SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 43
ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี
ที่ 08/2556
เรื่อง การรับรองเครื่องหมายฮาลาลยาแผนปัจจุบัน
ค�ำถาม : ยาแผนปัจจุบันที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสมและแคปซูลที่ท�ำมาจาก
เจลลาตินสามารถให้การรับรองเครื่องหมายฮาลาลได้หรือไม่ ?
	 ค�ำวินิจฉัย
: ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬
	 ยาแผนปัจจุบันบางชนิดมีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม เช่น ยาธาตุ ยาแก้ไอบางชนิด เป็นต้น
และเนื่องจากแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของสุราและเมรัยทุกชนิด เมื่อดื่มเข้าไปจะออกฤทธิ์
ท�ำให้มีอาการมึนเมา ซึ่งการออกฤทธิ์ท�ำให้มีอาการมึนเมานั้นเป็นเหตุผลหลักในการบัญญัติห้าม
การเสพย์สุราและของมึนเมาทุกประเภท บรรดานักนิติศาสตร์อิสลามมีความเห็นตรงกันว่า การน�ำ
วัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมามาใช้เป็นยารักษาโรคนั้นเป็นสิ่งต้องห้ามในกรณีที่ไม่มีความ
จ�ำเป็นขั้นอุกฤษฏ์และมีตัวยาอย่างอื่นมาทดแทนในการรักษาโรคได้ (1)
	 ส่วนในกรณีที่มีความจ�ำเป็นขั้นอุกฤษฏ์ในการใช้ตัวยาที่มีส่วนผสมของวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้
มีอาการมึนเมา เช่น แอลกอฮอล์ เป็นต้น กอปรกับไม่มีตัวยาอื่นซึ่งเป็นที่อนุมัติมาทดแทนในการ
รักษาและแพทย์ผู้ช�ำนาญการที่เชื่อถือได้แนะน�ำให้ผู้ป่วยใช้ตัวยาที่มีส่วนผสมของวัตถุออกฤทธิ์ที่
ท�ำให้มีอาการมึนเมานั้น นักนิติศาสตร์อิสลามมีความเห็นต่างกันเป็น 2 ทัศนะดังนี้
	 1.	ไม่อนุญาตให้ใช้สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมาเป็นยารักษาโรค ยกเว้นเมื่อ
สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมาถูกท�ำให้เจือจางลงในตัวยาและไม่มีสี กลิ่น รสของสุรา
หรือวัตถุออกฤทธิ์เหลืออยู่อีก ก็อนุญาตให้ใช้เป็นยารักษาโรคได้ ตามทัศนะของนักวิชาการสังกัด
มัซฮับอัล-ฮะนะฟีย์และอัล-มาลิกีย์ ส่วนนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอีย์ให้รายละเอียดเป็น
เงื่อนไขเพิ่มเติมว่า จะต้องไม่มีสิ่งอื่นที่สะอาดน�ำมาใช้เป็นตัวยาทดแทนได้ และแพทย์ที่น่าเชื่อถือ
(1)	 ร็อดดุลมุห์ต๊าร : 4/215, อัล-กาฟีย์ ฟีฟิกฮิ อะฮ์ลิลมะดีนะฮ์ อัล-มาลิกีย์ : หน้า 188, อัล-มัจญฺมูอ์ : 9/41, อัล-
มุฆนีย์ : 8/308, กิชาฟุลกินาอ์ : 2/77, อัล-มุฮัลลา : 1/177, 7/404
44 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬
ได้สั่งให้จ่ายตัวยาดังกล่าวแก่ผู้ป่วยหรือผู้ป่วยรู้ถึงสรรพคุณของตัวยาที่มีส่วนผสมดังกล่าว เพราะ
เคยทดลองใช้กับโรคนั้นๆ มาก่อนแล้ว ส่วนนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัล-ฮัมบะลีย์ ถือว่าการใช้สุรา
เป็นตัวยาไม่ว่าจะเป็นสุราเพียงอย่างเดียว หรือถูกผสมให้เจือจางในตัวยาก็ตามเป็นสิ่งต้องห้าม (1)
	 2.	อนุญาตให้ใช้สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมาในการรักษาโรคได้ เมื่อไม่มีตัวยา
อื่นซึ่งเป็นที่อนุมัติในการรักษาโรคนั้นๆ และแพทย์ผู้ช�ำนาญการได้แจ้งแก่ผู้ป่วยว่า การดื่มสุราหรือ
วัตถุออกฤทธิ์นั้นจะท�ำให้ผู้ป่วยหายจากอาการป่วยได้ ทัศนะที่สองนี้เป็นประเด็นหนึ่งของนักวิชาการ
สังกัดมัซฮับอัล-ฮะนะฟีย์และอัช-ชาฟิอีย์บางส่วน ทั้งนี้ เมื่อขนาดปริมาณของสุราหรือวัตถุออก
ฤทธิ์นั้นไม่ถึงขั้นท�ำให้มึนเมา (2)
	 ดร.อับดุลฟัตตาห์มะฮ์มูด อิดรีส อาจารย์ภาควิชานิติศาสตร์เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยอัล-อัซฮัร
ได้ให้น�้ำหนักแก่ทัศนะที่หนึ่ง ซึ่งเป็นทัศนะของนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัล-มาลิกีย์และอัช-ชาฟิอีย์
ตลอดจนนักวิชาการที่เห็นด้วย โดยถือว่าการใช้สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้เกิดอาการมึนเมาเป็น
ยารักษาโรคนั้นเป็นสิ่งต้องห้าม ส่วนกรณีเมื่อสุราหรือวัตถุออกฤทธิ์นั้นสิ้นสภาพเดิมอันได้แก่ สี กลิ่น
และรส หรือวัตถุออกฤทธิ์ได้ถูกเจือจางไปแล้วในตัวยา ก็อนุญาตให้ใช้ยาในลักษณะดังกล่าวนี้ได้
เมื่อไม่มีตัวยาอื่นที่อนุมัติมาทดแทนและแพทย์ที่แนะน�ำให้ใช้ยาลักษณะดังกล่าวเป็นแพทย์เฉพาะ
ทางที่มีจรรยาบรรณ หรือผู้ป่วยรู้ถึงสรรพคุณของยาในลักษณะดังกล่าว เนื่องจากมีความรู้ในด้าน
