŚśŚŜ = พ.ศ.) - การนับศักราชแบบสากล ค.ศ. นับตัÊงแต่วันทีÉพระเยซูประสูติ ( ค.ศ. + ŝŜś = พ.ศ.) ฮ.ศ. นับตัÊงแต่ปีทีÉนบีมูฮําหมัดหนีออกจากเมืองเมกกะไปยังเมืองมะดินา ( ฮ.ศ. + řřŚŚ = พ.ศ.) ř. สภาพสังคมไทย การจัดระเบียบทางสังคมไทย สมัยอยุธยา การจัดลําดับชัÊนในสังคมชัดเจนขึÊน โดยจัดลําดับชัÊนตาม “ระบบศักดินา” - ศักดินาเป็นเครืÉองกําหนดฐานะของคนในสังคม หรือ การแบ่งลําดับชนชัÊนในสังคม - เป็นเครืÉองกําหนดจํานวนไพร่พลทีÉสังกัดมูลนาย หรือ ความพยายามควบคุมกําลังคนให้รวมเป็นกลุ่ม เพืÉอสะดวกในการเกณฑ์แรงงานไปใช้ประโยชน์ - กําหนดบทบาท สิทธิ และหน้าทีÉของคนในสังคมมากน้อยต่างกันขึÊนอยู่กับตําแหน่ง บรรดาศักดิÍและ ราชทินนาม โดยถือตามกฎหมายทีÉประกาศใช้ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ คือ “พระไอยการ ตําแหน่งนาพลเรือนและพระไอยการตําแหน่งนาทหารหัวเมือง” เพืÉอให้ระบบศักดินารัดกุมและมัÉนคง ขึÊน กฎหมายฉบับนีÊกําหนดให้ทุกคนมีศักดินาเพืÉอกําหนดหน้าทีÉทีÉมีต่อรัฐตามชาติกําเนิด ศักดินาจึง ครอบคลุมถึงระบบการปกครอง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการจัดระเบียบคนในสังคม - เป็นสิÉงกําหนดการลงโทษความผิดทางกฎหมาย เรียกว่า การปรับไหม หรือกําหนดการใช้เครืÉองยศ ของชนชัÊนสูง - ศักดินาจึงครอบคลุมทัÊงระบบการปกครอง เศรษฐกิจ การจัดระเบียบของคนในสังคมและวัฒนธรรม 2
  • 9. การควบคุมกําลังคนเช่นนีÊทําให้สังคมคงอยู่ได้เพราะมีลักษณะ Ś ประเภท คือ ř .ความสัมพันธ์ในระบบอุปถัมภ์ Ś. อิทธิพลจากพระพุทธศาสนา การเลืÉอนฐานะของคนในสังคม ř. บวช Ś. ทําความดีความชอบทางราชการ ś. ทาสสามารถไถ่ตนเองได้ การเลิกไพร่ – ทาส สาเหตุ ř. เพืÉอสร้างความมัÉนคงแก่ราชบัลลังก์ เพืÉอรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง คือ สถาบันกษัตริย์ ซึÉงนํามาซึÉง ความเป็นเอกภาพและความเป็นเอกราชของชาติ Ś. ความจําเป็นทีÉต้องการแรงงานเพืÉอทํานา รัฐบาลส่งเสริมการปลูกข้าว เพราะเป็นสินค้าทีÉต้องการ ของตลาดโลก ś. ป้ องกันลัทธิจักรวรรดินิยม พ.ร.บ. เกณฑ์ทหาร พ.ศ. ŚŜŜŠ ชายฉกรรจ์ อายุ řŠ ปี รับราชการ Ś ปี ปลดเป็นกองหนุน พ.ร.บ. พิกัดเกษียณอายุลูกทาสลูกไทย พ.ศ. ŚŜřş พ.ร.บ. ทาส พ.ศ. ŚŜŜŠ ยกเลิกทาส ผลจากการเลิกไพร่ – ทาส ř. ไพร่และทาสเปลีÉยนฐานะมาเป็นชาวไร่ ชาวนา และกรรมกรในสังคมสมัยใหม่ ขุนนางก็กลายเป็น นายทุนทีÉดิน Ś. คนไทยมีความเสมอภาค เป็นเสรีชน ซึÉงเป็นรากฐานการปรับปรุงประเทศสมัยใหม่ ś. อํานาจทางการเมืองของกษัตริย์มัÉนคงขึÊน การจัดการศึกษา การติดต่อกับตะวันตกทําให้ชนชัÊนนําเห็นความสําคัญของวิทยาการและเทคโนโลยีจากตะวันตก จึงต้องจัดการศึกษาแบบตะวันตก จุดประสงค์ของการจัดการศึกษาแบบตะวันตก เพืÉอผลิตบุคลากรเข้ารับ ราชการและสามัญชนมีสิทธิเลืÉอนฐานะในสังคมของตนได้ อันเป็นการสร้างคนรุ่นใหม่ในสังคม ซึÉงเป็นเหตุให้ ขุนนางเสืÉอมอิทธิพล สามัญชนรุ่นใหม่หรือปัญญาชนกลุ่มนีÊจะเป็นผู้ทีÉมีบทบาทในสังคมสูงต่อมาทัÊงฝ่ายทหาร และพลเรือนในฐานะ “ผู้นําใหม่” ดังเช่น กลุ่มผู้นําในการกบฏ ร.ศ. řśŘ ผู้นําในกลุ่มคณะราษฎร์ทีÉทําการ เปลีÉยนแปลงการปกครองเมืÉอวันทีÉ ŚŜ มิถุนายน พ.ศ. ŚŜşŝ 3
  • 10. รัชกาลทีÉ ŝ ทรงจัดการศึกษาโดย - ตัÊงโรงเรียนหลวง เมืÉอ พ.ศ. ŚŜřŜ และโรงเรียนสําหรับสามัญชน เพืÉอให้สามัญชนมีโอกาสรับ การศึกษาเล่าเรียน คือ “โรงเรียนวัดมหรรณพาราม” พ.ศ. ŚŜśŘ ตัÊงกรมศึกษาธิการดูแลด้าน การศึกษา - จัดการศึกษาเฉพาะ เช่นโรงเรียนแพทย์ กฎหมาย ทหาร ฯลฯ - พระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงให้แก่ผู้ศึกษาดีและสามารถสอบชิงทุนไปศึกษาต่อต่างประเทศ รัชกาลทีÉ Ş - ทรงตัÊงสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมืÉอ พ.ศ. ŚŜŝš - ทรงประกาศพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ŚŜŞŜ ทําให้เด็กทัÊงหญิงและชายเข้ารับการศึกษาเท่า เทียมกัน หลังการเปลีÉยนแปลงการปกครอง ขยายการศึกษาไปสู่ชนบทอย่างทัÉวถึง ตัÊงมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์และการเมือง พ.ศ. ŚŜşş เพืÉอเป็นตลาดวิชาขยายโอกาสทางการศึกษา และเผยแพร่ ความรู้ระบอบประชาธิปไตยไปสู่ประชาชนและก่อตัÊงมหาวิทยาลัยในภูมิภาค Ś. สภาพการเมืองการปกครองของไทย การปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. ŚŜśŝ สาเหตุ - ความเสืÉอมของระบบศักดินา ระบบมูลนาย ทําให้กษัตริย์ไม่สามารถควบคุมกําลังคนได้อย่างแท้จริง กลายเป็นขุนนางทีÉมีอํานาจในการควบคุมกําลังคน - ความซํÊาซ้อนและความเลืÉอมลํÊาของการบริหารฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ทําให้มีการก้าวก่ายในการ ปฏิบัติราชการ - ภัยคุกคามจากลัทธิจักรวรรดินิยม ในสมัยรัชกาลทีÉ Ŝ ไทยต้องยอมรับรองสิทธิของฝรัÉงเหนือดินแดน ของเขมรส่วนนอกและฝรัÉงเศสไม่ต้องรับรู้สิทธิของไทยเหนือเขมร สมัยรัชกาลทีÉ ŝ ไทยต้องสูญเสีย ดินแดนให้แกฝรัÉงเศสถึง Ŝ ครัÊง ได้แก่ พ.ศ. ŚŜśř สูญเสียแคว้นสิบสองจุไทย วิกฤตการณ์ ร.ศ. řřŚ เสียดินแดนฝัÉงซ้ายแม่นํÊาโขง พ.ศ. ŚŜŜŞ เสียฝัÉงขวาแม่นํÊาโขง พ.ศ. ŚŜŜš เสียเขมรส่วนใน พ.ศ. ŚŜŝř เสียดินแดนหัวเมืองมลายูให้แก่อังกฤษ 4
  • 11. การปฏิรูปการปกครองทีÉสําคัญ ได้แก่ แบ่งการปฏิรูปออกเป็น ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิÉน การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง การปฏิรูปการปกครองส่วน ภูมิภาค การปฏิรูปการปกครองส่วน ท้องถิÉน ř. จัดรูปแบบบริหารราชการเป็น ระบบกระทรวงจํานวน řŚ กระทรวง เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงธรรม การ ฯลฯ เสนาบดี กระทรวงส่วน ใหญ่เป็นเชืÊอพระวงศ์ทําให้ขุนนาง ถูกลดบทบาทและเสืÉอมอํานาจ Ś. ตัÊงสภาทีÉปรึกษาราชการแผ่นดิน เพืÉอทําหน้าทีÉเป็นทีÉปรึกษาราชการ แผ่นดินและสภาทีÉปรึกษาส่วน พระองค์ เพืÉอสอบถามการงานและ ปรึกษาเรืÉองราวบางประการทีÉทรงมี พระราชดําริ สมาชิกส่วนใหญ่เป็น กลุ่มสยามหนุ่ม ซึÉงเป็นคนรุ่นใหม่ทีÉ ได้รับการศึกษาแบบตะวันตก ประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และขุนนาง ś. ตัÊงตําแหน่งสยามมกุฎราชกุมาร ภายหลังวิกฤติการณ์วังหน้าเพืÉอ กําหนดผู้ทีÉจะขึÊนครองราชย์ ผล ขุนนางถูกลดอํานาจ รัชกาลทีÉ Ŝ ทรงควบคุมการบริหารประเทศ ř . จั ด ตัÊง ร ะ บ บ ม ณ ฑ ล เทศาภิบาลเพืÉอสร้างความ เป็นเอกภาพทางการปกครอง และการดูแลหัวเมืองอย่าง ใกล้ชิด ยกเลิก เมืองเอก โท ต รี หั ว เ มื อ ง ชัÊ น ใ น เมื อง ปร ะเ ทศ รา ชแ ละ เปลีÉยนเป็นมณฑล Ś. ยกเลิกระบบกินเมือง เพราะมีข้าหลวงเทศาภิบาล มาดูเป็นหูเป็นตาแทนรัฐบาล จากส่วนกลาง ś. ให้สิทธิแก่ราษฎรในการ เลือกผู้ปกครองตนเองเป็นครัÊง แรก พ.ศ. ŚŜśŝ โปรด ฯ ให้มี การทดลองเลือกตัÊงกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ทีÉ อ. บางปะอิน จ. พระนครศรีอยุธยา ถือเป็น รากฐานของการบริหารการ ปกครองส่วนภูมิภาคแบบใหม่ ผล สามารถสกัดกัÊนภัยจาก ลัทธิจักรวรรดินิยม แต่ได้รับ การต่อต้านจากหัวเมือง ได้แก่ กบฏผีบุญทางภาคอีสาน กบฏเงีÊยวเมืองแพร่ทาง ภาคเหนือ กบฏเจ้าเจ็ดตนใน ภาคใต้ ř. เปิดโอกาสให้ราษฎรมีส่วนใน การบริหารท้องถิÉนของตนเองโดย การจัดตัÊงสุขาภิบาล ซึÉงราษฎรมี ส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด และรักษาสาธารณะสมบัติ ถนน หนทาง การเก็บภาษีเพืÉอนําเงิน มาบํารุงท้องถิÉนของตน พ.ศ. ŚŜŜŘ จัดตัÊงสุขาภิบาล กรุงเทพ ฯ พ.ศ. ŚŜŜŠ จัดตัÊง สุขาภิบาลหัวเมืองทีÉ ต. ท่าฉลอม จ. สมุทรปราการเป็นครัÊงแรก ผล เป็นการฝึกฝนให้ราษฎรได้มี โอกาสเรียนรู้การปกครองในระดับ ท้องถิÉนและบริหารงานเพืÉอเป็น ประโยชน์ของชุมชนอย่างมี ประสิทธิภาพ 5
  • 12. ผลการปฏิรูปการปกครองในรัชกาลทีÉ ŝ 1. สิÊนสุดรูปแบบปกครองทีÉไทยเคยใช้มาหลายร้อยปี เปลีÉยนเป็นรูปแบบการปกครองตามแบบ ตะวันตก ส่งผลต่อความเป็นเอกภาพทางการปกครอง ทําให้พลเมืองมีความผูกพันกับรัฐบาลและ รู้สึกเป็นอันหนึÉงอันเดียวกัน นําไปสู่ความเป็นรัฐชาติ 2. เกิดการรวมศูนย์กลางอํานาจมาไว้ทีÉสถาบันกษัตริย์ ทําให้พระมหากษัตริย์ทรงมีอํานาจอย่าง แท้จริงทัÊงในทางทฤษฎีและปฏิบัติ ขุนนางถูกลดบทบาทและเสืÉอมอํานาจ ś. สามารถป้ องกันภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม การเมืองสมัยรัชกาลทีÉ Ş สาเหตุการปฏิวัติเปลีÉยนแปลงการปกครอง ร.ศ. řśŘ ( พ.ศ. ŚŝśŜ ) 1. เนืÉองจากนายทหารสมาชิกของขบวนการ ร.ศ. řśŘ สําเร็จการศึกษาตามระบบการศึกษาสมัยใหม่ รวมถึงได้รับอิทธิพลจากปัญญาชนหัวก้าวหน้าของไทย เช่น ก.ศ.ร. กุหลาบ และ เทียนวรรณ ทําให้ นายทหารกลุ่มนีÊซึÉงมีหัวหน้า คือ ขุนทวยหาญพิทักษ์ ร้อยตรีเหรียญ ศรีจันทร์ เคลืÉอนไหวทาง การเมือง Ś. ความไม่พอใจในพระราชกรณียกิจของรัชกาลทีÉ Ş ś. วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การผลิตข้าวและความยากจนของชาวนาขบวนการ ร.ศ. řśŘ ประสบความล้มเหลว รัชกาลทีÉ Ş ทรงโปรดเกล้า ฯ พระราชทานอภัยโทษให้ จากโทษประหารชีวิต ลดเหลือจําคุกตลอดชีวิตรัชกาลทีÉ Ş ทรงพยายามพัฒนาความรู้ความคิดของพลเมืองให้มากขึÊน เช่น การตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ŚŜŞŜ และการให้สิทธิเสรีภาพในการแสดงออก ความคิดเห็นแก่วงการหนังสือพิมพ์ ตลอดจนทรงเห็นว่าการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศ ไทย ควรจะมีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เพราะชาวไทยยังไม่พร้อมทีÉจะรับระบอบนีÊเพราะเป็น ของใหม่ ทรงมีพระราชดําริทีÉจะสอนระบอบประชาธิปไตยแก่ขุนนางและข้าราชการก่อน จึงทรง จัดตัÊงดุสิตธานีลักษณะเป็นเมืองประชาธิปไตยในบริเวณพระราชวังดุสิต เพืÉอฝึกให้ขุนนางและ ข้าราชการทดลองปกครองและบริหารราชการท้องถิÉน ทีÉเรียกว่าเทศบาล การเมืองการปกครองสมัยรัชกาลทีÉ ş เมืÉอพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึÊนครองราชย์มีการตัÊงอภิรัฐมนตรีเป็นทีÉปรึกษาราชการ แผ่นดินทางด้านการเมืองทีÉอํานาจการปกครองตกอยู่ในหมู่พระราชวงศ์ ทําให้กลุ่มข้าราชการรุ่นใหม่ ๆ ทีÉจบ การศึกษาจากต่างประเทศไม่พอใจ และปัญหาทางสังคมได้แก่ ปัญหาทางชนชัÊน รัชกาลทีÉ ş ทรงมีแผนการทีÉจะพระราชทานรัฐธรรมนูญถึง Ś ฉบับ คือ ฉบับทีÉ ř คือ ร่างรัฐธรรมนูญของพระยากัลยาณไมตรี ( Dr.Francis B. Sayre) พ.ศ. ŚŜŞš ฉบับทีÉ Ś มีชืÉอว่า An Outline of Changes in the Form of Government นายเรมอนด์ บี, สตีเวนส์ 6
  • 13. ทีÉปรึกษากระทรวงการต่างประเทศและพระยาศรีวิศาลวาจา ปลัดทูลฉลองกระทรวงการต่างประเทศเป็น ผู้ร่าง สาเหตุการเปลีÉยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. Śŝşŝ สรุปได้ดังนีÊ ř. ความเสืÉอมศรัทธาการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ Ś. ประชาชนบางส่วนได้รับการศึกษาแบบตะวันตก ś. อิทธิพลของสืÉอมวลชน Ŝ. เกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํÉาภายในประเทศ ŚŜ มิถุนายน พ.ศ. ŚŜşŝ การเปลีÉยนแปลงการปกครองของไทยจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ ระบอบประชาธิปไตย สาเหตุ ř. ความก้าวหน้าทางการศึกษาและการได้รับความคิดทางการเมืองแบบ ประชาธิปไตย ทําให้สามัญชนมีโอกาสเท่าเทียมกับชนชัÊนสูงในการได้รับ การศึกษาตัÊงแต่รัชกาลทีÉ ŝ เป็นต้นมา Ś. แบบอย่างการปฏิวัติของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น ญีÉปุ่น เปอร์เซีย ตุรกี และจีน ś. ความไม่พอใจของปัญญาชนในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกตํÉาของรัฐบาลใน สมัยรัชกาลทีÉ ş แม้รัชกาลทีÉ ş ทรงแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การตัด งบประมาณรายจ่ายส่วนพระองค์ และส่วนราชการ การปลดข้าราชการออกจาก ตําแหน่ง แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจได้ คณะราษฎร กลุ่มปัญญาชนซึÉงได้รับการศึกษาจากต่างประเทศ ทัÊงฝ่ายพลเรือน ซึÉงมี ผู้นํา คือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือนายปรีดี พนมยงค์ และร้อยโทประยูร ภมรมนตรี ฝ่ายทหาร ซึÉงมีผู้นํา คือพระยาพหลพลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเดช พันเอกพระยาฤทธิอัคเนย์ พันตรีหลวงพิบูลสงคราม รวมกลุ่มเรียกว่า “คณะราษฎร” เพืÉอทําการเปลีÉยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญา สิทธิราชไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข คณะราษฎร ดําเนินการยึดอํานาจเปลีÉยนแปลงการปกครองได้สําเร็จในวันทีÉ ŚŜ มิถุนายน ŚŜşŝ กบฏบวรเดช พ.ศ. ŚŜşŞ หลังการเปลีÉยนแปลงไม่นาน “คณะกู้บ้านเมือง” นําโดย พลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชได้เรียกร้องให้รัฐบาลบริหารประเทศตามครรลองของระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญอย่างแท้จริง ทัÊงนีÊเนืÉองจากภายหลังการเปลีÉยนแปลงการปกครองไม่นาน ก็เกิดปัญหาความ 7
  • 14. ขัดแย้งระหว่างคณะราษฎร์กับรัชกาลทีÉ ş ได้แก่ความขัดแย้งเรืÉองเค้าโครง เศรษฐกิจ อันนําไปสู่การรัฐประหาร วันทีÉ ŚŘ มิถุนายน ŚŜşŝ และกบฏบวรเดช ซึÉงกบฏบวรเดชนําไปสู่การสู้รบระหว่างฝ่ายกู้บ้านเมืองอย่างรุนแรง ระหว่างวันทีÉ řř – ŚŜ ตุลาคม พ.ศ. ŚŜşŞ ซึÉงจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ายกู้บ้านเมือง พลเอกพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบวรเดชเสด็จลีÊภัยไปต่างประเทศท้ายสุดเป็น เหตุการณ์หนึÉงซึÉงนําไปสู่การสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม คณะราษฎรได้มอบหมายให้หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ( ปรีดี พนมยงค์ ) ร่างเค้าโครงเศรษฐกิจ เพืÉอ คณะราษฎรจะได้นํามาใช้ในการพิจารณาวางนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ แต่ก็นําไปสู่ความขัดแย้งระหว่าง กลุ่มผู้นําคณะราษฎรด้วยกันเอง ดังนีÊ รัฐบาลจะบังคับเอาทีÉดินทัÊงหมดของคณะราษฎรทัÊงหมดโดยจ่ายค่าตอบแทนเป็นพันธบัตรรัฐบาล ซึÉงทําให้คณะราษฎรแตกความคิดเห็นออกเป็น Ś ฝ่าย คือ ฝ่ายทีÉเห็นว่ามีความคิดเห็นโน้มเอียงไป ทางระบอบคอมมิวนิสต์ นําโดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา กับฝ่ายทีÉเห็นด้วยกับแนวคิดนีÊได้แก่ กลุ่มคนรุ่นใหม่ทัÊงฝ่ายทหารและพลเรือน สําหรับรัชกาลทีÉ ş ทรงมีพระราชวินิจฉัยไม่เห็นด้วย เพราะทรงเห็นว่าเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าวลิดรอนเสรีภาพของประชาชน ผลจากเรืÉองนีÊทําให้ รัฐบาลตราพระราชบัญญัติทีÉว่าด้วยคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ŚŜşŞ และหลวงประดิษฐ์มนูธรรมต้อง เดินทางออกนอกประเทศ วันทีÉ Ś มีนาคม พ.ศ. ŚŜşş พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวสละราชสมบัติ เหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ คณะราษฎร อันมีสาเหตุเนืÉองจากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างขุนนางเก่ากับคณะราษฎร แม้ว่าพระองค์จะทรงวางพระองค์เป็นกลางแต่คณะราษฎรก็เข้าใจว่าทรงสนับสนุนกลุ่มขุนนาง โดยเฉพาะเหตุการณ์กบฏบวรเดช เมืÉอเสด็จไปรักษาพระองค์ทีÉประเทศอังกฤษ ระหว่างนัÊนทรงได้ มีพระบรมราชวินิจฉัยในเรืÉองต่าง ๆ หลายเรืÉองทีÉขัดแย้งกับรัฐบาล ได้แก่ ทรงขอให้รัฐบาลแต่งตัÊง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภททีÉ Ś ตามรัฐธรรมนูญ โดยคํานึงถึงคุณวุฒิและความเหมาะสม ให้รัฐบาลดําเนินการอภัยโทษนักการเมืองทีÉถูกลงโทษเพราะความขัดแย้งทางการเมือง ปรากฏว่า รัฐบาลปฏิเสธพระราชประสงค์ ดังนัÊน วันทีÉ Ś มีนาคม ŚŜşş พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวจึงทรงประกาศสละราชสมบัติ การเมืองการปกครองของไทยหลังการเปลีÉยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ŚŜşŝ คณะราษฎรประกาศหลัก Ş ประการ เพืÉอการบริหารประเทศ คือรักษาเอกราช การเมือง เศรษฐกิจและศาล รักษาความปลอดภัยภายในประเทศ การกินดีอยู่ดีของราษฎรให้เสมอภาค 8
  • 15. เสรีภาพแก่ราษฎร และให้การศึกษาแก่ราษฎรอย่างเต็มทีÉ แต่เป็นทีÉน่าเสียดายว่าหลังการ เปลีÉยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ŚŜşŝ เป็นต้นมา ระบอบประชาธิปไตยของไทยต้องประสบปัญหา ทางการเมืองบ่อยครัÊง มีการปฏิวัติ รัฐประหาร และการเข้ายึดอํานาจการปกครองโดยฝ่ายทหาร ตัÊงแต่ พ.ศ. ŚŜşŞ จนถึง พ.ศ. ŚŝśŜ สาเหตุสืบเนืÉองมาจากคนไทยส่วนใหญ่ยังขาดอุดมการณ์ และมีวิถีชีวิตทีÉไม่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตย เพราะคนไทยส่วนใหญ่ยังยึดติดกับวิถีชีวิต ความเชืÉอแบบดัÊงเดิม แต่ประการสําคัญทีÉสุดเกิดจากความขัดแย้งทางความคิดระหว่างผู้นําทาง การเมือง ทําให้ฝ่ายทหารมักประสบความสําเร็จในการยึดอํานาจการปกครองโดยเริÉมตัÊงแต่ - ความขัดแย้งในกลุ่มคณะราษฎรระหว่างหลวงประดิษฐ์มนูธรรมกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในทีÉสุดจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประสบความสําเร็จในการยึดอํานาจการปกครอง - จอมพล ป. พิบูลสงคราม ปกครองประเทศในระบอบอํานาจนิยมจนถึงปลายสงครามโลก ครัÊงทีÉ Ś จึงถูกสถานการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศบีบบังคับให้หลุดจากตําแหน่ง นายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ. ŚŜŠş – ŚŜšŘ ประเทศไทยมีรัฐบาลพลเรือนถึง Ş ชุด รัฐประหาร ŚŜšŘ ทําให้จอมพล ป. พิบูลสงครามกลับเข้ามามีอํานาจอีก แต่ใน พ.ศ. ŚŝŘŘ ก็ ถูกจอมพลสฤษดิÍ ธนรัชต์ ปฏิวัติยึดอํานาจ - จอมพลสฤษดิÍ ธนรัชต์ ทํารัฐประหารครัÊงทีÉ Ś พ.ศ. ŚŝŘŘ โดยมีเหตุจากภัยคุกคามของ คอมมิวนิสต์ นายกรัฐมนตรีและดํารงตําแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดทัÊงนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ความเด็ดขาดในการรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองพยายามเรียกร้อง ศรัทธาและการยอมรับจากประชาชน โดยการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์การประกาศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ย้อนกลับไปสู่การปกครองสมัยสุโขทัยแบบพ่อปกครองลูกมา ประยุกต์ใช้ - วันมหาวิปโยค řŜ ตุลาคม ŚŝřŞ ประชาชน ซึÉงนําโดยนิสิตนักศึกษา ลุกฮือเพืÉอต่อต้านเผด็จ การทหาร ทําให้จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนัÊนลาออกจากตําแหน่งและ พรรคพวกต้องลีÊภัยไปต่างประเทศ ทําให้ประเทศไทยกลับมามีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ พ.ศ. Śŝřş ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับเป็นประชาธิปไตยมากทีÉสุด ฉบับหนึÉง - เหตุการณ์ Ş ตุลาคม Śŝřš เกิดจากการกวาดล้างนิสิต นักศึกษา ทีÉถูกมองว่าได้รับการ สนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ทําให้มีการปราบปรามนิสิต นักศึกษาอย่าง รุนแรง ทําให้นิสิต นักศึกษาจํานวนมากหนีเข้าป่าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ ระหว่าง พ.ศ. Śŝřš – ŚŝŚŘ จึงเป็นยุคของการเผด็จการยึดอํานาจนิยมอีกครัÊง - รัฐประหาร พ.ศ. ŚŝŚŘ เป็นต้นมา มีความพยายามทีÉจะเสริมสร้างและพัฒนาระบอบ ประชาธิปไตย ในสมัยนายกรัฐมนตรีพลเอกเกรียงศักดิÍ ชมะนันท์ รัฐบาลพลเอกเปรม 9
  • 16. ติณสูลานนท์ พ.ศ. Śŝśř จัดให้มีการเลือกตัÊงพลเอกชาติชาย ชุณหะวัน ได้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่วันทีÉ Śś กุมภาพันธ์ ŚŝśŜ ถูกคณะผู้รักษาความสงบแห่งชาติ ( ร.ส.ช. ) ยึดอํานาจ เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ วันทีÉ řş พฤษภาคม Śŝśŝ เพืÉอต่อต้านการเป็นนายกรัฐมนตรีทีÉไม่ ได้มาจากการเลือกตัÊงของพลเอกสุจินดา คราประยูร ทําให้นายอานันท์ ปันยารชุน เป็น นายกรัฐมนตรีอีกครัÊงและจัดให้มีการเลือกตัÊง พ.ศ. Śŝśŝ นายชวน หลีกภัย เป็ น นายกรัฐมนตรี ต่อด้วยการเลือกตัÊงครัÊงต่อมา นายบรรหาร ศิลปะอาชา และพลเอกชวลิต ยง ใจยุทธ ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี และนายชวน หลีกภัย ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยทีÉ Ś - รัฐธรรมนูญ ฉบับทีÉ řŞ ( พ.ศ. ŚŝŜŘ ) ถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญทีÉมาจากความต้องการของ ประชาชนอีกฉบับหนึÉง กําหนดให้มีการเลือกตัÊง เมืÉอ พ.ศ. ŚŝŜŜ ปรากฏว่าพรรคไทยรักไทย โดย พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้รับคะแนนเสียงข้างมากในการจัดตัÊงรัฐบาลจนครบวาระ Ŝ ปี และได้รับคะแนนกลับมาดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกวาระ แต่เกิดปัญหาด้านทุจริต คอรัปชัÉนตลอดจนวิกฤตศรัทธาด้านจริยธรรมของผู้นํา จึงต้องจัดให้มีการเลือกตัÊงใหม่ รัฐนิยม พันเอกหลวงพิบูลสงครามดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี เมืÉอวันทีÉ řŞ ธันวาคม พ.ศ. ŚŜŠř รัฐบาลพันเอก หลวงพิบูลสงครามได้ประกาศใช้รัฐนิยมจํานวน řŚ ฉบับ ในการบริหารประเทศตามนโยบายสร้างชาติ ระหว่าง เดือนมิถุนายน พ.ศ. ŚŜŠŚ ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. ŚŜŠŝ รัฐนิยมเปรียบเสมือน “ประเพณีนิยมประจําชาติ” ใน พ.ศ. ŚŜŠŝ รัฐบาลได้ประกาศพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ จึงมีการจัดตัÊงสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ให้เป็น หน่วยงานเพืÉอปฏิบัติหน้าทีÉตามนโยบายสร้างชาติด้านวัฒนธรรม คือการอบรมสัÉงสอนและปลูกฝังความรักชาติ ร่วมทัÊงการกล่อมเกลาด้านวัฒนธรรมแก้ประชาชนด้วย รัฐนิยมทีÉประกาศใช้ทีÉสําคัญ ได้แก่การเปลีÉยนชืÉอจาก ประเทศสยามเป็นประเทศไทยการสงวนอาชีพสําหรับคนไทย การชักชวนชาวไทยให้ร่วมมือกันสร้างชาติ เป็นต้น ไทยกับสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś วันทีÉ Š ธันวาคม พ.ศ. ŚŜŠŜ ญีÉปุ่นยกพลขึÊนบกทีÉประเทศไทยตามจังหวัดต่างๆ เช่นทีÉสงขลา ปัตตานี นครศรีธรรมราช และประจวบคีรีขันธ์ เกิดการปะทะกันระหว่างทหารและตํารวจไทยกับทหารญีÉปุ่ น มี ผู้ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต ทําให้รัฐบาลต้องยอมจํานนต่อญีÉปุ่นในวันนัÊนและทําสัญญาเป็นพันธมิตรกับญีÉปุ่น ในช่วงสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś เรียกว่า “กติกาสัญญาพันธมิตรระหว่างไทยกับญีÉปุ่น” เพืÉอประโยชน์แก่ประเทศชาติ ในสถานการณ์คับขัน ในทีÉสุดวันทีÉ Śŝ มกราคม พ.ศ. ŚŜŠŝ รัฐบาลไทยประกาศเข้าร่วมสงครามโดยเป็น พันธมิตรกับญีÉปุ่น เพืÉอให้ความร่วมมือกับญีÉปุ่นทางด้านการทหารและยุทธปัจจัย มีการจัดตัÊงคณะกรรมการผสม ประสานงานไทย – ญีÉปุ่น เพืÉอสร้างทางรถไฟสายมรณะ เชืÉอมจากไทยไปสู่พม่า นอกจากนัÊนแล้ว ไทยกับญีÉปุ่น ยังทําสนธิสัญญาว่าด้วยอาณาเขตประเทศไทยใน”มาลัยและภูมิภาคฉาน” ทําให้ไทยได้รับมอบคืนดินแดนทีÉเสีย ไปตัÊงแต่รัชกาลทีÉ ŝ กลับคืนมา คือเมืองเชียงตุง และเมืองม่าน ในพม่า ดินแดนกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี และปะ 10
  • 17. ลิส ของมลายู นอกจากนัÊนแล้วไทยกับญีÉปุ่นยังร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจอืÉนๆ เช่น การค้าขาย การทีÉรัฐบาลไทย ให้กองทัพญีÉปุ่นกู้เงิน ตลอดจนความร่วมมือในการเผยแพร่วัฒนธรรมซึÉงกันและกัน ขบวนการเสรีไทย ระหว่างทีÉรัฐบาลให้ความร่วมมือกับรัฐบาลญีÉปุ่นในสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś นายปรีดี พนมยงค์ หนึÉงในผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ไม่เห็นด้วยกับการกระทําของรัฐบาล ไทย จึงดําเนินการก่อตัÊงขบวนการเสรีไทย เพืÉอต่อต้านญีÉปุ่นทัÊงภายในและภายนอกประเทศ โดยภายในประเทศ มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นํา ซึÉงประสานการทํางานร่วมกับเสรีไทยทีÉก่อตัÊงขึÊนในอังกฤษและอเมริกา โดยมี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจําวอชิงตันเป็นผู้นํา และได้รับความร่วมมือจาก นักศึกษาและคนไทยทัÊงในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ วัตถุประสงค์ของขบวนการคือ ให้ความร่วมมือกับฝ่าย สัมพันธมิตรในการปฏิบัติการสืบราชการลับในประเทศไทย เพืÉอทีÉจะปลดปล่อยไทยให้เป็นอิสระจากญีÉปุ่น โดย ได้รับการสนับสนุนด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ ต่อมาภายหลังสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś ยุติบทบาทของขบวนการเสรีไทย มีส่วนร่วมอย่างมากในการช่วยผ่อนปรนและคลีÉคลายสถานภาพของประเทศไทยหลังสงคราม มิให้อยู่ในฐานะ ประเทศผู้แพ้สงคราม ทําให้ประเทศไทยกลับสู่ภาวะปกติโดยเร็ว ś. สภาพเศรษฐกิจไทย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนัÉงเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเปลีÉยนแปลงทีÉสําคัญ คือ 1. การเปลีÉยนแปลงทางการค้า นําไปสู่การลงนามสนธิสัญญาเบอร์นี ( พ.ศ. ŚśŞš ) ไทยเก็บภาษีขา เข้าได้วาละ ř,ŝŘŘ บาท และ ř,şŘŘ บาท 2. การอพยพเข้ามาของคนจีน ทําให้เกิดพ่อค้าคนกลาง มีการนําสินค้าอุปโภคบริโภคไปแลกกับ สินค้า และผลผลิตการเกษตรหรือทํางานกับกรมพระคลังสินค้า ทัÊงนีÊเพราะคนจีนเป็นอิสระจาก การควบคุม กําลังคนในระบบไพร่ จึงสามารถประกอบอาชีพการค้าและสะสมเงินทุน 3. การเปลีÉยนแปลงการจัดเก็บภาษีอากร เป็นระบบเจ้าภาษีนายอากร รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การค้าระหว่างไทยกับตะวันตกประสบปัญหา คือ 1. ชาวตะวันตกประสบความยุ่งยากในการติดต่อค้าขายกับคนไทย เพราะ 1.1 การค้ากับไทยเป็นการค้าผูกขาดโดยพระคลังสินค้า ซึÉงทําให้ไม่สะดวกในการติดต่อซืÊอขาย สินค้า เพราะต้องซืÊอขายผ่านพระคลังสินค้าเท่านัÊน 1.2 อัตราภาษีอากรขาเข้าและขาออกของไทยมีอัตราไม่แน่นอนและใช้วิธีเลือกปฏิบัติทีÉไม่เท่า เทียมกัน 1.3 รัฐบาลไทยใช้สิทธิเลือกซืÊอก่อน โดยบังคับซืÊอในราคาตํÉา ทีÉเหลือจึงนําไปขายได้ 11
  • 18. 2. ชนชัÊนสูงของไทยเป็นกลุ่มคนทีÉผูกขาดการค้าต่างประเทศเอาไว้โดยร่วมมือกับชาวจีน และ หวาดระแวงท่าทีของชาวตะวันตก เมืÉอพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึÊนครองราชย์ สถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศเปลีÉยนแปลงไปมาก จีนแพ้อังกฤษในสงครามฝิÉน พม่าเสีย ดินแดนให้แก่อังกฤษ รัชกาลทีÉ Ŝ ทรงตระหนักดีว่า ชาวตะวันตกต้องการให้ไทยเปลีÉยนระบบ การค้าผูกขาดเป็นการค้าแบบเสรี ดังนัÊน เมืÉอเซอร์ จอห์น เบาว์ริÉง ขอแก้สัญญาทางการค้า รัชกาล ทีÉ Ŝ จึงยอมผ่อนปรนทัÊงทีÉไทยเสียเปรียบทุกข้อ แต่เพืÉอรักษาความเป็นอยู่ของชาติ จึงมีการลงนาม ในสนธิสัญญาเบาว์ริÉง ( พ.ศ. ŚśšŠ ) ซึÉงมีสาระสําคัญ ดังนีÊ ř. ยกเลิกการค้าผูกขาดเป็นการค้าเสรี Ś. ยกเลิกภาษีปากเรือ ให้เก็บภาษีขาเข้าในอัตราร้อยละ ś ś. อนุญาตให้ข้าวเป็นสินค้าออก และอนุญาตให้นําฝิÉนเข้ามาจําหน่ายแก่เจ้าภาษีฝิÉน Ŝ. ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ŝ. ไม่มีการกําหนดอายุสิÊนสุดของสัญญา นอกจากนีÊหากมีการยกเลิกหรือแก้ไขสนธิสัญญาฉบับนีÊจะกระทําได้ต่อเมืÉอคู่สัญญายินยอมและ กระทําได้ภายหลังลงนามแล้ว řŘ ปี สนธิสัญญาฉบับนีÊยังเป็นแบบให้ชาติอืÉนเข้ามาทําสัญญาใน ลักษณะนีÊซึÉงได้สร้างปัญหาเศรษฐกิจระยะยาวแก่รัฐบาลไทย เพราะก่อให้เกิดการเปลีÉยนแปลง ทางเศรษฐกิจไทยไปเป็นเศรษฐกิจการค้า และอุตสาหกรรมไทยสมัยใหม่ในเวลาต่อมา คือ 1. ใช้วิธีการค้าแบบเสรี กรมพระคลังสินค้าถูกยกเลิก ทําให้การค้าและระบบเศรษฐกิจของไทย ขยายตัว 2. นําไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบเงินตราและการเปลีÉยนแปลงการผลิต การใช้เงินตราเป็นตัวกลาง ในการแลกเปลีÉยนสินค้าและเปลีÉยนจากการผลิตเพืÉอพอเลีÊยงชีพไปเป็นการผลิตสินค้าเฉพาะ อย่างเพืÉอการค้า เช่น ข้าว ไม้สัก ดีบุก นํÊาตาล เพราะสินค้าเหล่านีÊเป็นสินค้าออกเพืÉอเป็น วัตถุดิบป้ อนแหล่งอุตสาหกรรมของโลก เศรษฐกิจไทยถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึÉงของระบบ เศรษฐกิจโลก การผลิตเพืÉอบริโภคก็เปลีÉยนมาเป็นการผลิตเพืÉอการค้า และมีการนํา เครืÉองจักรมาใช้ในการผลิตด้วย ก่อให้เกิดการล่มสลายของหัตถกรรมในครัวเรือน เช่น การ ตัÊงโรงสีข้าวด้วยเครืÉองจักร มีการขยายพืÊนทีÉการเพาะปลูก โดยเฉพาะในพืÊนทีÉราบภาคกลาง การขุดคลองเพืÉอเปิดทีÉดินใหม่ ทําให้เกิดการรับรองกรรมสิทธิÍทีÉดิน ปรากฏว่าชนชัÊนสูงมี โอกาสเป็นเจ้าของทีÉดินมากกว่า ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างเจ้าของทีÉดินและ เกษตรกรผู้เช่าทีÉดิน ชาวนาส่วนใหญ่ไม่มีทีÉดินเป็นของตนเอง ต้องอยู่ในฐานะผู้เช่าทีÉดิน หรือ หากมีทีÉดินก็มักจะได้ทีÉระดับคุณภาพตํÉา มีการขยายตัวของอุตสาหกรรมป่าไม้ เหมืองแร่ 3. การปฏิรูปการคลังสมัยรัชกาลทีÉ ŝ โดยจัดตัÊงหอรัษฎากรพิพัฒน์และกรมพระคลังมหาสมบัติ เพืÉอควบคุมการรวบรวมและการจัดเก็บภาษีอากร นําไปสู่การจัดทํางบประมาณแผ่นดินเป็น 12
