SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
กฎหมายการท่องเที่ยว
(Tourism Laws)
-5-
อาจารย์ นุรัตน์ ปวนคามา
สานักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ขอบเขตการบรรยาย
●ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับ
การเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
•●การเปิดเสรีด้านการบริการท่องเที่ยวภายใต้
กรอบความตกลงขององค์การการค้าโลก
•●การเปิดเสรีด้านบริการท่องเที่ยวภายใต้กรอบ
•ความตกลงของอาเซียน
การเปิดเสรีด้านการบริการท่องเที่ยว
ภายใต้กรอบความตกลงขององค์การการค้าโลก
หลักการพื้นฐาน : องค์การการค้าโลกมีบทบาทสาคัญใน
การส่งเสริมให้เกิดการค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิก
โดยมุ่งเน้นการลดข้อจากัดทางการค้า
การเปิดเสรีด้านการบริการท่องเที่ยวภายใต้กรอบความตกลงขององค์การการค้าโลก
•ความตกลงด้านการค้าบริการ
(General Agreement on Trade in Services: GATS)
หลักการสาคัญ: ขจัดอุปสรรคการค้าบริการ
ระหว่างประเทศ
ความตกลงด้านการค้าบริการ (GATS)
•ข้อผูกพัน
ประเภทที่ 1 (Mode 1) การให้บริการข้ามพรมแดน
: การค้าบริการที่ผู้ให้บริการและผู้รับบริการอยู่คนละประเทศ
บริการประเภทนี้มันเกี่ยวข้องกับการค้าสินค้าระหว่างประเทศ
ความตกลงด้านการค้าบริการ (GATS)
•ข้อผูกพัน
ประเภทที่ 2 (Mode 2) การบริโภคข้ามพรมแดน
: การที่ผู้รับบริการเดินทางไปใช้บริการในประเทศผู้ให้บริการ
ความตกลงด้านการค้าบริการ (GATS)
•ข้อผูกพัน
ประเภทที่ 3 (Mode 3) การตั้งสานักงาน
: ผู้ให้บริการเดินทางไปเปิดสานักงานหรือตั้งสาขาในประเทศ
ของผู้รับบริการ
ความตกลงด้านการค้าบริการ (GATS)
•ข้อผูกพัน
ประเภทที่ 4 (Mode 4) การเคลื่อนย้ายบุคคล
: การที่ผู้ให้บริการเดินทางไปให้บริการในต่างประเทศ อันเป็น
ลักษณะของการเคลื่อนย้ายแรงงาน
ความตกลงด้านการค้าบริการ (GATS)
ผลต่อประเทศสมาชิก:
1.ประเทศสมาชิกจะได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันโดยไม่มีเงื่อนไข
-หลักปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่ง
(Most Favored Nation: MFN) -
ความตกลงด้านการค้าบริการ (GATS)
ผลต่อประเทศสมาชิก:
2. เฉพาะบางสาขาวิชา จะทาให้องค์กรธุรกิจต่างชาติได้รับการ
ปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกับองค์กรธุรกิจของประเทศนั้น
-หลักการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment) -
การเปิดเสรีด้านบริการท่องเที่ยว
ภายใต้กรอบความตกลงของอาเซียน
ASEAN : มุ่งให้เกิดการค้าเสรีโดยการเคลื่อนย้ายสินค้า
บริการ การลงทุน แรงงาน
ได้อย่างเสรีระหว่างประเทศสมาชิก
ความตกลงของอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
•●กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ
•●แผนการดาเนินการเพื่อไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
•●ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการท่องเที่ยว
•●ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้าน
การท่องเที่ยวอาเซียน
1.กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ
ASEAN Framework Agreement on Service : AFAS
หลักการ: ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีในการเปิดเสรีด้าน
การค้าบริการในสาขาต่าง ๆ ด้วยการขจัดมาตรการต่าง ๆ
ที่เป็นการเลือกปฏิบัติและเป็นข้อจากัดการเข้าสู่ตลาด
ระหว่างประเทศสมาชิก รวมทั้งห้ามมิให้มีการกาหนด
มาตรการใดขึ้นใหม่ซึ่งเป็นการเลือกปฏิบัติและเป็น
ข้อจากัดสู่ตลาดด้วย
1.กรอบความตกลงอาเซียนด้านการบริการ
ASEAN Framework Agreement on Service : AFAS
*สาขาบริการเร่งรัด
•-โรงแรมและร้านอาหาร
•-ตัวแทนการท่องเที่ยวและธุรกิจจัดนาเที่ยว
•-มัคคุเทศก์
2. แผนการดาเนินการเพื่อไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC Blueprint
• ท่องเที่ยว
เป็นหนึ่งในสาขาบริการเร่งรัดที่ต้อง
เปิดให้นักลงทุนอาเซียนเข้ามาถือหุ้น
ได้ในนิติบุคคลที่ให้บริการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 51 (2551) และเพิ่มเป็นร้อย
ละ 70 (2553)
3. ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการท่องเที่ยว
ASEAN Tourism Agreement :ATA
•●มุ่งให้เกิดการค้าบริการด้านการท่องเที่ยวโดยเสรี และส่งเสริมความร่วมมือใน
ด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการท่องเที่ยว
•●ประเทศสมาชิกต้องสนับสนุนการเดินทางมายังอาเซียนและภายใต้อาเซียน
ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การยกเว้นการตรวจลงตราสาหรับคนสัญชาติประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการเดินทางภายในอาเซียน
3. ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการท่องเที่ยว (ต่อ)
ASEAN Tourism Agreement :ATA
• ●ประเทศสมาชิกต้องสร้างคุณภาพของการท่องเที่ยว เช่น ส่งเสริมให้หน่วยงาน
ของรัฐอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ของประเทศ
สมาชิก
• ประเทศสมาชิกจะต้องจัดให้มีมาตรการเพื่อรักษาความปลอดภัยในการท่องเที่ยว
• ●ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกใช้กลไกการตกลงแบบทวิภาคีในการใช้ประโยชน์จาก
ทักษะและความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านการท่องเที่ยวภายในอาเซียน
3. ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการท่องเที่ยว (ต่อ)
ASEAN Tourism Agreement :ATA
•ข้อสังเกต:
• มุ่งหมายให้เกิดการค้าบริการด้านการท่องเที่ยวโดยเสรี และส่งเสริมความ
ร่วมมือในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการท่องเที่ยว และหลักบางประการอาจส่งผล
กระทบต่อกฎหมายภายใน เช่น การยกเว้นการตรวจลงตรา
• แต่เปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิกตกลงกันในระดับทวิภาคีได้
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
เป็นแนวทางในการลดความแตกต่างของกฎเกณฑ์และมาตรฐานด้าน
คุณสมบัติและการประกอบอาชีพของบุคลากรในอุตสาหกรรมทอ่งเที่ยว เพื่อ
สนับสนุนให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติที่มีระบบและมาตรฐาน ช่วย
แก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานฝีมือและเป็นตัวเร่งให้แรงงานและบุคลากร
วิชาชีพของไทยพัฒนาสมรรถนะให้สูงขึ้น
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
สาระสาคัญ:
กาหนดให้ประเทศสมาชิกพิจารณาสมรรถนะของบุคลากรนตาแหน่งต่าง ๆ โดยใช้คุณสมบัติ
การศึกษา การฝึกอบรม และประสบการณ์ในการทางานเป็นเกณฑ์พื้นฐานในการยอมรับคุณสมบัติ
บุคลากรวิชาชีพที่ผ่านคณะกรรมการรับรองคุณสมบัติวิชาชีพท่องเที่ยวในประเทศสมาชิกอาเซียน
ตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานสมรรถนะร่วมสาหรับบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน โดยที่สิทธิในการ
ประกอบอาชีพในประเทศผู้รับจะอยู่ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายและข้อบังคับของประเทศผู้รับ
โดยข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพด้านท่องเที่ยวอาเซียน
มาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals ACCSTP
มาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals ACCSTP
1.สาขาที่พัก (Hotel Services)
1.1 แผนกต้อนรับ (Front Office) มี 5 ตาแหน่งงาน
-ผู้จัดการฝ่ายต้อนรับ (Front Office Manager)
-ผู้ควบคุมดูแลฝ่ายต้อนรับ (Front Office Supervisor)
-พนักงานต้อนรับ (Receptionist)
-พนักงานรับโทรศัพท์ (Telephone Operator)
-พนักงานยกกระเป๋า (Bell Boy)
มาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals ACCSTP
1.สาขาที่พัก (Hotel Services)
1.2 แผนกแม่บ้าน (House Keeping) มี 6 ตาแหน่งงาน
- ผู้จัดการแผนกแม่บ้าน (Executive Housekeeper)
-ผู้จัดการฝ่ายซักรีด (Laundry Manager)
-ผู้ควบคุมดูแลห้องพัก (Floor Supervisor)
-พนักงานซักรีด (Laundry Attendant)
-พนักงานดูแลห้องพัก (Room Attendant)
-พนักงานทาความสะอาด (Public Area Cleaner)
มาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals ACCSTP
1.สาขาที่พัก (Hotel Services)
1.3 แผนกประกอบอาหาร (Food Production) มี 7 ตาแหน่งงาน
-หัวหน้าพ่อครัว (Executive Chef)
-พ่อครัวแต่ละงาน (Demi Chef)
-ผู้ช่วยพ่อครัวฝ่ายอาหาร (Commis Chef)
-พ่อครัวงานขนมหวาน (Chef de Prtie)
-ผู้ช่วยพ่อครัวขนมหวาน (Commis Pastry)
-งานขนมปัง (Baker)
-งานเนื้อ (Butcher)
มาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals ACCSTP