การรักษาหรือเคยทดลองใช้กับโรคนั้นมาก่อน ทั้งนี้ เนื่องจากหลักฐานของนักวิชาการกลุ่มที่หนึ่งมี
ความชัดเจนและไร้ข้อซักค้าน (3)
และที่ประชุมนิติศาสตร์การแพทย์ครั้งที่ 8 ขององค์กรอิสลามเพื่อ
วิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศคูเวตระหว่างวันที่ 22-24 / 5 / ค.ศ.1995 มีแถลงการณ์ว่า
เนื่องจากแอลกอฮอล์เป็นวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้เกิดอาการมึนเมา การรับประทานแอลกอฮอล์จึงเป็น
สิ่งต้องห้ามและตราบใดที่ความพยายามของชาวมุสลิมในการผลิตยาที่ไร้แอลกอฮอล์เป็นส่วน
ประกอบยังไม่เป็นรูปธรรม (โดยเฉพาะยาชนิดต่างๆ ที่ใช้กับเด็กและสตรีมีครรภ์) ก็ย่อมไม่มีข้อห้าม
ตามศาสนบัญญัติในการรับประทานยาแผนปัจจุบันเหล่านั้น โดยจะต้องมีเปอร์เซ็นต์ของแอลกอฮอล์
เพียงเล็กน้อยเข้าไปเป็นส่วนประกอบของตัวยาเพื่อรักษาสภาพของตัวยา หรือท�ำละลายวัตถุตัวยา
บางชนิดที่ไม่ละลายในน�้ำ และแอลกอฮอล์ที่เป็นส่วนประกอบของตัวยานั้นจะต้องไม่ถูกใช้เป็นตัวยา
กล่อมประสาทและไม่มีตัวยาอื่นมาทดแทน
	 อย่างไรก็ตาม  การอนุญาตให้รับประทานยาแผนปัจจุบันบางชนิดที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม
(1)	 อัล-อินายะฮ์ : 8/500, ร็อดดุลมุหฺต๊าร : 4/215, อัล-มับซูฏ : 24/21, ฮาชิยะฮ์ อัด-ดุสูกีย์ : 4/353, กิฟายะฮ์
อัฏฏอลิบ : 2/453, อัล-มัจญฺมูอ์ : 9/51, เราว์เฎาะฮ์ อัฏ-ฏอลิบีน : 3/285, มุฆนีย์ อัล-มุหฺต๊าจญ์ : 4/188, อัล-
มุฆนีย์ : 8/308, 605, ฟะตาวา อิบนิ ตัยมียะฮ์ : 21/567-568, 24/266, 271, 273
(2)	 บะดาอิอุศเศาะนาอิอ์ : 6/2943, 2945, อัล-มัจญฺมูอ์ : 9/51, มุฆนีย์ อัล-มุหฺตาจญ์ : 4/188
(3)	 มะวาด นะญิสะฮ์ ฟิลเฆาะซาอ์ วัด-ดะวาอ์ บะฮ์ซุน ฟิกฮีย์ มุกอร็อน : หน้า 104
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 45
เพียงเล็กน้อยในกรณีที่เป็นไปตามเงื่อนไขข้างต้นเป็นเรื่องหนึ่ง  และการรับรองเครื่องหมายฮาลาล
เป็นอีกเรื่องหนึ่ง จึงเห็นว่าฝ่ายกิจการฮาลาลในองค์กรที่รับผิดชอบสมควรหลีกเลี่ยงการออก
เครื่องหมายรับรองฮาลาลแก่บริษัทผู้ผลิตยาที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสมทุกประเภท โดยให้องค์กร
ที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงแจ้งเรื่องนี้เป็นข้อมูลข่าวสารแก่พี่น้องมุสลิม เนื่องจากประเด็นที่ขอ
ค�ำวินิจฉัยนี้เป็นเพียงข้ออนุโลมเท่านั้น ในขณะที่ประเด็นของการรับรองเครื่องหมายฮาลาลนั้น
จะต้องเด็ดขาดและชัดเจน ทั้งในด้านศาสนบัญญัติและกระบวนการตรวจสอบ
	 ส่วนแคปซูลยาบางชนิดที่ท�ำมาจากเจลาตินนั้น จ�ำต้องพิจารณาถึงประเภทของเจลาตินซึ่ง
หมายถึง โปรตีนที่ถูกสกัดจากสารยึดเกาะของเอ็นไซม์ของหนังและกระดูกสัตว์ เรียกว่า คอลลาเจน
ภายหลังการผ่านกระบวนการทางเคมี เจลาตินจะถูกสกัดจากหนังและกระดูกของอูฐ วัว กระบือ
แพะ แกะและสุกร ในปัจจุบันก�ำลังมีการวิจัยเพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการสกัดเจลาตินจากปลา
เจลาตินได้รับความนิยมและใช้กันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมการผลิตยา ผลิตภัณฑ์อาหารและ
อื่นๆ โดยเฉพาะในการผลิตแคปซูลยาบางชนิดดังมีแถลงการณ์เลขที่ 11 ของสภามัจญ์มะอ์ อัล-ฟิก
ฮิล อิสลามีย์  ณ เมืองเจดดาห์ในการประชุมรอบที่ 3 ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอร์แดน
ในปี ค.ศ.1986 ระบุว่า ไม่อนุญาตให้ชาวมุสลิมใช้ยีสต์และเจลาตินที่ท�ำมาจากสุกรในผลิตภัณฑ์
อาหาร ส่วนยีสต์ตลอดจนเจลาตินที่ท�ำมาจากพืชหรือสัตว์ที่เชือดอย่างถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติ
ถือว่าเพียงพอแล้ว (1)
	 อย่างไรก็ตามที่ประชุมนิติศาสตร์การแพทย์ที่จัดขึ้น ณ ประเทศคูเวตในระหว่างวันที่ 22-
24 / 5 / ค.ศ. 1995 มีแถลงการณ์สรุปว่า เจลาตินที่เกิดจากการแปรสภาพของกระดูกสัตว์ที่เป็น
นะญิส หนังและเส้นเอ็นของสัตว์ที่เป็นนะญิส (สัตว์ที่มิได้เชือดตามศาสนบัญญัติ) เป็นสิ่งที่สะอาด
และอนุญาตให้รับประทานได้ โดยอาศัยหลักการแปรสภาพ (อัล-อิสติฮาละฮ์) ของวัตถุอินทรีย์ที่
เป็นนะญิสหรือปนเปื้อนนะญิสไปเป็นวัตถุอินทรีย์ที่สะอาดได้ และการแปรสภาพของวัตถุอินทรีย์
ที่ต้องห้ามไปเป็นวัตถุอินทรีย์ที่อนุมัติตามศาสนบัญญัติ (2)
	 ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ ได้มีค�ำวินิจฉัยในเรื่องนี้สอดคล้องกับแถลงการณ์ของที่ประชุม