  • 19. ครัÊงแรก ทําให้ขุนนางส่วนกลางและส่วนท้องถิÉนทีÉเคยได้ประโยชน์จากภาษีอากรแบบเก่า ต้องลดบทบาททางเศรษฐกิจของตน นอกจากนีÊยังมีการแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์ พระมหากษัตริย์ออกจากทรัพย์สินของประเทศ มีการจัดตัÊงธนาคารพาณิชย์ขึÊน เช่นธนาคาร ฮ่องกงและเซีÉยงไฮ้ ธนาคารชาเตอร์ ส่วนธนาคารแห่งแรกของคนไทย คือ บุคคลัภย์ หรือ สยามกัมมาจล ต่อมาคือ ธนาคารไทยพาณิชย์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึง รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ผลของสนธิสัญญาเบาว์ริÉง ก่อให้เกิดปัญหาด้านการคลังของไทยเป็นอย่างมาก ความพยายามทีÉจะ รักษาดุลระหว่างรายรับ รายจ่าย และความพยายามทีÉจะไม่กู้เงินจากต่างประเทศ เพราะเกรงจะถูกแทรกแซง ด้านการเมือง ต่อมาในรัชกาลทีÉ Ş เกิดปัญหาด้านการเกษตร เกิดภาวะฝนแล้งส่งผลทําให้เกิดวิกฤตการณ์ข้าว ขาดแคลนภายในประเทศ รัฐบาลจึงห้ามส่งข่าวออกขายต่างประเทศ ทําให้ต้องสูญเสียรายได้ ผลคือขาด ดุลการค้า ประจวบกับวิกฤตการณ์เศรษฐกิจตกตํÉาทัÉงโลกหลังสงครามโลกครัÊงทีÉ ř ปัญหาเศรษฐกิจดังกล่าว ส่งผลกระทบถึงรัชกาลทีÉ ş พระองค์ทรงพยายามแก้ปัญหาหลายวิธี ได้แก่ การดําเนินนโยบายลดรายจ่ายของ รัฐบาลและส่วนพระมหากษัตริย์ลง เพิÉมภาษีอากรหลายชนิด ยุบหน่วยงานทีÉสําคัญ คือ การดุล(ปลด)ข้าราชการ ออกจากงาน ซึÉงประเด็นนีÊนําไปสู่ความไม่พอใจของข้าราชการบางกลุ่มทีÉได้รับการศึกษาจากตะวันตกและได้ แนวคิดประชาธิปไตยได้วิพากษ์วิจารณ์ความล้มเหลวของรัฐบาลในการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจว่าเป็น เพราะรัฐบาลขาดความเอาใจใส่ในการวางรากฐานเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะปัญหาการเกษตรทีÉพึÉงพา ธรรมชาติเป็นเหตุนําไปสู่การเปลีÉยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย เมืÉอวันทีÉ ŚŜ มิถุนายน ŚŜşŝ เศรษฐกิจไทยหลังการเปลีÉยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ŚŜşŝ ถึงหลังสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś ř. นโยบายเศรษฐกิจของคณะราษฎร – สมัยสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś นโยบายเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม โดยเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ (สมุดปกเหลือง) ซึÉงมีลักษณะแก้ปัญหาคล้ายระบบสหกรณ์ แต่ ไม่ได้ประกาศใช้ เพราะรัฐบาลขณะนัÊนไม่เห็นชอบ และรัชกาลทีÉ ş ก็ทรงมีพระราชดําริไม่เห็นชอบ(สมุดปกขาว) โดยเกรงว่าลักษณะค่อนไปทางสังคมนิยม รัฐบาลไทยจึงดําเนินนโยบายเศรษฐกิจเป็นแบบเสรีนิยมมาโดยตลอด ทําให้เศรษฐกิจส่วนใหญ่ตกอยู่ในมือของชาวจีนและชาวตะวันตก สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น นายกรัฐมนตรี รัฐบาลดําเนินนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจเพืÉอให้คนไทยมีงานทํา และขจัดอิทธิพลทาง เศรษฐกิจของคนต่างชาติลดบทบาทการผูกขาดทางเศรษฐกิจของชาติตะวันตกและชาวจีนเรียกร้องให้คนไทย นิยมใช้สินค้าทีÉผลิตภายในประเทศ เพืÉอให้คนไทยพึÉงพาตนเองได้ รัฐบาลเข้าไปมีบทบาททางเศรษฐกิจโดยเข้า ดําเนินธุรกิจภายในประเทศเอง รวมไปถึงการจัดตัÊงรัฐวิสาหกิจ ได้แก่บริษัทกึÉงราชการทําให้ไม่สามารถกําจัด อิทธิพลของพ่อค้าจีน เพราะต้องพึÉงการจัดการของชาวจีน ระหว่างสงครามโลกครัÊงทีÉ Ś รัฐบาลไทยดําเนินนโยบายทีÉมีสัมพันธภาพกับฝ่ายโลกเสรี สภาวะ เศรษฐกิจไทยเติบโตขึÊนเพราะผลจากสงครามเกาหลี จอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเข้ามามีอํานาจทางการเมือง อีกครัÊง และยังคงดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยม โดยเข้ามามีบทบาทด้านการลงทุนในรูป 13
  • 20. รัฐวิสาหกิจทีÉเรียกว่าทุนนิยมโดยรัฐและส่งเสริมธุรกิจภาคเอกชน ซึÉงเศรษฐกิจแบบชาตินิยมนีÊก่อให้เกิดการ แสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างพ่อค้ากับราชการทําให้อํานาจทางเศรษฐกิจไทยตกอยู่ในมือของกลุ่ม นายทุนเก่าและใหม่ แต่สําหรับการแก้ปัญหาพืÊนฐานของสังคมไทยนัÊนรัฐบาลเข้าไปแก้ปัญหาน้อยมาก เช่น เรืÉองกรรมสิทธิÍทีÉดิน หรือการผลิตแบบล้าหลัง Ś. นโยบายเศรษฐกิจภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติรัฐบาลภายใต้การนําของจอม พลสฤษดิÍ ธนะรัชต์ ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นครัÊงแรก โดยรัฐบาลไทยได้รับการช่วยเหลือ จากสหรัฐอเมริกาเพืÉอปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยและก้าวหน้าและดําเนินการต่อเนืÉองเรืÉอยมาจนถึงปัจจุบัน เป็น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับทีÉ Š แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนีÊก่อให้เกิดการเปลีÉยนแปลง ในสังคมไทยอย่างมาก คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ř (พ.ศ. ŚŝŘŜ – ŚŝŘš) เป็น แผนพัฒนาเศรษฐกิจล้วนๆ เพียงฉบับเดียว เน้นการขยายบริการพืÊนฐานทางเศรษฐกิจ เพืÉอเสริมสร้าง บรรยากาศการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศโดยการสร้างถนน ไฟฟ้ า ฯลฯ ขยาย การศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ระดับภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ สงขลา ขอนแก่น เน้นการเพิÉมรายได้ประชาชาติและ ก่อให้เกิดชนชัÊนกลาง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Ś ( พ.ศ. ŚŝřŘ – ŚŝřŜ ) รวมแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมเข้าด้วยกัน ขยายการพัฒนาสู่ชนบทเพืÉอขจัดการแทรกซึมของพรรคคอมมิวนิสต์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ś ( พ.ศ. Śŝřŝ – Śŝřš ) กระจายรายได้ระหว่างเมือง และชนบท กําหนดนโยบายประชากร แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Ŝ ( พ.ศ. ŚŝŚŘ - ŚŝŚŜ ) เร่งขยายการผลิตเพืÉอส่งออก ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างเมืองและชนบท มุ่งสร้างความเป็นธรรมในสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ŝ ( พ.ศ. ŚŝŚŝ – ŚŝŚš ) เน้นรักษาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ ขยายพืÊนทีÉพัฒนาบริเวณทะเลฝัÉงตะวันออก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Ş ( พ.ศ. ŚŝśŘ - ŚŝśŜ ) ปรับปรุงประสิทธิภาพการ ผลิตตลาด เพืÉอให้สินค้าไทยแข่งกับต่างประเทศ เพิÉมประสิทธิภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ ş ( พ.ศ. Śŝśŝ – Śŝśš ) รักษาอัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและต่อเนืÉอง กระจายรายได้และการพัฒนาสู่ชนบท แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ Š ( พ.ศ. ŚŝŜŘ – ŚŝŜŜ ) มุ่งเน้นพัฒนาทรัพยากร มนุษย์และบูรณะรักษาสิÉงแวดล้อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ š ( พ.ศ. ŚŝŜŝ – ŚŝŜš ) มุ่งเน้นการสร้างระบบบริหาร จัดการทีÉดีในสังคมไทย การเสริมสร้างฐานรากของสังคมให้แข็งแรง การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้มีความ สมดุลและยัÉงยืน 14
  • 21. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีÉ řŘ ( พ.ศ. ŚŝŝŘ – ŚŝŝŜ ) นําแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์อย่างยัÉงยืน หลังจากประเทศไทยประกาศใช้แผนเศรษฐกิจและสังคมมาเป็นเวลา ŜŘ ปี ปรากฏว่าความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอยู่ในเกณฑ์และก้าวหน้า ส่งผลให้ผลผลิตทัÊงภาคเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมมีอัตราเพิÉมสูงขึÊนและมีกรรมวิธีในการผลิตทีÉอาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การ- สาธารณูปโภคได้รับการปรับปรุงและกระจายไปสู่ชนบทมากขึÊน การลงทุนจากต่างประเทศสูงขึÊน อัตราการกู้ยืม เงินตราต่างประเทศลดลงและอัตราการเพิÉมประชากรลดลง แต่ความเจริญเติบโตเหล่านีÊมิได้กระจายไปสู่ ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ยังมีปัญหาความยากจนและความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้ ความ เจริญด้านต่างๆ กระจุกอยู่ตามเมืองใหญ่ และในกรุงเทพ ฯ ช่องว่างระหว่างบุคคลมีมากขึÊนรวมไปถึงปัญหา มลพิษทีÉเกิดจากการพัฒนาประเทศด้านอุตสาหกรรม กลุ่มนายทุนและนักการเมืองร่วมมือประสานประโยชน์ ทางเศรษฐกิจและสร้างเสริมอํานาจทางการเมืองในปัจจุบัน ------------------------------------------------ 15
  • 22. ประวัติศาสตร์สากล ř. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ř.ř ยุคหิน ยุคหิน ( Paleolithic Age หรือ Old stone Age ) ยุคหินกลาง ( Mesolithic Age หรือ Middle Stone Age ) ยุคหินใหม่ ( Neolithic Age หรือ New Stone Age ) ř. อายุประมาณ Ś ล้านปี Ś. ดํารงชีพด้วยการล่าสัตว์ เก็บ ผลไม้ป่า ś. อาศัยตามถํÊาหรือทีÉพัก หยาบๆ Ŝ. พึÉงพาธรรมชาติ ไม่เข้าใจ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ŝ. รู้จักใช้ไฟ Ş. ประกอบพิธีฝังศพ อันเป็น จุดเริÉมต้นของศาสนา ş. ภาพจิตรกรรมผนังถํÊาตาม ความเชืÉอและพิธีกรรม ř. อายุประมาณ Š พันปี ก่อน คริสต์ศักราช Ś. เริÉมรู้จักเพาะปลูกและเลีÊยงสัตว์ แบบง่ายๆ ś. ภาพจิตรกรรมผนังถํÊามีความ ซับซ้อนมากขึÊน จุดมุ่งหมายเพืÉอ พิธีกรรมความเชืÉอเรืÉองวิญญาณ Ŝ. มีพิธีกรรมเกีÉยวกับพระ ř. อายุประมาณ Ŝ พันปี ก่อน คริสต์ศักราช Ś. ผลิตอาหารได้เอง รู้จักเก็บกัก อาหาร หยุดเร่ร่อน ś. เครืÉองมือเครืÉองใช้ทีÉทําด้วยหิน ประณีตขึÊน เรียกว่า “หินขัด” Ŝ . รู้ จั ก ก า ร ท อ ผ้ า ทํ า เครืÉองปัÊนดินเผา ทําเครืÉองทุ่นแรง เช่นการเสียดสีให้เกิดไฟ ประดิษฐ์ เรือ ŝ. รวมกลุ่มสังคมเกษตรกรรมเป็น หมู่บ้านมีการจัดระเบียบเพืÉอ ควบคุมสังคม มีหัวหน้าชุมชน Ş. อนุสาวรีย์หิน ( Stonehenge) ซึÉง ถื อ เ ป็ น ก า ร เ ริÉ ม ต้ น ง า น สถาปัตยกรรมของมนุษย์ เชืÉอว่า สร้างเพืÉอคํานวณทางดาราศาสตร์ พิธีกรรมทางศาสนาทีÉเกีÉยวข้องกับ การเกษตรหรือบูชาพระอาทิตย์ ř.Ś ยุคโลหะ - ทองแดง - สําริด - เหล็ก 16
  • 23. Ś. ยุคประวัติศาสตร์ Ś.ř สมัยโบราณ อียิปต์ - ศูนย์กลางของอารยธรรมอยู่ทีÉลุ่มแม่นํÊาไนล์ มีปราการธรรมชาติเป็นทะเลทรายล้อมรอบ - เป็นสังคมเกษตรกรรมพัฒนาจนเป็นเมือง (โมนิส) ขยายพืÊนทีÉเพาะปลูก สร้างเขืÉอน - มีการสถาปนาราชวงศ์ขึÊนปกครอง กษัตริย์ เรียกว่า ฟาโรห์ เป็นกึÉงกษัตริย์กึÉงเทพเจ้า - โครงสร้างทางสังคมแบ่งเป็น ś ชนชัÊนคือ ฟาโรห์ ชนชัÊนสูง พระขุนนาง ชนชัÊนกลาง พ่อค้า , ช่างฝีมือ ชนชัÊนตํÉา ประชาชน ชาวนา ชาวไร่ ทาส - เจริญรุ่งเรืองด้านอารยธรรม มีการประดิษฐ์อักษรภาพ ( เฮียโรกลิฟฟิค) และจารึกบนแผ่นกระดาษ ปาปิรุส - ผูกพันกับพิธีกรรมและพระเจ้า ตัÊงแต่เกิด – ตาย นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เทพเจ้าสูงสุด คือ รา หรือ เร ( สุริยเทพ ) เทพเจ้าทีÉสําคัญ คือ เทพโอชิรส - เชืÉอเรืÉองวิญญาณและเชืÉอเรืÉองโลกหน้า จึงทําให้มีการทํามัมมีÉเพืÉอรักษาร่างผู้ตายไม่ให้เน่าเปืÉอย สร้างพีระมิดไว้เก็บศพฟาโรห์ - ศิลปะจึงสะท้อนความคิดและความเชืÉอของคนในสังคม เช่น การสร้างพีระมิด สฟิงซ์ วิหารเทพ เจ้า เสาโอเบลิสก์ คัมภีร์มรณะ ( Book of the Dead ) เมโสโปเตเมีย - เป็นบริเวณทีÉอุดมสมบูรณ์ระหว่างแม่นํÊา Ś สาย คือ แม่นํÊาไทกรีส และ ยูเฟรติส จึงทําให้ชนชาติ ต่างๆ แย่งชิงผลัดเปลีÉยนเข้ามาสร้างสรรค์อารยธรรมของตน - ชาติแรกทีÉเข้า คือ สุเมเรียน ซึÉงมีความเจริญด้านการเกษตร รู้จักงานชลประทานและจัดการ ปกครองแบบนครรัฐได้เป็นครัÊงแรก - ประดิษฐ์อักษรลิÉม ( Cuneiform ) ลงบนแผ่นดินเหนียว มีความเจริญด้านคณิตศาสตร์ เช่น การคูณ หาร ถอดรากกําลัง Ś เลขฐาน ŞŘ มีการติดต่อค้าขายกับภายนอก - นับถือเทพเจ้าหลายองค์ วิหารบูชาเทพเจ้า คือ ซิกกูแรต ( Ziggurat ) 17
  • 24. - บาบิโลเนีย ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมบูราบี ใช้บทลงโทษทีÉรุนแรง “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน” เพืÉอสร้างระเบียบและความยุติธรรมให้แก่ดินแดน ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของโลก - อัสซีเรีย การแกะสลักภาพนูนตํÉา ( bas – relief ) แสดงการสู้รบของกษัตริย์อัสซูร์บาลิปาล รวบรวม งานเขียนของนักปราชญ์ไว้ทีÉห้องสมุดเมืองเนเวห์ ( Nineveh ) ซึÉงเป็นห้องสมุดแห่งแรกของโลก - คาลเดีย สร้างสวนลอยแห่งกรุงบาบิโลน มีความสามารถด้านดาราศาสตร์ แบ่งสัปดาห์ = 7 วัน สามารถทํานายสุริยุปราคา และนําเอาดาราศาสตร์มาเป็นเครืÉองทํานายชะตาชีวิตมนุษย์ - เปอร์เซีย ระบอบการปกครองแบบจักรวรรดินิยมทีÉมัÉนคง ขยายการค้าเข้าไปยังดินแดนต่างๆ - ฟินิเซีย มีความสามารถด้านการค้า การแลกเปลีÉยนเงินตรา เป็นชาติแรกทีÉมีเหรียญคําทองใช้ เป็น ผู้เผยแพร่วัฒนธรรมของชาติต่างๆ ในภูมิภาคนีÊ กรีก กรีก เป็นเชืÊอสายอินโด – ยูโรเปีÊยน เรียกวัฒนธรรมตนเองว่า เฮเลนนีส ( Hellenes) เรียกบ้านเมือง ตนเองว่า เฮลลัส ( Hellas ) ยุคเฮเลนิค ( Hellenic Civilization) - มีศูนย์กลางอยู่ทีÉเอเธนส์ มีการปกครองแบบนครรัฐ ศูนย์กลางของนครรัฐอยู่ทีÉ “อะโครโปลิส” - มีความรุ่งเรืองทางการค้ามาก การเดินทางไปค้าขายกับดินแดนต่างๆ ทําให้ชาวกรีกมีโลกทัศน์ กว้างขวาง และรับวัฒนธรรมจากดินแดนต่างๆ ทําให้ชาวกรีกเป็นคนอยากรู้อยากเห็น เชืÉอมัÉน ในเหตุผล เชืÉอในดุลพินิจของตน ส่งผลต่อแนวคิดมนุษย์นิยม ( Humanism) - สนใจในธรรมชาตินิยม (Naturalism) นับถือเทพเจ้าหลายองค์ แต่มีอิสรภาพทางความคิด เพราะ ศาสนาไม่มีอิทธิพลวิถีเหนือชีวิตของคนในสังคมมากนัก - แนวคิดประชาธิปไตย มนุษย์ปกครองแบบนครรัฐอิสระ เช่น นครรัฐเอเธนส์ ปกครองแบบ ประชาธิปไตยทางโดยพลเมืองชายทีÉเป็นเจ้าของทีÉดินและเกิดในนครรัฐจะมีสิทธิในการปกครองมี สิทธิในการเข้าประชุมสภาราษฎร อารยธรรมของกรีกซึÉงเป็นรากฐานของอารยธรรมตะวันตกในปัจจุบัน ได้แก่ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม เน้นความยิÉงใหญ่ เรียบง่าย กลมกลืน - ดอริก : มหาวิหารพาร์เธนอน - ไอโอนิค - โครินเซียน เป็ นการปัÊนทีÉมีสัดส่วนและ สรีระทีÉเป็ นมนุษย์จริง การ เปลือยกายเป็นการแสดงออก ถึงความงามของมนุษย์ตาม ธรรมชาติ เช่น นักขว้างจักร จิตรกรรมทีÉมีชืÉอเสียง ได้แก่ ก า ร เ ขี ย น ภ า พ บ น เครืÉองปัÊนดินเผาลวดลาย ต่างๆ 18
  • 25. วรรณกรรม ละคร มหากาพย์อีเลียตและโอเดสซีของโฮมเมอร์ นิทานอีสปและงานด้านปรัชญาของเพลโต โส เกรตีส อริสโตเติÊล ละครสุขนาฏกรรม ( Comedy ) ละครโศกนาฏกรรม ( Tragedy ) การสร้างโรง มหรสพ ส่วนสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชนัÊน เป็นยุคทีÉกรีกเผยแพร่วัฒนธรรมของตนไปยังด้าน ตะวันออก จนสามารถครอบครอง อียิปต์ เปอร์เซีย จนถึงตอนเหนือของอินเดียจึงมีการผสมผสานศิลปะกรีกกับ ศิลปะตะวันออก จึงเป็นศิลปะทีÉเน้นความงดงามแบบหรูหรา อลังการ แสดงถึงอารมณ์อย่างรุนแรง โรมัน - ถือว่าเป็นผู้สืบทอดวัฒนธรรมของกรีก เพราะผสมผสานวัฒนธรรมกรีก กับของอีทรัสกันเข้า ด้วยกัน เช่น การวางผังเมือง การแกะสลัก เครืÉองปัÊนดินเผา ท่อระบายนํÊา การใช้ประตูโค้ง - โรมันปกครองแบบสาธารณรัฐ ซึÉงประกอบด้วยตําแหน่งมี Ś คน เป็นประมุขฝ่ายบริหารและมี สภาสูงจํานวน śŘŘ คน ประกอบด้วย ชนชัÊนสูงและเจ้าของทีÉดิน ( Patrician ) ส่วนสภาราษฎร ประกอบด้วยพลเมืองโรมันทัÊงพาทริเซียนและพลีเบียน ( Plebeian) คือชนชัÊนสามัญชน - ต่อมาพวกพลีเบียนมีบทบาททางการเมืองมากขึÊนและมีสิทธิในการปกครองและสามารถแต่งตัÊง ตําแหน่งตรีบูน( Tribune ) ซึÉงมีสิทธิÍออกเสียง Vote ทําให้มีการบันทึกกฎหมายเป็นลายลักษณ์ อักษร เรียกว่ากฎหมายสิบสองโต๊ะ ซึÉงเป็นกฎหมายฉบับแรกของโรมันทีÉเป็นลายลักษณ์อักษร มีความเสมอภาคทางกฎหมายทําให้การตัดสินคดีมีมาตรฐานเดียวกัน - มีการแบ่งแยกอํานาจกัน ทหารเข้ามามีบทบาททางการเมืองมากขึÊน จูเลียส ซีซาร์ ดํารง ตําแหน่งผู้เผด็จการตลอดชีพ ส่วนออกัสตัส ซีซาร์ตัÊงตนเป็นจักรพรรดิทําให้การปกครองระบบ สาธารณรัฐสิÊนสุด การปกครองแบบจักรพรรดิÍ เรียกว่า “สมัยสันติภาพโรมัน” อันเป็นผล ปรับปรุงการปกครอง ปรับปรุงภาษี ขยายดินแดน สร้างสาธารณูปโภค เช่น สะพาน ถนน ท่อนํÊา ทีÉจักรพรรดิรวมกันได้อย่างมัÉนคงเพราะมีกฎหมายควบคุม ตลอดจนการปลูกฝังวัฒนธรรมและ ภาษาละติน ค.ศ. ŜşŞ จักรพรรดิโรมันตะวันตกถูกยึดครองโดยพวกอนารยชนเผ่าติวตัน - ชาวโรมันเป็นนักปฏิวัติ นักประยุกต์ เพืÉอให้เกิดประโยชน์ใช้สอย นับถือเทพเจ้าตามอย่างกรีก แต่เปลีÉยนชืÉอ นําศิลปะมารับใช้มนุษย์แทนการรับใช้พระเจ้า - ชาวโรมันคํานึงถึงประโยชน์ในการใช้สอย ความรับผิดชอบต่อสังคม ความมีระเบียบวินัย ความ หรูหรา ความสะดวกสบายและการแสดงออกถึงความยิÉงใหญ่ของอํานาจรัฐ เช่นวิหารแพนธี ออน โคลอสเซียม โรงละคร ทีÉอาบนํÊาสาธารณะ - จิตรกรรม ภาพวาดทีÉฝาผนังนครปอมเปอี - วรรณกรรม มหากาพย์เอเนียต ( Aenied ) ของเวอร์จิล 19