1.สาขาที่พัก (Hotel Services)
1.4 แผนกอาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage Service) มี 5
ตาแหน่งงาน
-ผู้อานวยการแผนกอาหารและเครื่องดื่ม (F&B Director)
-ผู้จัดการอาหารและเครื่องดื่ม (F&B Outlet Manager)
-หัวหน้าพนักงานบริกร (Head Waiter)
-พนักงานผสมเครื่องดื่ม (Bartender)
-พนักงานบริกร (Waiter)
มาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals ACCSTP
2.สาขาการเดินทาง (Travel Services)
2.1 แผนกธุรกิจนาเที่ยว (Travel Agencies) มี 4 ตาแหน่งงาน
-ผู้จัดการทั่วไป (General Manger)
-ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป (Assistant General Manager)
-หัวหน้าผู้แนะนาการเดินทาง (Senior General Manager)
-ผู้แนะนาการเดินทาง (Travel Consultant)
มาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals ACCSTP
2.สาขาการเดินทาง (Travel Services)
2.2 แผนกบริหารธุรกิจนาเที่ยว (Tour Operation) มี 5 ตาแหน่งงาน
-ผู้จัดการธุรกิจ (Product Manager)
-ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาด (Sales and Marketing Manager)
-ผู้จัดการฝ่ายบัญชี (Credit Manager)
-ผู้จัดการฝ่ายตั๋ว (Ticketing Manager)
-ผู้จัดการฝ่ายท่องเที่ยว (Tour manager)
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
ความตกลงยอมรับร่วมกันในคุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน (MRA on Tourism Professionals)
เสนอกรอบมาตรฐานในตาแหน่งด้านการท่องเที่ยวไว้ ครอบคลุม 32 ตาแหน่ง (ด้านโรงแรมและด้านการท่องเที่ยว)
หลักเกณฑ์สาคัญ :
1.คณะกรรมการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งชาติ (National Tourism Professional Board:
NTPB) ทาหน้าที่ เป็นคณะกรรมการระดับชาติที่ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียนจัดตั้ง
ขึ้น ประกอบด้วย ผู้แทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการและผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจท่องเที่ยว
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
หน้าที่ของคณะกรรมการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งชาติ (National Tourism Professional Board: NTPB)
1. สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ MRA ให้แก่ผู้เกี่ยวข้องในประเทศ
2.พัฒนา กากับ ติดตามผลการยกระดับสมรรถนะบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวตามที่กาหนดไว้ในสมรรถนะขั้นพื้นฐานของบุคลากรที่
ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยว (ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals: ACCSTP) และหลักสูตร
การท่องเที่ยวร่วมอาเซียน (Common ASEAN Tourism Curriculum: CATC)
3.อานวยความสะดวกให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติ ประเมินหลักเกณฑ์ กระบวนการพิจารณา จัดทาคู่มือ และ
ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับข้อมูล MRA ของบุคลากรท่องเที่ยวอาเซียน
4.รายงานความก้าวหน้าของการดาเนินงานของคณะกรรมการระดับชาติแก่องค์การท่องเที่ยวแห่งอาเซียน (ASEAN National
Tourism Organizations: ASEAN NTOs) ซึ่งเป็นองค์การที่ประกอบด้วยตัวแทนจากรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน ทาหน้าที่ดูแล
รับผิดชอบภาคท่องเที่ยวของประเทศสมาชิกอาเซียน
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
หน้าที่ของคณะกรรมการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งชาติ (National Tourism Professional Board: NTPB)
5. สร้างและพัฒนาเครื่องมือที่จาเป็นต่อการดาเนินการตามข้อตกลง MRA ของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
6. อานวยความสะดวกให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ในการพัฒนาภาคท่องเที่ยว โดยมุ่งให้มี
มาตรฐานและหลักสูตรของวิชาชีพท่องเที่ยวในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ
7.ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่ได้รับมอบหมายจาก ASEAN NTOs ในอนาคต
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
2.คณะกรรมการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพท่องเที่ยว (The Tourism