นิติศาสตร์การแพทย์ว่า การแปรสภาพของวัตถุอินทรีย์ที่มาจากสุกรตามกระบวนการทางเคมีนั้น
จะท�ำให้วัตถุอินทรีย์นั้นหมดสภาพความเป็นสุกรที่ต้องห้ามในการบริโภค (3)
กระนั้นก็ตาม ค�ำชี้ขาด
ของที่ประชุมนักวิชาการทั้ง 2 แห่งที่ปรากฏในค�ำแถลงการณ์ก็ยังมีความเห็นต่างกันในเรื่องของ
เจลาตินที่ได้มาจากสัตว์ที่ห้ามรับประทาน เช่น สุกร เป็นต้น หรือสัตว์ที่ไม่ได้เชือดอย่างถูกต้อง
ตามศาสนบัญญัติ ตลอดจนการแปรสภาพทางเคมีของเจลาตินที่ได้จากสัตว์ก็ยังมีข้อถกเถียงกัน
(1)	 เกาะรอรอต ว่า เตาศียาต มัจญมะอ์ อัลฟิกฮิลอิสลามีย์ เมืองญิดดะฮ์ : 43
(2)	 มะวาด นะญิสะฮ์ ฟิล เฆาะซาอ์ วัด-ดะวาอ์ฯ; ดร.อับดุลฟัตตาฮ์ มะหฺมูด อิดรีส : หน้า 31
(3)	 ดูรายละเอียดในฟะตาวา มุอาศิเราะฮ์; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : 3/658
46 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬
ในหมู่นักวิชาการผู้สันทัดกรณี ว่าเป็นการแปรสภาพทางเคมีโดยสมบูรณ์หรือไม่ อีกทั้งการใช้
เจลาตินที่ได้จากพืชหรือสัตว์ที่อนุมัติให้รับประทานและผ่านการเชือดที่ถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติ
นั้นย่อมเพียงพอในการผลิตแคปซูลยาหรือผลิตภัณฑ์อาหารและมีคุณสมบัติเหนือกว่าเจลาตินที่ได้
สกัดจากสุกรหรือสัตว์ที่ห้ามรับประทานอีกด้วย (1)
	 จึงเห็นสมควรให้ฝ่ายกิจการฮาลาลขององค์กรที่มีหน้าที่รับผิดชอบหลีกเลี่ยงจากการออก
เครื่องหมายรับรองฮาลาลแก่บริษัทผลิตยา ที่จ�ำหน่ายแคปซูลยาที่มีเจลาตินจากสัตว์ต้องห้าม
รับประทานเป็นส่วนประกอบในกระบวนการผลิตแคปซูลยา ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดการ
ตรวจรับรองโรงเชือดสัตว์ฮาลาล พ.ศ. 2554 ว่าด้วยเกณฑ์ก�ำหนดส�ำหรับการใช้ค�ำ “ฮาลาล” ข้อที่
4.2.1 และข้อที่ 4.2.17 ตามประกาศคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ฉบับที่ 1 (พ.ศ.
2554)
	 ประเด็นที่ 3 เกี่ยวเนื่องด้วยวัตถุดิบที่ผลิตเป็นยาซึ่งไม่สามารถตรวจสอบได้ว่ามีที่มาฮาลาล
หรือไม่    
	 ในกรณีของประเด็นที่ 3 นี้ให้ถือตามหลักการทางนิติศาสตร์อิสลามที่ว่า
” ُ‫ة‬َ‫اح‬َ‫اإلب‬ ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ي‬ْ‫ش‬َ‫أل‬‫ا‬ ِ‫ف‬ ُ‫ل‬ ْ‫ص‬َ‫أل‬َ‫ا‬ “
“หลักเดิมในทุกสิ่งนั้นคืออนุมัติ” (2)
	 ทั้งนี้ หลักเดิมของสิ่งที่อัลลอฮ์  สร้างนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณประโยชน์และฮาลาล และไม่มี
การห้ามใดๆ นอกจากสิ่งที่มีตัวบทที่ถูกต้องชัดเจนจากอัล-กุรอานและอัส-ซุนนะฮ์ระบุว่าสิ่งนั้นเป็นที่
ต้องห้าม ดังนั้นเมื่อปรากฏว่าตัวบทนั้นไม่ถูกต้อง เช่น บรรดาหะดีษเฎาะอีฟ เป็นต้น หรือตัวบทนั้น
ไม่มีนัยชัดเจนที่บ่งว่าเป็นสิ่งต้องห้ามก็ให้คงเรื่องนั้นไว้ตามหลักเดิมของการเป็นที่อนุมัติ (3)
และ
อิบนุ มุฟลิห์ ได้ถ่ายทอดจากชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮ์ ว่า : แท้จริงชาวสะลัฟนั้นพวกเขาจะไม่
กล่าวว่าสิ่งใดฮารอมนอกจากเฉพาะสิ่งที่ได้รับรู้แน่ชัดว่าสิ่งนั้นฮารอมโดยเด็ดขาดเท่านั้น (4)
และถือ
ตามกฎทางนิติศาสตร์อิสลามที่ระบุว่า :
(1)	 มับฮัษ อิอ์ลามีย์ เฮาล่า อัล-อิสติฆนาอ์ อะนิลมุฮัรเราะมาต วันนะญาสาต ฟิดดะวาอ์ วัลเฆาะซาอ์ : หน้า 19
(2)	 อัล-อัชบาฮ์ วันนะซออิร; อัซซุยูฏีย์ : 1/60
(3)	 อัล-ฮาลาล วัลฮารอม; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : หน้า 20 มักตะบะฮ์ วะฮ์บะฮ์; ไคโร
(4)	 อ้างแล้ว : หน้า 25
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 47
(1)	 อัล-ฮาลาล วัลฮารอม; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : หน้า 60
” ُ‫ه‬‫ن‬َ‫ع‬ ُ‫سأل‬ُ‫ن‬ َ‫ال‬ ‫ا‬َّ‫ن‬َ‫ع‬ َ‫ب‬َ‫ا‬‫غ‬ ‫ا‬َ‫م‬ “
“สิ่งที่ซ่อนเร้นจากเรา เราจะไม่ถูกถามถึงสิ่งนั้น” (1)
	 ดังนั้น เมื่อไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าวัตถุดิบที่ผลิตเป็นยามีที่มาที่ฮาลาลหรือไม่ ให้ถือว่า
เป็นสิ่งที่ได้รับการผ่อนผันและอนุโลมตามหลักการข้างต้นในการใช้ยาในลักษณะดังกล่าวได้โดยไม่มี
ข้อห้ามใดๆ ส่วนการรับรองเครื่องหมายฮาลาลให้แก่ผู้ผลิตยาที่ไม่สามารถตรวจสอบวัตถุดิบที่ผลิต
เป็นยาได้นั้น ให้เป็นไปตามดุลยพินิจของฝ่ายกิจการฮาลาล
‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬
อาศิส พิทักษ์คุมพล
จุฬาราชมนตรี
* * *

More Related Content

What's hot

การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
Ratchadaporn Khwanpanya
 
BDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือBDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือ
cinmmt
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
Dnnaree Ny
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
Onpa Akaradech
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Khon Kaen University
 

What's hot (20)

Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
BDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือBDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
Wh-question + ever ใช้ยังไงได้บ้าง?
Wh-question + ever    ใช้ยังไงได้บ้าง? Wh-question + ever    ใช้ยังไงได้บ้าง?
Wh-question + ever ใช้ยังไงได้บ้าง?
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
Research topic and thesis guide (การกำหนดหัวข้อวิจัย และ องค์ประกอบของวิทยานิ...
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 

Viewers also liked

حوار مع أشعري الماتريدية ربيبة الكلابية
حوار مع أشعري   الماتريدية ربيبة الكلابيةحوار مع أشعري   الماتريدية ربيبة الكلابية
حوار مع أشعري الماتريدية ربيبة الكلابية
Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Om Muktar
 

Viewers also liked (20)

تنوير الظلمات بكشف مفاسد وشبهات الانتخابات
تنوير الظلمات بكشف مفاسد وشبهات الانتخاباتتنوير الظلمات بكشف مفاسد وشبهات الانتخابات
تنوير الظلمات بكشف مفاسد وشبهات الانتخابات
 
فتاوى كبار علماء الأزهر الشريف حول الأضرحة والقبور والموالد والنذور
فتاوى كبار علماء الأزهر الشريف حول الأضرحة والقبور والموالد والنذورفتاوى كبار علماء الأزهر الشريف حول الأضرحة والقبور والموالد والنذور
فتاوى كبار علماء الأزهر الشريف حول الأضرحة والقبور والموالد والنذور
 
التسعينية
التسعينيةالتسعينية
التسعينية
 
حقيقة الصوفية
حقيقة الصوفيةحقيقة الصوفية
حقيقة الصوفية
 
جلباب المرأة المسلمة
جلباب المرأة المسلمةجلباب المرأة المسلمة
جلباب المرأة المسلمة
 
What is a Tāghūt?
What is a Tāghūt?What is a Tāghūt?
What is a Tāghūt?
 
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدةمنهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
 
أخطاء فتح الباري في العقيدة
أخطاء فتح الباري في العقيدةأخطاء فتح الباري في العقيدة
أخطاء فتح الباري في العقيدة
 
فتاوى كبار علماء الأزهر الشريف في الشيعة
فتاوى كبار علماء الأزهر الشريف في الشيعةفتاوى كبار علماء الأزهر الشريف في الشيعة
فتاوى كبار علماء الأزهر الشريف في الشيعة
 
The Fundamentals of Tawheed - EXCELLENT!
The Fundamentals of Tawheed - EXCELLENT!The Fundamentals of Tawheed - EXCELLENT!
The Fundamentals of Tawheed - EXCELLENT!
 
العقيدة الإسلامية وتاريخها
العقيدة الإسلامية وتاريخها العقيدة الإسلامية وتاريخها
العقيدة الإسلامية وتاريخها
 
شرح حديث جبريل
شرح حديث جبريلشرح حديث جبريل
شرح حديث جبريل
 
عقيدة أهل الإيمان في خلق آدم على صورة الرحمن
عقيدة أهل الإيمان في خلق آدم على صورة الرحمنعقيدة أهل الإيمان في خلق آدم على صورة الرحمن
عقيدة أهل الإيمان في خلق آدم على صورة الرحمن
 
حوار مع أشعري الماتريدية ربيبة الكلابية
حوار مع أشعري   الماتريدية ربيبة الكلابيةحوار مع أشعري   الماتريدية ربيبة الكلابية
حوار مع أشعري الماتريدية ربيبة الكلابية
 
فتاوى نادرة لثلاثة من كبار علماء مصر في التحذير من حسن البنا وحزب الإخوان الم...
فتاوى نادرة لثلاثة من كبار علماء مصر في التحذير من حسن البنا وحزب الإخوان الم...فتاوى نادرة لثلاثة من كبار علماء مصر في التحذير من حسن البنا وحزب الإخوان الم...
فتاوى نادرة لثلاثة من كبار علماء مصر في التحذير من حسن البنا وحزب الإخوان الم...
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
الكشـاف عن ضلالات حسن السقـاف - سليمان بن ناصر العلوان
الكشـاف عن ضلالات حسن السقـاف - سليمان بن ناصر العلوانالكشـاف عن ضلالات حسن السقـاف - سليمان بن ناصر العلوان
الكشـاف عن ضلالات حسن السقـاف - سليمان بن ناصر العلوان
 
مختارات من الطرق الحكمية في السياسة الشرعية
مختارات من الطرق الحكمية في السياسة الشرعيةمختارات من الطرق الحكمية في السياسة الشرعية
مختارات من الطرق الحكمية في السياسة الشرعية
 
قصةُ المسيح الدّجال ونزول عيسى عليه السلام وقتله إياهُ في آخر الزمان
قصةُ المسيح الدّجال ونزول عيسى عليه السلام وقتله إياهُ في آخر الزمانقصةُ المسيح الدّجال ونزول عيسى عليه السلام وقتله إياهُ في آخر الزمان
قصةُ المسيح الدّجال ونزول عيسى عليه السلام وقتله إياهُ في آخر الزمان
 
ข้อเท็จจริงการบิดเบือนคำสอนศาสนาอิสลามในเอกสารเบอร์จีฮาด ดิ ปัตตานี (สำนักจุฬ...
ข้อเท็จจริงการบิดเบือนคำสอนศาสนาอิสลามในเอกสารเบอร์จีฮาด ดิ ปัตตานี (สำนักจุฬ...ข้อเท็จจริงการบิดเบือนคำสอนศาสนาอิสลามในเอกสารเบอร์จีฮาด ดิ ปัตตานี (สำนักจุฬ...
ข้อเท็จจริงการบิดเบือนคำสอนศาสนาอิสลามในเอกสารเบอร์จีฮาด ดิ ปัตตานี (สำนักจุฬ...
 

More from Om Muktar

พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
Om Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
Om Muktar
 

More from Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
 

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การรับรองเครื่องหมายฮาลาลยาแผนปัจจุบัน

  • 1. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 43 ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี ที่ 08/2556 เรื่อง การรับรองเครื่องหมายฮาลาลยาแผนปัจจุบัน ค�ำถาม : ยาแผนปัจจุบันที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสมและแคปซูลที่ท�ำมาจาก เจลลาตินสามารถให้การรับรองเครื่องหมายฮาลาลได้หรือไม่ ? ค�ำวินิจฉัย : ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬ ยาแผนปัจจุบันบางชนิดมีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม เช่น ยาธาตุ ยาแก้ไอบางชนิด เป็นต้น และเนื่องจากแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของสุราและเมรัยทุกชนิด เมื่อดื่มเข้าไปจะออกฤทธิ์ ท�ำให้มีอาการมึนเมา ซึ่งการออกฤทธิ์ท�ำให้มีอาการมึนเมานั้นเป็นเหตุผลหลักในการบัญญัติห้าม การเสพย์สุราและของมึนเมาทุกประเภท บรรดานักนิติศาสตร์อิสลามมีความเห็นตรงกันว่า การน�ำ วัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมามาใช้เป็นยารักษาโรคนั้นเป็นสิ่งต้องห้ามในกรณีที่ไม่มีความ จ�ำเป็นขั้นอุกฤษฏ์และมีตัวยาอย่างอื่นมาทดแทนในการรักษาโรคได้ (1) ส่วนในกรณีที่มีความจ�ำเป็นขั้นอุกฤษฏ์ในการใช้ตัวยาที่มีส่วนผสมของวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้ มีอาการมึนเมา เช่น แอลกอฮอล์ เป็นต้น กอปรกับไม่มีตัวยาอื่นซึ่งเป็นที่อนุมัติมาทดแทนในการ รักษาและแพทย์ผู้ช�ำนาญการที่เชื่อถือได้แนะน�ำให้ผู้ป่วยใช้ตัวยาที่มีส่วนผสมของวัตถุออกฤทธิ์ที่ ท�ำให้มีอาการมึนเมานั้น นักนิติศาสตร์อิสลามมีความเห็นต่างกันเป็น 2 ทัศนะดังนี้ 1. ไม่อนุญาตให้ใช้สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมาเป็นยารักษาโรค ยกเว้นเมื่อ สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมาถูกท�ำให้เจือจางลงในตัวยาและไม่มีสี กลิ่น รสของสุรา หรือวัตถุออกฤทธิ์เหลืออยู่อีก ก็อนุญาตให้ใช้เป็นยารักษาโรคได้ ตามทัศนะของนักวิชาการสังกัด มัซฮับอัล-ฮะนะฟีย์และอัล-มาลิกีย์ ส่วนนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอีย์ให้รายละเอียดเป็น เงื่อนไขเพิ่มเติมว่า จะต้องไม่มีสิ่งอื่นที่สะอาดน�ำมาใช้เป็นตัวยาทดแทนได้ และแพทย์ที่น่าเชื่อถือ (1) ร็อดดุลมุห์ต๊าร : 4/215, อัล-กาฟีย์ ฟีฟิกฮิ อะฮ์ลิลมะดีนะฮ์ อัล-มาลิกีย์ : หน้า 188, อัล-มัจญฺมูอ์ : 9/41, อัล- มุฆนีย์ : 8/308, กิชาฟุลกินาอ์ : 2/77, อัล-มุฮัลลา : 1/177, 7/404
  • 2. 44 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ ได้สั่งให้จ่ายตัวยาดังกล่าวแก่ผู้ป่วยหรือผู้ป่วยรู้ถึงสรรพคุณของตัวยาที่มีส่วนผสมดังกล่าว เพราะ เคยทดลองใช้กับโรคนั้นๆ มาก่อนแล้ว ส่วนนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัล-ฮัมบะลีย์ ถือว่าการใช้สุรา เป็นตัวยาไม่ว่าจะเป็นสุราเพียงอย่างเดียว หรือถูกผสมให้เจือจางในตัวยาก็ตามเป็นสิ่งต้องห้าม (1) 2. อนุญาตให้ใช้สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้มีอาการมึนเมาในการรักษาโรคได้ เมื่อไม่มีตัวยา อื่นซึ่งเป็นที่อนุมัติในการรักษาโรคนั้นๆ และแพทย์ผู้ช�ำนาญการได้แจ้งแก่ผู้ป่วยว่า การดื่มสุราหรือ วัตถุออกฤทธิ์นั้นจะท�ำให้ผู้ป่วยหายจากอาการป่วยได้ ทัศนะที่สองนี้เป็นประเด็นหนึ่งของนักวิชาการ สังกัดมัซฮับอัล-ฮะนะฟีย์และอัช-ชาฟิอีย์บางส่วน ทั้งนี้ เมื่อขนาดปริมาณของสุราหรือวัตถุออก ฤทธิ์นั้นไม่ถึงขั้นท�ำให้มึนเมา (2) ดร.อับดุลฟัตตาห์มะฮ์มูด อิดรีส อาจารย์ภาควิชานิติศาสตร์เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยอัล-อัซฮัร ได้ให้น�้ำหนักแก่ทัศนะที่หนึ่ง ซึ่งเป็นทัศนะของนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัล-มาลิกีย์และอัช-ชาฟิอีย์ ตลอดจนนักวิชาการที่เห็นด้วย โดยถือว่าการใช้สุราหรือวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้เกิดอาการมึนเมาเป็น ยารักษาโรคนั้นเป็นสิ่งต้องห้าม ส่วนกรณีเมื่อสุราหรือวัตถุออกฤทธิ์นั้นสิ้นสภาพเดิมอันได้แก่ สี กลิ่น และรส หรือวัตถุออกฤทธิ์ได้ถูกเจือจางไปแล้วในตัวยา ก็อนุญาตให้ใช้ยาในลักษณะดังกล่าวนี้ได้ เมื่อไม่มีตัวยาอื่นที่อนุมัติมาทดแทนและแพทย์ที่แนะน�ำให้ใช้ยาลักษณะดังกล่าวเป็นแพทย์เฉพาะ ทางที่มีจรรยาบรรณ หรือผู้ป่วยรู้ถึงสรรพคุณของยาในลักษณะดังกล่าว เนื่องจากมีความรู้ในด้าน การรักษาหรือเคยทดลองใช้กับโรคนั้นมาก่อน ทั้งนี้ เนื่องจากหลักฐานของนักวิชาการกลุ่มที่หนึ่งมี ความชัดเจนและไร้ข้อซักค้าน (3) และที่ประชุมนิติศาสตร์การแพทย์ครั้งที่ 8 ขององค์กรอิสลามเพื่อ วิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศคูเวตระหว่างวันที่ 22-24 / 5 / ค.ศ.1995 มีแถลงการณ์ว่า เนื่องจากแอลกอฮอล์เป็นวัตถุออกฤทธิ์ที่ท�ำให้เกิดอาการมึนเมา การรับประทานแอลกอฮอล์จึงเป็น สิ่งต้องห้ามและตราบใดที่ความพยายามของชาวมุสลิมในการผลิตยาที่ไร้แอลกอฮอล์เป็นส่วน ประกอบยังไม่เป็นรูปธรรม (โดยเฉพาะยาชนิดต่างๆ ที่ใช้กับเด็กและสตรีมีครรภ์) ก็ย่อมไม่มีข้อห้าม ตามศาสนบัญญัติในการรับประทานยาแผนปัจจุบันเหล่านั้น โดยจะต้องมีเปอร์เซ็นต์ของแอลกอฮอล์ เพียงเล็กน้อยเข้าไปเป็นส่วนประกอบของตัวยาเพื่อรักษาสภาพของตัวยา หรือท�ำละลายวัตถุตัวยา บางชนิดที่ไม่ละลายในน�้ำ และแอลกอฮอล์ที่เป็นส่วนประกอบของตัวยานั้นจะต้องไม่ถูกใช้เป็นตัวยา กล่อมประสาทและไม่มีตัวยาอื่นมาทดแทน อย่างไรก็ตาม การอนุญาตให้รับประทานยาแผนปัจจุบันบางชนิดที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสม (1) อัล-อินายะฮ์ : 8/500, ร็อดดุลมุหฺต๊าร : 4/215, อัล-มับซูฏ : 24/21, ฮาชิยะฮ์ อัด-ดุสูกีย์ : 4/353, กิฟายะฮ์ อัฏฏอลิบ : 2/453, อัล-มัจญฺมูอ์ : 9/51, เราว์เฎาะฮ์ อัฏ-ฏอลิบีน : 3/285, มุฆนีย์ อัล-มุหฺต๊าจญ์ : 4/188, อัล- มุฆนีย์ : 8/308, 605, ฟะตาวา อิบนิ ตัยมียะฮ์ : 21/567-568, 24/266, 271, 273 (2) บะดาอิอุศเศาะนาอิอ์ : 6/2943, 2945, อัล-มัจญฺมูอ์ : 9/51, มุฆนีย์ อัล-มุหฺตาจญ์ : 4/188 (3) มะวาด นะญิสะฮ์ ฟิลเฆาะซาอ์ วัด-ดะวาอ์ บะฮ์ซุน ฟิกฮีย์ มุกอร็อน : หน้า 104
  • 3. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 45 เพียงเล็กน้อยในกรณีที่เป็นไปตามเงื่อนไขข้างต้นเป็นเรื่องหนึ่ง และการรับรองเครื่องหมายฮาลาล เป็นอีกเรื่องหนึ่ง จึงเห็นว่าฝ่ายกิจการฮาลาลในองค์กรที่รับผิดชอบสมควรหลีกเลี่ยงการออก เครื่องหมายรับรองฮาลาลแก่บริษัทผู้ผลิตยาที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนผสมทุกประเภท โดยให้องค์กร ที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงแจ้งเรื่องนี้เป็นข้อมูลข่าวสารแก่พี่น้องมุสลิม เนื่องจากประเด็นที่ขอ ค�ำวินิจฉัยนี้เป็นเพียงข้ออนุโลมเท่านั้น ในขณะที่ประเด็นของการรับรองเครื่องหมายฮาลาลนั้น จะต้องเด็ดขาดและชัดเจน ทั้งในด้านศาสนบัญญัติและกระบวนการตรวจสอบ ส่วนแคปซูลยาบางชนิดที่ท�ำมาจากเจลาตินนั้น จ�ำต้องพิจารณาถึงประเภทของเจลาตินซึ่ง หมายถึง โปรตีนที่ถูกสกัดจากสารยึดเกาะของเอ็นไซม์ของหนังและกระดูกสัตว์ เรียกว่า คอลลาเจน ภายหลังการผ่านกระบวนการทางเคมี เจลาตินจะถูกสกัดจากหนังและกระดูกของอูฐ วัว กระบือ แพะ แกะและสุกร ในปัจจุบันก�ำลังมีการวิจัยเพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการสกัดเจลาตินจากปลา เจลาตินได้รับความนิยมและใช้กันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมการผลิตยา ผลิตภัณฑ์อาหารและ อื่นๆ โดยเฉพาะในการผลิตแคปซูลยาบางชนิดดังมีแถลงการณ์เลขที่ 11 ของสภามัจญ์มะอ์ อัล-ฟิก ฮิล อิสลามีย์ ณ เมืองเจดดาห์ในการประชุมรอบที่ 3 ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอร์แดน ในปี ค.ศ.1986 ระบุว่า ไม่อนุญาตให้ชาวมุสลิมใช้ยีสต์และเจลาตินที่ท�ำมาจากสุกรในผลิตภัณฑ์ อาหาร ส่วนยีสต์ตลอดจนเจลาตินที่ท�ำมาจากพืชหรือสัตว์ที่เชือดอย่างถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติ ถือว่าเพียงพอแล้ว (1) อย่างไรก็ตามที่ประชุมนิติศาสตร์การแพทย์ที่จัดขึ้น ณ ประเทศคูเวตในระหว่างวันที่ 22- 24 / 5 / ค.ศ. 1995 มีแถลงการณ์สรุปว่า เจลาตินที่เกิดจากการแปรสภาพของกระดูกสัตว์ที่เป็น นะญิส หนังและเส้นเอ็นของสัตว์ที่เป็นนะญิส (สัตว์ที่มิได้เชือดตามศาสนบัญญัติ) เป็นสิ่งที่สะอาด และอนุญาตให้รับประทานได้ โดยอาศัยหลักการแปรสภาพ (อัล-อิสติฮาละฮ์) ของวัตถุอินทรีย์ที่ เป็นนะญิสหรือปนเปื้อนนะญิสไปเป็นวัตถุอินทรีย์ที่สะอาดได้ และการแปรสภาพของวัตถุอินทรีย์ ที่ต้องห้ามไปเป็นวัตถุอินทรีย์ที่อนุมัติตามศาสนบัญญัติ (2) ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ ได้มีค�ำวินิจฉัยในเรื่องนี้สอดคล้องกับแถลงการณ์ของที่ประชุม นิติศาสตร์การแพทย์ว่า การแปรสภาพของวัตถุอินทรีย์ที่มาจากสุกรตามกระบวนการทางเคมีนั้น จะท�ำให้วัตถุอินทรีย์นั้นหมดสภาพความเป็นสุกรที่ต้องห้ามในการบริโภค (3) กระนั้นก็ตาม ค�ำชี้ขาด ของที่ประชุมนักวิชาการทั้ง 2 แห่งที่ปรากฏในค�ำแถลงการณ์ก็ยังมีความเห็นต่างกันในเรื่องของ เจลาตินที่ได้มาจากสัตว์ที่ห้ามรับประทาน เช่น สุกร เป็นต้น หรือสัตว์ที่ไม่ได้เชือดอย่างถูกต้อง ตามศาสนบัญญัติ ตลอดจนการแปรสภาพทางเคมีของเจลาตินที่ได้จากสัตว์ก็ยังมีข้อถกเถียงกัน (1) เกาะรอรอต ว่า เตาศียาต มัจญมะอ์ อัลฟิกฮิลอิสลามีย์ เมืองญิดดะฮ์ : 43 (2) มะวาด นะญิสะฮ์ ฟิล เฆาะซาอ์ วัด-ดะวาอ์ฯ; ดร.อับดุลฟัตตาฮ์ มะหฺมูด อิดรีส : หน้า 31 (3) ดูรายละเอียดในฟะตาวา มุอาศิเราะฮ์; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : 3/658
  • 4. 46 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ ในหมู่นักวิชาการผู้สันทัดกรณี ว่าเป็นการแปรสภาพทางเคมีโดยสมบูรณ์หรือไม่ อีกทั้งการใช้ เจลาตินที่ได้จากพืชหรือสัตว์ที่อนุมัติให้รับประทานและผ่านการเชือดที่ถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติ นั้นย่อมเพียงพอในการผลิตแคปซูลยาหรือผลิตภัณฑ์อาหารและมีคุณสมบัติเหนือกว่าเจลาตินที่ได้ สกัดจากสุกรหรือสัตว์ที่ห้ามรับประทานอีกด้วย (1) จึงเห็นสมควรให้ฝ่ายกิจการฮาลาลขององค์กรที่มีหน้าที่รับผิดชอบหลีกเลี่ยงจากการออก เครื่องหมายรับรองฮาลาลแก่บริษัทผลิตยา ที่จ�ำหน่ายแคปซูลยาที่มีเจลาตินจากสัตว์ต้องห้าม รับประทานเป็นส่วนประกอบในกระบวนการผลิตแคปซูลยา ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดการ ตรวจรับรองโรงเชือดสัตว์ฮาลาล พ.ศ. 2554 ว่าด้วยเกณฑ์ก�ำหนดส�ำหรับการใช้ค�ำ “ฮาลาล” ข้อที่ 4.2.1 และข้อที่ 4.2.17 ตามประกาศคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2554) ประเด็นที่ 3 เกี่ยวเนื่องด้วยวัตถุดิบที่ผลิตเป็นยาซึ่งไม่สามารถตรวจสอบได้ว่ามีที่มาฮาลาล หรือไม่ ในกรณีของประเด็นที่ 3 นี้ให้ถือตามหลักการทางนิติศาสตร์อิสลามที่ว่า ” ُ‫ة‬َ‫اح‬َ‫اإلب‬ ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ي‬ْ‫ش‬َ‫أل‬‫ا‬ ِ‫ف‬ ُ‫ل‬ ْ‫ص‬َ‫أل‬َ‫ا‬ “ “หลักเดิมในทุกสิ่งนั้นคืออนุมัติ” (2) ทั้งนี้ หลักเดิมของสิ่งที่อัลลอฮ์  สร้างนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณประโยชน์และฮาลาล และไม่มี การห้ามใดๆ นอกจากสิ่งที่มีตัวบทที่ถูกต้องชัดเจนจากอัล-กุรอานและอัส-ซุนนะฮ์ระบุว่าสิ่งนั้นเป็นที่ ต้องห้าม ดังนั้นเมื่อปรากฏว่าตัวบทนั้นไม่ถูกต้อง เช่น บรรดาหะดีษเฎาะอีฟ เป็นต้น หรือตัวบทนั้น ไม่มีนัยชัดเจนที่บ่งว่าเป็นสิ่งต้องห้ามก็ให้คงเรื่องนั้นไว้ตามหลักเดิมของการเป็นที่อนุมัติ (3) และ อิบนุ มุฟลิห์ ได้ถ่ายทอดจากชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮ์ ว่า : แท้จริงชาวสะลัฟนั้นพวกเขาจะไม่ กล่าวว่าสิ่งใดฮารอมนอกจากเฉพาะสิ่งที่ได้รับรู้แน่ชัดว่าสิ่งนั้นฮารอมโดยเด็ดขาดเท่านั้น (4) และถือ ตามกฎทางนิติศาสตร์อิสลามที่ระบุว่า : (1) มับฮัษ อิอ์ลามีย์ เฮาล่า อัล-อิสติฆนาอ์ อะนิลมุฮัรเราะมาต วันนะญาสาต ฟิดดะวาอ์ วัลเฆาะซาอ์ : หน้า 19 (2) อัล-อัชบาฮ์ วันนะซออิร; อัซซุยูฏีย์ : 1/60 (3) อัล-ฮาลาล วัลฮารอม; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : หน้า 20 มักตะบะฮ์ วะฮ์บะฮ์; ไคโร (4) อ้างแล้ว : หน้า 25
  • 5. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 47 (1) อัล-ฮาลาล วัลฮารอม; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : หน้า 60 ” ُ‫ه‬‫ن‬َ‫ع‬ ُ‫سأل‬ُ‫ن‬ َ‫ال‬ ‫ا‬َّ‫ن‬َ‫ع‬ َ‫ب‬َ‫ا‬‫غ‬ ‫ا‬َ‫م‬ “ “สิ่งที่ซ่อนเร้นจากเรา เราจะไม่ถูกถามถึงสิ่งนั้น” (1) ดังนั้น เมื่อไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าวัตถุดิบที่ผลิตเป็นยามีที่มาที่ฮาลาลหรือไม่ ให้ถือว่า เป็นสิ่งที่ได้รับการผ่อนผันและอนุโลมตามหลักการข้างต้นในการใช้ยาในลักษณะดังกล่าวได้โดยไม่มี ข้อห้ามใดๆ ส่วนการรับรองเครื่องหมายฮาลาลให้แก่ผู้ผลิตยาที่ไม่สามารถตรวจสอบวัตถุดิบที่ผลิต เป็นยาได้นั้น ให้เป็นไปตามดุลยพินิจของฝ่ายกิจการฮาลาล ‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี * * *