SlideShare a Scribd company logo
1 of 126
Download to read offline
วัตถุประสงค์
นิสิตบอกความหมายของศิลปะได้
นิสิตบอกความหมายของทัศนศิลป์ได้
นิสิตบอกประเภทของทัศนศิลป์ได้
เนื้อหา
-ความหมายของศิลปะ
-ความหมายของทัศนศิลป์
-ประเภทของงานทัศนศิลป์
ความหมายของศิลปะ
ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยผ่าน
กระบวนการคิด แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ศิลปกรรม "art"
1. ทัศนศิลป์ (visual art) เป็นศิลปะที่รับรู้ด้วยสายตาทั้ง 2 มิติได้แก่ จิตรกรรมและภาพพิมพ์ และ
งาน 3 มิติ ได้แก่ประติมากรรม สถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรม งานศิลปกรรมที่สามารถจับ
ต้องใช้สอยได้มีผู้เรียกว่า "ทัศนะ-ผัสสะศิลป์ (visuo-tactual art)
2. โสตศิลป์ (auditory art) เป็นศิลปกรรมที่รับรู้ด้วยการฟัง ได้แก่ งานดุริยางค์ศิลป์ หรือ งานดนตรี
ไม่มีภาพ มีแต่เสียงจากเครื่องดนตรีขณะบรรเลงเท่านั้น
3. พจนศิลป์ (verbal art) เป็นศิลปกรรมที่สื่อให้รับรู้ด้วยความเข้าใจในถ้อยคา ได้แก่งานวรรณกรรม
ทั้งร้อยแก้ว และ ร้อยกรอง เป็นศิลปกรรมที่สื่อกันเฉพาะในหมู่ผู้รู้ภาษาเดียวกัน
4. ศิลปผสม (mixed art) เป็นศิลปกรรมที่ใช้สื่อให้รับรู้หลายอย่างพร้อมกัน ได้แก่ ละคร ที่ใช้ทั้ง
ทัศนศิลป์ในการสร้างฉากและเครื่องแต่งตัว ใช้ท่าทางการร่ายรา ใช้การพูดจาด้วยพจน์ศิลป์ และใช้
ดนตรีหรือ โสตศิลป์ประกอบไปพร้อม ๆ กัน
ความหมายของทัศนศิลป์
หมายถึง การมองเห็นหรือสิ่งที่พบเห็นในสิ่งที่มนุษย์
สร้างสรรค์ขึ้น ทาให้เกิดความงาม ความพอใจ และ
เกิดอารมณ์สะเทือนใจ
ประเภทของทัศนศิลป์
แบ่งประเภทของศิลปะ ออกได้เป็น 3 ประเภท
ใหญ่ๆ ตามประเภทของความงาม คือ
วิจิตรศิลป์ (Fine Art)
ประยุกต์ศิลป์ (Applied Art)
สถาปัตยกรรม (Architecture)
วิจิตรศิลป์ (Fine Art) คือศิลปะที่อานวยประโยชน์ทางใจที่
ตอบสนอง ความคิด อารมณ์ความรู้สึก ความประทับใจและความ
งามเป็นสาคัญ มากกว่าประโยชน์ใช้สอย เช่น
- จิตรกรรม (Painting)
- ประติมากรรม (Sculpture)
- ภาพพิมพ์ (Printmaking, Graphic Art)
- ศิลปะเทคนิคผสม (Mixed media)
- ศิลปผสม (Mixed Art)
- การถ่ายภาพและการสร้างภาพยนตร์
(photography and filmmaking)
งานจิตรกรรม แบ่งออกได้ 2 ชนิด
- การวาดเส้น (Drawing)
- การระบายสี (Painting)
ลักษณะของภาพจิตรกรรม
1.ภาพหุ่นนิ่ง (Still life)
2.ภาพคนทั่วไป แบ่งได้ 2 ชนิด คือ
ภาพคน (Figure) เป็นภาพที่แสดงกิริยาท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์
3. ภาพคนเหมือน (portrait)
เป็นภาพที่แสดงความเหมือนของใบหน้าของคน ๆใดคนหนึ่ง
4.ภาพสัตว์ ( Animals Figure)
แสดงกิริยาท่าทางของสัตว์ทั้งหลายในลักษณะต่าง ๆ
5.ภาพทิวทัศน์ผืนน้า หรือ ทะเล (Sea scape )
6.ภาพทิวทัศน์พื้นดิน (Landscape)
7.ภาพทิวทัศน์ของชุมชนหรือเมือง (Cityscape)
8.ภาพประกอบเรื่อง (Illustration)
9.ภาพองค์ประกอบ (Composition)
10.ภาพลวดลายตกแต่ง (Decorative painting)
ประติมากรรม (Sculpture)
งานประติมากรรมทาได้4 วิธี คือ
1. การปั้น (Casting)
2. การแกะสลัก (Carving)
3. การหล่อ (Molding)
4. การประกอบขึ้นรูป (Construction)
ประเภทของงานประติมากรรม มี 3 ประเภท
1.ประติมากรรมแบบนูนต่า ( Bas Relief )
2.ประติมากรรมแบบนูนสูง (High Relief)
3.ประติมากรรมแบบลอยตัว (Round Relief)
1.ประติมากรรมแบบนูนต่า ( Bas Relief )
2.ประติมากรรมแบบนูนสูง (High Relief)
3.ประติมากรรมแบบลอยตัว (Round Relief)
ศิลปะภาพพิมพ์(Graphic arts)
การพิมพ์ภาพ ( PRINTING ) การ พิมพ์ภาพ
หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบจากแม่พิมพ์ออกมาเป็น
ผลงานที่มีลักษณะ เหมือนกันกับแม่พิมพ์ทุกประการ
และได้ภาพที่เหมือนกันมีจานวนตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป
การพิมพ์ภาพมีองค์ประกอบที่สาคัญดังนี้
1. แม่พิมพ์ เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในการพิมพ์
2. วัสดุที่ใช้พิมพ์ลงไป
3. สีที่ใช้ในการพิมพ์
4. ผู้พิมพ์
จุดมุ่งหมายในการ พิมพ์ มี 2 ประเภท คือ
1 ศิลปะภาพพิมพ์ ( GRAPHIC ART ) เป็นงานพิมพ์
ภาพเพื่อให้เกิดความสวยงามเป็น งานวิจิตรศิลป์
2 ออกแบบภาพพิมพ์ ( GRAPHIC DESIGN ) เป็นงาน
พิมพ์ภาพประโยชน์ใช้สอยนอก เหนือไปจากความสวยงาม
ได้แก่ หนังสือต่างๆ บัตรต่างๆ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ฯลฯ
จัดเป็นงาน ประยุกต์ศิลป์
ประเภทของแม่พิมพ์ มี 4 ประเภท คือ
1 แม่พิมพ์นูน ( RELIEF PROCESS ) เป็น การ
พิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้าที่ทาให้นูน ขึ้นมาของ
แม่พิมพ์ภาพที่ได้เกิดจากสีที่ติดอยู่ในส่วนบนนั้น แม่พิมพ์
นูนเป็นแม่พิมพ์ที่ทาขึ้นมาเป็นประเภทแรก ภาพพิมพ์ชนิดนี้
ได้แก่ ภาพพิมพ์แกะไม้ ภาพพิมพ์แกะยาง ตรายาง ภาพ
พิมพ์จากเศษวัสดุต่างๆ
ภาพผลงานแม่พิมพ์นูน เทคนิคแกะไม้
ภาพผลงานแม่พิมพ์นูน เทคนิคแกะไม้
2 แม่พิมพ์ร่องลึก ( INTAGLIO PROCESS )เป็น การ
พิมพ์โดยให้สีอยู่ในร่องที่ทาให้ลึกลง ไปของแม่พิมพ์โดยใช้
แผ่นโลหะทาเป็นแม่พิมพ์( แผ่นโลหะที่นิยมใช้คือแผ่น
ทองแดง ) และทาให้ลึกลงไปโดยใช้น้ากรดกัด ซึ่งเรียกว่า
ETCHING แม่พิมพ์ร่องลึกนี้พัฒนาขึ้นโดย ชาวตะวันตก
สามารถพิมพ์งานที่มีความ ละเอียด คมชัดสูง สมัยก่อนใช้ใน
การพิมพ์หนังสือ พระคัมภีร์ แผนที่ เอกสารต่างๆ แสตมป์
ธนบัตร ปัจจุบันใช้ในการพิมพ์งานที่เป็นศิลปะ และธนบัตร
ภาพผลงานศิลปะแม่พิมพ์ร่องลึก เทคนิคกัดกรดโลหะ
3 แม่พิมพ์พื้นราบ ( PLANER PROCESS )เป็น
การพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้า ที่ราบเรียบของแม่พิมพ์
โดยไม่ต้องขุดหรือแกะพื้นผิวลงไป แต่ใช้สารเคมีเข้าช่วย ภาพ
พิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์หิน ( LITHOGRAPH ) การพิมพ์
ออฟเซท ( OFFSET ) ภาพพิมพ์กระดาษ ( PAPER-CUT )
ภาพพิมพ์ครั้งเดียว ( MONOPRINT )
ภาพผลงานแม่พิมพ์พื้นราบเทคนิคแม่พิมพ์กระดาษ
• ลีลา " MOVE MENT " 89 x 64 CM.
ภาพพิมพ์แม่พิมพ์กระดาษPAPER BLOCK 2004
4 แม่พิมพ์ฉลุ ( STENCIL PROCESS )เป็น การพิมพ์
โดยให้สีผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์ลงไป สู่ผลงานที่อยู่
ด้านหลัง เป็นการพิมพ์ชนิดเดียวที่ได้รูปที่มีด้านเดียวกันกับ
แม่พิมพ์ไม่กลับซ้าย เป็นขวา ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพ
พิมพ์ฉลุ ( STENCIL ) ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ( SILK
SCREEN ) การพิมพ์อัดสาเนา ( RONEO ) เป็นต้น
ภาพผลงานแม่พิมพ์ฉลุ เทคนิคแม่พิมพ์ตะแกรงไหม
วิจิตรศิลป์
ภาพผลงานแม่พิมพ์ฉลุ เทคนิคแม่พิมพ์ตะแกรงไหม
ประยุกต์ศิลป์
ศิลปะเทคนิคผสม (Mixed media)
• ศิลปผสม(mixed art) เป็นศิลปกรรมที่ใช้สื่อให้
รับรู้หลายอย่างพร้อมกัน ได้แก่ ละคร ที่ใช้ทั้ง
ทัศนศิลป์ ในการสร้างฉากและเครื่องแต่งตัว
ใช้ท่าทางการร่ายรา ใช้การพูดจาด้วยพจน์ศิลป์ และ
ใช้ดนตรีหรือ โสตศิลป์ ประกอบไปพร้อม ๆ กัน
การถ่ายภาพและการสร้างภาพยนตร์
(photography and filmmaking)
• การถ่ายภาพ (photography)
การถ่ายภาพ (photography)
การสร้างภาพยนตร์ (filmmaking)
การสร้างภาพยนตร์ (filmmaking)
การจัดรูปแบบการถ่ายทอดทางด้านวิจิตศิลป์
1. ศิลปะแบบเหมือนจริง (Realistic art.)
2. ศิลปะแบบตัดทอน (Semi-abstract art.)
3. ศิลปะแบบนามธรรม (Abstract art.)
4.ศิลปะแบบเหนือจริง (ความฝันและจินตนาการ) Surreal art.
5.ศิลปะแบบประทับใจ (Art impression.)
การรับรู้เชิงสุนทรียะศิลปะวิจิตรศิลป์
ทฤษฎีนิยมการลอกเลียนแบบ (Initationalism)
ศิลปะแบบเหมือนจริง (Realistic art.)
เกณฑ์การรับรู้ทางการเห็น : ความถูกต้องทางการ
เห็นตามธรรมชาติ โดย นาเสนอความเหมือนจริงในเนื้อหา
สาระของผลงาน
คุณค่าทางสุนทรียภาพ : เน้นคุณค่าทางด้าน
เรื่องราวจากการพรรณนาถึงความถูกต้องจะยึดในหลักความ
เป็นจริงหรือการแสดงสาระของวัตถุนั้นๆอย่างสมจริง
ผลงานรูปแบบเหมือนจริง(วาดเส้น)
ผลงานรูปแบบเหมือนจริง(จิตรกรรม)
ผลงานรูปแบบเหมือนจริง(จิตรกรรม)
ผลงานรูปแบบเหมือนจริง(ประติมากรรม)
ผลงานรูปแบบเหมือนจริง(ประติมากรรม)
การถ่ายภาพและการสร้างภาพยนตร์
(photography and filmmaking)
รูปแบบเหมือนจริง
ทฤษฎีนิยมรูปทรง (Formalism)
ศิลปะแบบตัดทอน (Semi-abstract art.)
เกณฑ์การรับรู้ทางการเห็น : การวิเคราะห์จากการ
เรียนรู้และการรับรู้
คุณค่าทางสุนทรียภาพ : เน้นคุณค่าทางการ
ออกแบบ บนพื้นผิวโครงสร้างการออกแบบ รูปทรง และ
องค์ประกอบอื่น ๆ ทางศิลปะ ความเป็นเอกภาพจาการ
ประสานขององค์ประกอบศิลป์ และหลักการออกแบบ
ศิลปะแบบตัดทอน(จิตรกรรม)
ศิลปะแบบตัดทอน(ประติมากรรม)
ศิลปะแบบตัดทอน(ภาพพิมพ์)
การถ่ายภาพและการสร้างภาพยนตร์
(photography and filmmaking)
รูปแบบตัดทอนรูปทรง
ทฤษฎีนิยมการแสดงออกทางอารมณ์(Emotionalism)
ศิลปะแบบประทับใจ (Art Impressions.)
เกณฑ์การรับรู้ทางการเห็น : การหาข้อมูลและการตีความ
คุณค่าทางสุนทรียภาพ : เน้นคุณค่าเชิงการแสดงออก สู่ผู้ชมให้
เกิดอารมณ์สะเทือนใจ เป็นจริงในการสื่อความหมายที่ก่อให้เกิดผล
ต่ออารมณ์ความรู้สึกและความคิด ที่แสดงออกทั้งความสุขและ
ความทุกข์ จากสีและทีแปลงของศิลปิน เน้นเรื่องอารมเป็นหลัก
ศิลปะแบบประทับใจ(จิตรกรรม)
ศิลปะแบบประทับใจ(จิตรกรรม)
ศิลปะแบบประทับใจ(ประติมากรรม)
ศิลปะแบบประทับใจ(ภาพพิมพ์)
การถ่ายภาพและการสร้างภาพยนตร์
(photography and filmmaking)
รูปแบบประทับใจ
ทฤษฎีนิยมจินตนาการ (Imaginationalism)
ศิลปะแบบเหนือจริง (ความฝันและจินตนาการ) Surreal art.
เกณฑ์การรับรู้ทางการเห็น : การวิเคราะห์ทางวัฒนธรรม
คุณค่าทางสุนทรียภาพ : เป็นการแสดงแนวคิดในการ
สร้างสรรค์ศิลปะ โดยเน้นความคิดหรือจินตนาการ หรือที่
เรียกว่าอุดมคติ (idealism) ส่วนใหญ่จะเป็นผลงานแนวประเพณี
เช่น ศิลปะไทย อียิปต์ หรือศิลปะอินเดีย เป็นต้น ซึ่งการทา
ศิลปวิจารณ์ตามทฤษฎีนี้จะต้องมีความรู้และความเข้าใจ
วัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างลึกซึ้งด้วย
ศิลปะแบบเหนือจริง(จิตรกรรม)
ศิลปะแบบเหนือจริง(จิตรกรรม)
ศิลปะแบบเหนือจริง(จิตรกรรม)
ศิลปะแบบเหนือจริง(ประติมากรรม)
ศิลปะแบบเหนือจริง(ภาพพิมพ์)
การถ่ายภาพและการสร้างภาพยนตร์
(photography and filmmaking)
แบบเหนือจริง
ศิลปะแบบนามธรรม (Abstract art.)
เกณฑ์การรับรู้ทางการเห็น : ใช้ประสบการณ์และจินตนาการ
คุณค่าทางสุนทรียภาพ : เป็นความงามที่ไม่มีความจริงเหลืออยู่
เพราะถูกตัดทอนให้เหลือแค่เส้นสี น้าหนัก ที่ก่อให้เกิดความงาม
ตามอารมณ์ ความรู้สึกเป็นสิ่งที่เหนือความเป็นจริงต้องใช้
จินตนาการในการรับรู้รับชม
ศิลปะแบบนามธรรม
จิตรกรรม
ประติมากรรมนามธรรม
ศิลปะภาพพิมพ์รูปแบบนามธรรม
ภาพถ่ายนามธรรม
การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์
การออกแบบสามารถสนองประโยชน์ในการดารงชีวิตอย่าง
มีประสิทธิภาพและความสวยงาม ซึ่งต้องผสานความรู้ด้านศิลปะ
และวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน ตามผลงานศิลปะแต่ละประเภทซึ่งมี
รูปแบบแตกต่างกัน
1. ลักษณะประจาชาติหรือลักษณะดั้งเดิมของชนชาติ
2. ลักษณะพิเศษของท้องถิ่นแต่ละท้องถิ่นซึ่งผสมผสานกัน
และเกิดเป็นรูปแบบใหม่ขึ้น
3. เกิดจากศิลปินพยายามสร้างรูปแบบเฉพาะตน และตั้ง
เป็นสกุลช่างขึ้น
ART
NOUVEAU
DE STIJL
1. รูปแบบมาก่อนประโยชน์ใช้สอย (Function
follows Form) เป็นวิถีการออกแบบที่นิยมความ
งามของรูปทรงเป็นหลักโดยยึดแนวคิดที่ว่า “ความ
งามต้องมาก่อนประโยชน์ใช้สอยเสมอ” ใช้อธิบาย
กระบวนการออกแบบที่เน้นความงามเป็นหลัก
จุดประสงค์ เพื่อยกระดับคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้
สูงขึ้น เพื่อเพิ่มราคาสินค้า
รูปแบบการออกแบบ Form
รูปแบบการออกแบบ Form
รูปแบบการออกแบบ Form
2. ประโยชน์ใช้สอยมาก่อนรูปแบบ (Form Follows
Function) นิยมประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก “ประโยชน์ใช้
สอยต้องมาก่อนความงามเสมอ” มักใช้มาอธิบาย
กระบวนการการออกแบบในระบบอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับ
การผลิตจานวนมาก(Mass Product) แนวทางการ
ออกแบบนี้ประกอบด้วย
- รูปทรง สีสันเป็นไปตามความเป็นไปของสังคม
- รูปแบบ เหมาะสมกับวัสดุ และกรรมวิธีการผลิตในระบบ
อุตสาหกรรม
รูปแบบการออกแบบ Form
รูปแบบการออกแบบ Form
3. การตลาดมาก่อนการออกแบบ (Design
Follows Marketing) เน้นการวิเคราะห์ความเป็นไป
ได้ทางการตลาดและการผลิตก่อนการออกแบบ
เพื่อยกระดับสินค้าให้สูงขึ้น
รูปแบบการออกแบบ Form
รูปแบบการออกแบบ Form
4. อารมณ์ความรู้สึกมาก่อนการรูปแบบ (Form
Follows Emotion) เชื่อว่านอกจากความต้องการ
ด้านคุณประโยชน์แล้ว ต้องการคุณค่าความรื่นรมย์
ประสบการณ์ และลักษณะเฉพาะตัวบางอย่างด้วย
รูปแบบการออกแบบ Form
รูปแบบการออกแบบ Form
รูปแบบการสร้างสรรค์งานประยุกต์ศิลป์
1 หัตถกรรมศิลป์ (Hand I crafts)
ได้แก่สิ่งของเครื่องใช้ที่ผลิตด้วยมือ(Hand Made)
เป็นส่วน ใหญ่มีเครื่องมือเป็นอุปกรณ์บ้างพอสมควรในการช่วย
ผ่อนแรงหรือเสริมให้งานประณีตยิ่งขึ้น หัตถกรรมมักเริ่ม
ต้นจากทาเป็นงานอดิเรกในยามว่างเพื่อความเพลิดเพลิน
สบายใจ แต่กลับมีคุณค่าทางความงามจากความประณีต
ของฝีมือช่าง และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
เครื่องปั้นดินเผา(Ceramics) เช่น ถ้วย ชาม กระปุก ตุ๊กตา ภาชนะ
บรรจุในรูปแบบต่างๆ มีการ เขียนลวดลายตกแต่ง หัตถกรรมศิลป์
เครื่องจักสาน (Basketry) มักใช้หวาย ไม้ไผ่และ พืชเส้นใยอื่นๆ นามาน
สอดสลับเข้าด้วยกันเป็นรูป ทรงและลวดลายตามรสนิยม ตั้งแต่ภาชนะใช้สอย ขนาดเล็ก
ไปจนเครื่องเรือนอันใหญ่โตแข็งแรง เช่น กระบุง ตะกร้า กระจาด กระติ๊บ กระเป๋ าย่านลิเพา
เครื่องถักทอ (Weaving) พบเห็นได้ทั่วไปในทุก ภาคของประเทศไทย
จากผ้าทอพื้นเมืองอันมีชื่อ เสียงหลายแห่ง เช่น ผ้าทอเกาะยอ ผ้าไหมพุมเรียง ของ
ภาคใต้ ผ้าซิ่นตีนจก ผ้าไหมแพรวา ของภาค อีสาน หรือเสื้อม่อฮ่อมของภาคเหนือ
หัตถกรรมศิลป์
เครื่องประดับ (Jewelry Making)
เครื่องไม้แกะสลัก (Wood working) มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ การแกะ
เป็นภาพนูนบนเนื้อไม้ และการแกะลอยตัว เป็น งานที่ต้องอาศัยความ ประณีตและ
ความระมัดระวังเป็น อย่างมาก เพราะถ้าแกะสลักเนื้อไม้ส่วนใดส่วนหนึ่งผิด พลาด
ไป ก็จะทาให้งานเสียหาย ไปทั้งชิ้น นอกจากความ ประณีตในการแกะสลักเป็น
ลวดลายบนเนื้อไม้แล้ว การ ออกแบบภาพนูน หรือไม้แกะสลักลอยตัว อย่างมีศิลปะ
เครื่องหนัง (Leather Craft) งานหัตถศิลป์ ล้วน ต่างเป็นงาน
หัตถกรรมที่สร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อ สนองความต้องการของมนุษย์ด้านประโยชน์ ใช้
สอยทั้งสิ้น
2 อุตสาหกรรมศิลป์ (Industrial Arts)
เป็นพัฒนาการที่สืบต่อมาจากงานหัตถกรรมอันต้องผลิต ด้วยมือใช้เวลาและ
แรงงานมากแต่ให้ผลผลิตในจานวน จากัด ผู้หวังผลประโยชน์ทางการเงินจึงหัน
มาใช้เครื่องจัก เป็นหลักในการผลิต ทาให้สมารถผลิตได้เป็นจานวนมาก
(Mass Product) โดยใช้เวลาน้อย แรงงานคนน้อยแต่ จาหน่ายได้เงิน
จานวนมาก ประหยัดค่าจ้าง งาน อุตสาหกรรมศิลป์ ที่เด่นชัดเช่น ยานพาหนะ
ได้แก่ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถแข่ง รถไฟ เครื่องบิน เรือเดินสมุทร
พาณิชยศิลป์ (Commercial Arts) เป็นงานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการ
ออกแบบเพื่อ สนับสนุนกิจการค้า และการบริการ เพื่อให้ประสบผลสาเร็จ ตามจุดมุ่งหมาย
ได้แก่ การออกแบบเครื่องหมายการค้า การ ออกแบบสิ่งพิมพ์ การออกแบบโฆษณา การ
ออกแบบฉลาก สินค้า การออกแบบจัดแสดงสินค้า ฯลฯ ผู้สร้างสรรค์งาน เรียนกว่า นัก
ออกแบบ (Designer) โดยสื่อความหมายที่ ต้องการไปสู่มวลชนในรูปแบบต่างๆ
เป็นศิลปะเกี่ยวกับการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ หรือปัจจุบันเรียกว่า นิเทศศิลป์ (Visual
Communication)
มัณฑนศิลป์ (Decorative Arts)
เป็นงานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเพื่อการ ตกแต่ง สิ่งต่าง ๆ ให้เกิดความสวยงาม
และเหมาะสมกับ ประโยชน์ใช้สอยมากขึ้นได้แก่ การจัดตกแต่งภายในบ้าน อาคาร สถานที่
ต่าง ๆ การตกแต่งภายนอก การจัดสวน การจัดนิทรรศการ การจัดบอร์ด ป้ายนิเทศ การ
จัดแสดง สินค้า การแต่งกาย การแต่งหน้า การตกแต่งห้องนอน ห้องต่างๆ ซึ่งเป็นการ
ออกแบบและตกแต่งสิ่งของเครื่อง ใช้ในชีวิตประจาวันให้เกิดความสวยงาม
สถาปัตยกรรม (Architecture)
สถาปัตยกรรม (Architecture) เป็นงานศิลปะที่เกี่ยว กับการก่อสร้าง
เป็นงานศิลปกรรมเพียงแขนงเดียวที่มี เพียงรูปแบบ ไม่มีเรื่องราว หรือเนื้อหาเหมือน
อย่างงาน ด้านประติมากรรมหรือจิตรกรรม เป็นศิลปะและวิทยาการ แห่งการก่อสร้างที่
นามาทาเพื่อสนองวามต้องการในด้าน ประโยชน์ใช้สอยและจิตใจ มีลักษณะเป็น
สิ่งก่อสร้างที่ สร้างอย่างงดงาม จาแนกออกได้ 2 ลักษณะ
สถาปัตยกรรมแบบเปิด เป็น สถาปัตยกรรมที่
มนุษย์สามารถเข้าไป ใช้สอยได้ เช่น อาคารเรียน ที่พักอาศัย
สถาปัตยกรรมแบบปิด
สถาปัตยกรรมแบบปิด เป็น สถาปัตยกรรมที่มนุษย์ไม่สามารถเข้าไป ใช้สอยได้ เช่นสถูป เจดีย์
องค์ประกอบศิลป์ (Composition)
หรือองค์ประกอบที่ให้เกิดความงาม
คือ ทัศนธาตุ(Visual Elements)
ทัศนธาตุ มีอะไรบ้าง ?
1.จุด(Point)
2. เส้น(Line) เส้นมี7อย่าง
เส้นแนวนอน เส้นแนวตั้ง เส้นเฉียง เส้นหยัก ซิกแซก
เส้นโค้ง เส้นหยักโค้ง - เส้นเกลียว
3.รูปร่าง รูปทรง (Shape & Form
รูปทรงมี 3 แบบ
3.1. แนวธรรมชาติ (Natural Shape & Form)
3.2. แนวเรขาคณิต (Geometrical Shape & Form)
3.3. แนวอิสระ (Indefinite Shape & Form)
4 .น้าหนัก (Value)
5.สี (Colour)
6.ที่ว่าง (Space)
7.พื้นผิว (Texture)
เมื่อเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ก็เข้าใจ
สุนทรียะภาพทางความงาม

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2peter dontoom
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะKeerati Santisak
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55peter dontoom
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์Preeda Chanlutin
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
 
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
 

Similar to Art1

ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะkthananchai
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptPreeda Chanlutin
 
ศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นchanaparo
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640CUPress
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงHeeroyuy Heero
 
ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์Chanon Moongkhetklang
 
ศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไรศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไรOppa Kasidis
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2mathawee wattana
 
การถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบ
การถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบการถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบ
การถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบPreeda Chanlutin
 
ติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นpeter dontoom
 
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3OohhoO1
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59Computer ITSWKJ
 

Similar to Art1 (20)

ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
ศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้นศิลปการวาดเส้น
ศิลปการวาดเส้น
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์ความเข้าใจในทัศนศิลป์
ความเข้าใจในทัศนศิลป์
 
ศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไรศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไร
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
 
การถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบ
การถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบการถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบ
การถ่ายทอดความงามทางทัศนศิลป์ลงเวบ
 
ติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้น
 
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
แนะนำรายวิชาศิลปะม.3
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59
 

More from Nattakit Sungkhaphan (8)

Document
DocumentDocument
Document
 
Document (2)
Document (2)Document (2)
Document (2)
 
Document (1)
Document (1)Document (1)
Document (1)
 
20160902115458
2016090211545820160902115458
20160902115458
 
1797
17971797
1797
 
Art
ArtArt
Art
 
Music
MusicMusic
Music
 
Nattakit
NattakitNattakit
Nattakit
 

Art1