Professional Certification Board: TPCB)
เป็นคณะกรรมการที่ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศในกลุ่มอาเซียนจะต้องจัดตั้ง
ขึ้นประกอบด้วยผู้แทนภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และผู้ที่เกี่ยวข้องในธุรกิจ
ท่องเที่ยว
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
หน้าที่ของคณะกรรมการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพท่องเที่ยว (The Tourism Professional Certification Board: TPCB)
1. ทาหน้าที่วางหลักเกณฑ์ แนวทางการประเมินคุณสมบัติ และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวตามที่กาหนดไว้ใน
สมรรถนะพื้นฐานของบุคลากรที่ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยว (ACCSTP)
2. ออกใบรับรองให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวที่มีคุณสมบัติและสมรรถนะผ่านเกณฑ์มาตรฐานตาม ACCSTP
3. พัฒนาและดูแลระบบฐานข้อมูล การขึ้นทะเบียนผู้ได้รับใบรับรองมาตรฐานวิชาชีพแห่งอาเซียนและฐานข้อมูลตาแหน่งว่างในสาขา
บริการท่องเที่ยว (ASEAN Tourism Professional Registration System: ATPRS)
4. แจ้งคณะกรรมการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งชาติ (NTPB) โดยทันทีในกรณีที่บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวต่างชาติขาดคุณสมบัติที่จะ
ประกอบวิชาชีพบริการในประเทศนั้น ๆ อีกต่อไป หรือฝ่าฝืนมาตรฐานว่าด้วยจริยธรรมวิชาชีพ
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
• NTPB + TPCB
มีบทบาทสาคัญในการเชื่อมระบบการพัฒนาบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
สถาบันศึกษา ให้ขับเคลื่อนและทางานประสานกันเพื่อสร้างโอกาสให้กับวิชาชีพการท่องเที่ยวไทยและสนับสนุน
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย และรองรับมาตรฐานวิชาชีพจากประเทศสมาชิกอาเซียน
• เพื่อเข้ามาทางานในประเทศไทย
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
3.คณะกรรมการติดตามตรวจสอบวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN
Tourism Professional Monitoring Committee: ATPMC)
เป็นคณะกรรมการระดับอาเซียนประกอบด้วยผู้แทนจาก ASEAN NTOs และ
NTPBs
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
หน้าที่ของคณะกรรมการติดตามตรวจสอบวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Professional Monitoring
Committee: ATPMC)
1.สร้างความรู้ ความเข้าใจและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ MRA ให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน
2.ส่งเสริม พัฒนา กากับ ติดตามผลการยกระดับสมรรถนะบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวตามที่กาหนดไว้ในสมรรถนะขั้นพื้นฐานของ
บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว (ASEAN Common Competency Standards for Tourism Professionals (ACCSTP)
3.แจ้งคณะกรรมการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพท่องเที่ยว (TPCB) ของประเทศสมาชิกอาเซียนโดยทันทีเมื่อได้ผลตอบลัพธ์จาก
คณะกรรมการวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งชาติในกรณีที่บุคลากรวิชาชีพการท่องเที่ยวต่างชาติไม่ได้รับการยอมรับจากประเทศผู้รับอีกต่อไป
4.อานวยความสะดวกให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติการประเมิน หลักเกณฑ์ ระบบ และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ
ข้อตกลง MRA ของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
การประเมิน
ก า ร ก า ห น ด
สมรรถนะตาม
ลักษณะงาน การรับรอง
การขึ้นทะเบียน
การตรวจสอบ
4.ข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน
ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professional: MRA
ผลกระทบต่อประเทศไทย:
มีความต้องการแรงงานด้านการท่องเที่ยวจานวนมาก
แต่ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้และทักษะด้านนี้อย่างเพียงพอ และหากมีข้อตกลงฯนี้ จะทาให้มี
แรงงานจากต่างประเทศเข้าสู่ตาแหน่งงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยจานวนมาก
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว

More Related Content

What's hot

กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานChacrit Sitdhiwej
 
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator ManagementChapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator ManagementHT241 [Bangkok University]
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacityyah2527
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismChaloempond Chantong
 
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3Sch Napitch
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)krutitirut
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดnattatira
 
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-book
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-bookเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-book
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-bookPeerada Hemmun
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมTeetut Tresirichod
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิก
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิกผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิก
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิกBell Sumitra
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 

What's hot (20)

กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
 
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององ...
 
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator ManagementChapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
3.นทท.
3.นทท.3.นทท.
3.นทท.
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม3
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
 
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-book
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-bookเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-book
เปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียระหว่างหนังสือทั่วไปกับ E-book
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิก
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิกผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิก
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว ภูทับเบิก
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 

More from Nurat Puankhamma

ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9Nurat Puankhamma
 
ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8Nurat Puankhamma
 
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้ายNurat Puankhamma
 
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงินNurat Puankhamma
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมNurat Puankhamma
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัดNurat Puankhamma
 
ประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุนประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุนNurat Puankhamma
 
ประกันในการรับขน
ประกันในการรับขนประกันในการรับขน
ประกันในการรับขนNurat Puankhamma
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1Nurat Puankhamma
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อNurat Puankhamma
 

More from Nurat Puankhamma (14)

อายุความ
อายุความอายุความ
อายุความ
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 
ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8
 
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
 
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด
 
ประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุนประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุน
 
ประกันในการรับขน
ประกันในการรับขนประกันในการรับขน
ประกันในการรับขน
 
Time sharing
Time sharingTime sharing
Time sharing
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 

ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว