SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
1
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่
และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
นายกฤตเมธ เพ็งกระจ่าง
นายชิงชัย หุมห้อง
นายโชติวัฒน์ น่วงบาง
ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
การประชุมเชิงวิชาการนักศึกษาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศแห่งประเทศไทย
EXPLORING TRAVEL ACTIVITIES OVER SPACE AND
TIME IN NARESUAN UNIVERSITY
2
ความสาคัญและที่มาของปัญหา
• ปัญหาทางด้านการจราจร ในบางจุดของเส้นทาง
• ปัญหาทางด้านความหนาแน่นของการเดินทางในแต่ละช่วงเวลา
3
แนวคิดและทฤษฎี
+
4
เทคนิคและรูปแบบการนาเสนอ
• Space – Time Paths
• Space – Time Bundling
• Space – Time Density Surface
5
Space – Time Paths
6
Space – Time Bundling
Time
Geographical Space
7
Space – Time Density Surface
8
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
• เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิต
มหาวิทยาลัยนเรศวร
• เพื่ออธิบายสถานการณ์การทากิจกรรมของนิสิตด้วยมิติของ
เวลาที่สัมพันธ์กับพื้นที่
• เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะการเดินทาง การใช้ชีวิตกับ
ตัวแปรต่างๆ
9
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
• สามารถอธิบายสถานการณ์การทากิจกรรมของนิสิตด้วยมิติของ
เวลาที่สัมพันธ์กับพื้นที่
• ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดการด้านการจราจร และการ
จัดตารางเวลาเรียน
• ใช้โปรแกรมประยุกต์สารสนเทศภูมิศาสตร์ใช้ในการวิเคราะห์และ
อธิบายถึงรูปแบบการเดินของแต่ละคน
10
ขั้นตอนการศึกษา
ศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การนาเข้าข้อมูลในรูปแบบ GIS
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม GIS
จัดทาแบบจาลอง 3 มิติ
สรุปผลการศึกษา
11
ขอบเขตของการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตการศึกษาไว้ ดังนี้
• พื้นที่ที่ใช้ในการศึกษา คือ มหาวิทยาลัยนเรศวร และบริเวณของเขต
ตาบลท่าโพธิ์
• ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นิสิตที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี
ชั้นปีที่ 1 – ชั้นปีที่ 4
• ขอบเขตเวลา คือ เริ่มตั้งแต่ 08 : 00 – 24 : 00 น. ( กันยายน – ตุลาคม
พ.ศ. 2552)
12
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
• ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์
- เพศ คณะ สาขาวิชา ระดับชั้นปี ชื่อหอพัก เป็นต้น
• ข้อมูลพฤติกรรมการเดินทางในแต่ละช่วงเวลา
1. แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
13
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
• Hardware
- Computer
- นาฬิกา
- กล้องถ่ายรูป
- สมุดบันทึกและปากกา
• Software
- โปรแกรมทางด้าน GIS
- โปรแกรมทางด้านการคานวณ
ทางสถิติ
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
14
พื้นที่ศึกษา
มหาวิทยาลัยนเรศวร ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก
ภาพจาก : PointAsia
15
การวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบการเดินทางของกลุ่มตัวอย่าง 52 ตัวอย่าง
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
16
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้จักรยานยนต์ ในการเดินทาง
17
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางของกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้รถจักรยาน
18
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางของกลุ่มตัวอย่าง ที่ไม่มียานพาหนะ
19
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 1
เดินทางเข้ามาเรียนในอาคารเรียนรวม ในช่วงเวลา 09:00 – 15:00 น.
20
การวิเคราะห์ข้อมูล
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 2
เดินทางเข้ามาเรียนในอาคารเรียนรวม ในช่วงเวลา 09:00 – 17:00 น.
และเดินทางเข้ามาเรียนที่คณะวิทยาศาสตร์ ในช่วงเวลา 08:00 – 16:00 น.
21
การวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 3
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
22
การวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบการเดินทางจากกลุ่มตัวอย่าง นิสิตชั้นปีที่ 4
08 : 00
10 : 00
12 : 00
14 : 00
16 : 00
18 : 00
20 : 00
22 : 00
24 : 00
Time
23
การวิเคราะห์ข้อมูล
แสดงความหนาแน่นของการเดินทางในแต่ละช่วงเวลา
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
24
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
25
การวิเคราะห์ข้อมูล
Space-time Density surface
ช่วงเวลา 08:00 น. ช่วงเวลา 09:00 น.
ช่วงเวลา 12:00 น.
ช่วงเวลา 08:00 น. ยังไม่มีการเดินทางเข้ามาใน
มหาวิทยาลัย แต่ช่วงเวลา 09:00 น. เริ่มมีการเดิน
ทางเข้ามาเรียนที่อาคารเรียนรวม จนถึงช่วงเวลา
12:00 น. ที่มีความหนาแน่นมาก เนื่องจากมีการ
เดินทางมาเรียนและรับประทานอาหารที่อาคาร
เรียนรวม
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
หอพักใน
หอพักใน
บริเวณอาคารเรียนรวม
26
การวิเคราะห์ข้อมูล
ช่วงเวลา 21:00 น. ช่วงเวลา 23:00 น.
หอพักใน หอพักใน
หอสมุด
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
ในช่วงเวลา 21:00 น. ที่บริเวณรอบข้าง
มหาวิทยาลัยมีความหนาแน่นสูงเนื่องจากมีการ
เดินทางออกมารับประทานอาหารและธุระส่วนตัว จึง
ทาให้เกิดปัญหาทางด้านจราจรติดขัด ส่วนในช่วง
เวลา 23:00 น. เป็นช่วงเวลาที่นิสิตกลับหอพัก แต่จะ
มีนิสิตบางส่วนที่เดินทางเข้ามาค้นคว้าข้อมูลและ
อ่านหนังสือภายในหอสมุด
27
การวิเคราะห์ข้อมูล
แสดงความหนาแน่นของรูปแบบการเดินทางทั้งหมด
QS
บริเวณอาคารเรียนรวม
น้อย
ปานกลาง
มาก
ความหนาแน่น
28
สรุป
• นิสิตชั้นปีที่ 1 เนื่องจากนิสิตส่วนใหญ่ไม่มียานพาหนะส่วนตัวที่ใช้ใน
การเดินทางทาให้มีรูปแบบการเดินทางไม่หลากหลาย ซึ่งช่วงเวลาเรียนก็
จะอาศัยการเดินทางด้วยรถไฟฟ
้ า และหลังเลิกเรียนก็จะมีการกระจุกตัว
อยู่บริเวณหอพักในมหาวิทยาลัย เพราะว่าบริเวณหน้าหอพักจะมีร้านค้า
ร้านอาหาร
• นิสิตชั้นปีที่ 2 , 3 และ 4 ส่วนใหญ่จะมียานพาหนะเป็นของตนเองและ
ช่วงเวลาเรียนส่วนใหญ่ก็จะแยกไปเรียนที่คณะของตนเองแต่ก็มีไปเรียน
ที่อาคารเรียนรวมบ้าง ในช่วงเวลาหลังเลิกเรียนก็จะมีรูปแบบการเดินทาง
ที่กระจายไปในพื้นที่หลากหลาย
29

More Related Content

More from Chingchai Humhong

More from Chingchai Humhong (9)

Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
 
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
 
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GISSpatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
 
Geoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacherGeoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacher
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
 
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่นการขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
 

พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร