SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ใบงานที่ 3
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชื่อ สิรีธร ทรัพย์เกษม
ชั้น ม.6/1 เลขที่ 43
บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบที่มีการนาเอาคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเข้าไว้ด้วยกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
รวมถึงการใช้ทรัพยากรบางอย่างของระบบร่วมกันได้
วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย
1.เพื่อใช้ทรัพยากรต่างๆร่วมกันได้เช่น เครื่องพิมพ์
2.เพื่อใช้ข้อมูลต่างๆร่วมกัน
3.เพื่อความสะดวกในการดูแลระบบ
4.เพื่อการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5.เพื่อช่วยลดต้นทุน
ประเภทของเครือข่าย
1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area
Network: LAN) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ที่ใช้กัน
อยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก มักใช้ในองค์กรเดียวกัน
โดยส่วนใหญ่ ลักษณะของการเชื่ อมต่อ
คอมพิวเตอร์จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ ๆกัน เช่น อยู่ภาย
อาคารเดียวกัน ภายในตึกเดียวกัน เป็นต้น
2.เครือข่ายนครหลวง (Metropolitan Area
Network : MAN) เป็นเครือข่ายขนาดกลาง เป็น
กลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นามาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่
ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณ พื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมือง
เดียวกัน หรือจังหวัดใกล้เคียงกัน เป็นต้น
ข้อจากัดของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการระบบเครือข่าย
ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความชานาญ และมีประสบการณ์สูง จึงต้องใช้
งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมาก อีกทั้งเทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก
จาเป็นต้องมีงบประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ
2.การแบ่งทรัพยากรกันใช้นั้นอาจไม่สามารถใช้ทรัพยากรนั้นๆ ได้ทันทีทันใด เพราะหากมีการเรียกใช้
ทรัพยากรเดียวกันจากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพร้อมกัน เช่น การใช้เครื่องพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์นั้นมีการใช้งานจาก
คอมพิวเตอร์ตัวอื่นอยู่ก่อนหน้าแล้ว งานพิมพ์ของเราก็จะต้องเข้าคิวรอการทางาน
3.ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ด้านต่าง ๆ
ทางานภายใต้สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการพัฒนา ต้องใช้ความรู้ความชานาญสูง ต้องใช้เวลา
ในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้
4.การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความปลอดภัยในด้านการรักษาข้อมูล
อยู่มาก มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาเอาข้อมูลได้จากหลาย ๆที่ หรืออาจมีข้อมูลสูญหายได้ในขณะ
ติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก
5.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า ในระบบเครือข่ายระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียกใช้ข้อมูลในไฟล์
ผ่านระบบเครื่อข่ายนั้นจะมีความเร็วที่ช้ากว่าการเรียกใช้ข้อมูลกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตน ตัวกลางนาที่ใช้ใน
การนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์ หรือโทรทัศน์
โดยเฉพาะข้อมูลที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก
3.เครือข่ายวงกว้าง (Wide Area
Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ
เชื่อมโยงกับเครือข่ายอื่นที่อยู่ไกลกันมาก เช่น
เครือข่ายระหว่างจังหวัด หรือระหว่างภาครวม
ไปถึงเครือข่ายระหว่างประเทศ
องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย
1.คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่อง
2.เน็ตเวิร์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface Card) เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ด
ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
3.สื่อกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กัน
ในเครือข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนาแสง เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์
เครือข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น
4.โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่สามารถสื่อสารกันได้นั้นจาเป็นที่ต้องใช้ “ภาษา” หรือใช้โปรโตคอลเดียวกัน
เช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็นต้น
5.ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System)ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะ
เป็นตัวคอยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
1.เน็ตเวิร์คการ์ด : เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะเรียกว่า “NIC
(Network Interface Card)”หรือบางทีก็เรียกว่า “LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทาการแปลงข้อมูล
เป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณหรือสื่อแบบอื่นได้
2.สายสัญญาณ : ปัจจุบันมีสายสัญญาณที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่3 ประเภท
2.1สายคู่บิดเกลียว(twisted pair) ในแต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื่อ
ต้องการลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้วผ่านไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรือจาก
ภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าหนักเบา ง่ายต่อการ
ติดตั้ง จึงทาให้ถูกใช้งานอย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ
2.2สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันอยู่เป็น
จานวนมากไม่ว่าจะใช้ในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่งข้อมูลระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือ
การส่งข้อมูลสัญญาณวีดีทัศน์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิ
จิทอล และชนิด 75โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโคแอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพื่อป้ องกันการ
รบกวนของคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สาย
แบบนี้มีช่วงความถี่ที่สัญญาณไฟฟ้าสามารถส่งผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราของการ
ส่งสูงขึ้น
ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน
(Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่
บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีก
ชั้นดังรูป เพื่อป้ องกันการรบกวนของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน(Unshielded
Twisted Pair : UTP)เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวน
ชั้นนอกด้วยซึ่งบางทีก็หุ้มอีกชั้นดังรูป ซึ่งทาให้สะดวกในการ
โค้งงอ แต่ก็สามารถป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ได้น้อยกว่าชนิดแรก
2.3เส้นใยนาแสง (fiber optic) เป็นการที่ใช้ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยเป็น
อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ด้วย
ความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI ก็จะใช้ได้ด้วยความเร็วสูงถึง100 เมกะบิต
3.อุปกรณ์เครือข่าย : อุปกรณ์ที่นามาใช้ในเครือข่ายทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ- ส่งข้อมูลในเครือข่าย หรือ
ใช้สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้นหรือใช้สาหรับขยายเครือข่ายให้มี
ขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์
3.1ฮับ (Hub)คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุก
เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์
แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย
3.2สวิตซ์ (Switch) หรือบริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้า
ด้วยกัน โดยจะต้องเป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการ
เชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน
3.3เราท์เตอร์ ( Routing ) : เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกัน
ที่คล้ายกับบริดจ์ แต่ก็มีส่วนการทางานจะซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยง
ข้อมูลระหว่างแต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทาให้เราท์เตอร์สามารถทา
หน้าที่จัดหาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
3.4โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่องอาจก็ต้องมี
ระบบที่เหมือนกัน หรือแตกต่างกัน เช่นในการใช้งานในเครือข่ายจึงต้องเป็นมาตรฐานหรือระเบียบที่ใช้ในการ
ติดต่อให้แต่ละเครื่องมีวิธีการสื่อสารที่เป็นไปตามแนวทางเดียวกันได้ เพื่อให้เป็นการเชื่อมโยงข้อมูล และในการ
ติดต่อสื่อสารของเครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื่องต้องมีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและสามารถทางานร่วมกันได้
เป็นอย่างดี ไม่เกิดความเสียหายนั้นเกิดขึ้น จึงมีการกาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรียกว่า โปรโตคอล ดังนั้นอาจ
กล่าวได้ว่าโปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ในเครือข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม)ให้สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
ซอฟต์แวร์
ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถ
ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความ
ปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางาน
ในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่าง
ยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการWindows NT , Linux , Novell Netware , Windows
XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น
ตัวกลางนาข้อมูล
1.สายเคเบิล
1.1สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล)
-สายเส้นเดี่ยวมีเปลือกเป็นสายโลหะถัก (shield) ป้ องกันคลื่นรบกวน
-มี 2 แบบคือ แบบหนา (thick) และ แบบบาง (thin)
-ใช้ต่อเชื่อมระหว่างแต่ละเครื่องโดยตรง
-ปัจจุบันเริ่มใช้น้อยลงเพราะถูกทดแทนด้วยสายอื่นที่ราคาถูกกว่า
1.2สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair)
-สายขนาดเล็กคล้ายสายโทรศัพท์ มี 8 เส้นตีเกลียวเป็นคู่ๆ
-ไม่มีเปลือกที่เป็นโลหะถัก (shield) หุ้มเหมือนสาย coaxial
-ลักษณะการเดินสายต้องต่อจากเครื่องเข้าหาอุปกรณ์รวมสายหรือ hub
-นิยมแพร่หลาย เพราะราคาถูก ติดตั้งง่าย
1.3สาย STP (Shielded Twisted-Pair)
-สายคู่เล็กๆตีเกลียวไขว้กันแบบสาย UTP
-มีฉนวนหรือเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะ
-เหมาะกับการเชื่อมต่อเป็นระยะทางไกลเกินกว่าที่จะใช้สาย UTP ได้
1.4สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic)
-ใช้กับการส่งสัญญาณด้วยแสง
-ส่งได้เป็นระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน
-มักใช้ในกรณีที่เป็นโครงข่ายหลักเชื่อมระหว่างเครือข่ายย่อยๆมากกว่า เช่นในเครือข่ายแบบ
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
-ปัจจุบันมีใช้ในระบบ Ethernet ความเร็วสูงหรือ Gigabit Ethernet ด้วย
-ทาความเร็วได้เท่าๆกับสาย UTP คุณภาพสูง
2.ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้ าที่รับส่งกัน
3.ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (media access control)
3.1วิธีการที่จะแบ่งเวลาใช้สายให้ทั่วถึงกัน ไม่ต้องรอนานเกินไป
3.2เนื่องจากทุกเครื่องในระบบ LAN ใช้สายสัญญาณชุดเดียวกัน
3.3นิยมใช้2 แบบคือ
-CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection)
-Token-passing
มาตรฐานของระบบ LAN
LAN ของเครื่อง PC ที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบันมีลักษณะทางฮาร์ดแวร์ที่ยึดมาตรฐานของสถาบัน
วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ IEEE (Institute of Electronic and Electrics Engineering)
โดยแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ Ethernet และ Token-Ring
Ethernet
-พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox, DEC และ Intel
-เป็นมาตรฐานของ IEEE ในกลุ่มที่มีรหัส 802.3
-มีกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลแบบ CSMA/CD
-มาตรฐานของ Ethernet แยกแยะได้ด้วยรหัส
Token-Ring
-ต่อ LAN ในแบบ ring และใช้การควบคุมแบบ token-passing
-สายที่ใช้เป็นเคเบิลแบบพิเศษ มี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU
-จุดอ่อนคือถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาดring จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
-อาศัยสาย fiber optic เชื่อมต่อรับส่งข้อมูลความเร็วสูงเท่ากับ FastEthernet หรือสิบเท่าของ Ethernet
พื้นฐาน
-การรับส่งข้อมูลของ FDDI ใช้วิธี Token-passing เช่นเดียวกัน
-เหมาะที่จะใช้เป็นเครือข่ายหลักหรือ backbone ที่เชื่อมระบบ LAN หลายๆวงเข้าด้วยกัน
เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN)
-เครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency) ในการรับส่งข้อมูล
-คุณสมบัติคือทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนังกาแพง เพดาน
-เหมาะกับใช้ในบ้านหรือที่ซึ่งไม่สะดวกในการเดินสาย
-สถานที่ติดตั้งต้องไม่ถูกรบกวนด้วยสัญญาณวิทยุมากนัก
รู้จักกับ Wireless Lan
คือระบบการสื่อสารข้อมูลที่นามาใช้ทดแทน หรือเพิ่มต่อกับระบบเครือข่ายแลนใช้สายแบบดั้งเดิมโดยใช้
การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และคลื่นอินฟราเรดในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
ผ่านทางอากาศ ทะลุกาแพง เพดาน หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย และ
นอกจากนั้นระบบเครือข่ายไร้สายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมทุกอย่างเหมือนกับระบบแลนใช้สาย และที่สาคัญก็
คือการที่มันไม่ต้องใช้สาย ทาให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานทาได้โดยสะดวก ไม่เหมือนระบบแลนแบบใช้สายที่ต้อง
ใช้เวลา และการลงทุนในการปรับเปลี่ยนตาแหน่งการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
มาตรฐานของ (Wireless Lan)
ใช้คลื่นวิทยุรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ติดตั้งในเครื่องกับสถานีฐานหรือจุดเข้าใช้(Access Point)
มาตรฐานที่นิยมใช้กันเรียกว่า IEEE 802.11
-802.11b ทาความเร็วได้สูงสุด 11 Mbps ในรัศมีประมาณ 100 เมตร
-802.11g ทางานร่วมกับ 802.11b ได้แต่เพิ่มความเร็วถึง 54 Mbps
-802.11a ทาความเร็วถึง 54 Mbps เช่นกันแต่มีระยะทางจากัด และไม่เป็นที่นิยม เหมาะกับการใช้งาน
ที่ไม่หนัก เช่น รับส่งอีเมล์ ท่องเว็บ
ความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ LAN แบบไร้สาย
1.การเข้ารหัสข้อมูล
-แบบ WEP (Wired Equivalent Privacy) ไม่ค่อยปลอดภัย
-แบบ WPA (WiFi-Protected Access) ปลอดภัยกว่าแต่ใช้ได้กับอุปกรณ์ใหม่ๆเท่านั้น
2.การกาหนดรหัสเครือข่าย
-เรียกว่า SSID (Service Set ID)คล้ายกับชื่อ workgroup ในเครือข่ายของ Windows
-อุปกรณ์ที่กาหนดค่า SSID ตรงกันเท่านั้นจึงจะสื่อสารกันได้
-ควรเก็บค่าเหล่านี้เป็นความลับ ป้ องกันไม่ให้บุคคลภายนอกเชื่อมต่อเข้าระบบได้
การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
มี 2 แบบใหญ่คือ
-Peer-to-Peer = แต่ละเครื่องยอมให้เครื่องอื่นในระบบเข้ามาใช้ข้อมูลหรืออุปกรณ์ของตนได้โดยเสมอ
ภาคกัน
-Server-based หรือ Dedicated server = มีบางเครื่องทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการแก่เครื่องอื่น
ไคลเอนต์ (Client)
เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็น
คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์
เซิร์ฟเวอร์ (server)
คือ เครื่องหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทางานให้บริการ ในระบบเครือข่ายแก่ลูกข่าย (ซึ่งให้บริการผู้ใช้
อีกทีหนึ่ง) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์นี้ควรจะมีประสิทธิภาพสูง มีความเสถียร สามารถให้บริการ
แก่ผู้ใช้ได้เป็นจานวนมาก ภายในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการได้ด้วยโปรแกรมบริการ ซึ่งทางานอยู่บนระบบปฏิบัติการอีก
ชั้นหนึ่ง
เวิร์คสเตชัน
ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคานวณด้านวิศวกรรม
สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นด้านการแสดงทางด้านกราฟิก เช่น การนามาช่วยออกแบบกราฟิกต่างๆ ใน
โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วนใหม่ๆ เป็นต้น ซึ่งต้องการงานกราฟิกที่มีความละเอียดสูง ทา ให้เวิร์คส
เตชันใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสารองจานวนมากอีกด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่ม
เรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชันนี้ว่า ซุปเปอร์ไมโคร (Supermicro)
Internetworking - จาก LAN สู่ WAN
1.Repeater เมื่อสายที่ต่อกันระหว่างเครื่องมีความยาเกินกว่าที่มาตรฐานกาหนดสัญญาณที่ส่งกันถึง
ผ่านเครือข่ายก็จะอ่อนลงจนนับไม่ได้
2.Bridge ทาหน้าที่เป็น สะพาน เชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยถ้าข้อมูลส่งออกมาใน
เครือข่ายหนึ่งมีปลายทางที่อีกเครือข่ายหนึ่ง Bridge ก็จะส่งข้อมูลข้ามไปให้
3.Switch เป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับ Bridge แต่แบ่งสาย 1 เส้น หรือ1พอร์ตของสวิตซ์
เป็น 1เครือข่าย
4.Router เป็นอุปกรณ์ที่ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่งใน LAN ที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่ง
ต่อไปยังปลายทางคล้ายกับ Switchหรือ Bridge
อ้างอิง
http://www.cc.kmutt.ac.th
https://sites.google.com
http://www.thaigoodview.com
http://buycoms.com
http://www.bua-yai.ac.th
http://thipawan51.wordpress.com
http://learn.wattano.ac.th
https://blog.eduzones.com

More Related Content

What's hot

ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศกลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศวสันต์ ธินันท์
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์Sujit Chuajine
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5amphaiboon
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 

What's hot (18)

ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Computer Network
Computer NetworkComputer Network
Computer Network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศกลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
กลุ่ม7 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์katuckkt
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Tata Sisira
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9Jaohjaaee
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์junniemellow
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์galswen
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkBeauso English
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1Rang Keerati
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์BookAkh
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43 (20)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
it-09-05
it-09-05it-09-05
it-09-05
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43

  • 1. ใบงานที่ 3 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ สิรีธร ทรัพย์เกษม ชั้น ม.6/1 เลขที่ 43
  • 2. บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบที่มีการนาเอาคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเข้าไว้ด้วยกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมถึงการใช้ทรัพยากรบางอย่างของระบบร่วมกันได้ วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย 1.เพื่อใช้ทรัพยากรต่างๆร่วมกันได้เช่น เครื่องพิมพ์ 2.เพื่อใช้ข้อมูลต่างๆร่วมกัน 3.เพื่อความสะดวกในการดูแลระบบ 4.เพื่อการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5.เพื่อช่วยลดต้นทุน ประเภทของเครือข่าย 1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ที่ใช้กัน อยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก มักใช้ในองค์กรเดียวกัน โดยส่วนใหญ่ ลักษณะของการเชื่ อมต่อ คอมพิวเตอร์จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ ๆกัน เช่น อยู่ภาย อาคารเดียวกัน ภายในตึกเดียวกัน เป็นต้น 2.เครือข่ายนครหลวง (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายขนาดกลาง เป็น กลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นามาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณ พื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมือง เดียวกัน หรือจังหวัดใกล้เคียงกัน เป็นต้น
  • 3. ข้อจากัดของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1.ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการระบบเครือข่าย ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความชานาญ และมีประสบการณ์สูง จึงต้องใช้ งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมาก อีกทั้งเทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก จาเป็นต้องมีงบประมาณ เพื่อปรับปรุงระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2.การแบ่งทรัพยากรกันใช้นั้นอาจไม่สามารถใช้ทรัพยากรนั้นๆ ได้ทันทีทันใด เพราะหากมีการเรียกใช้ ทรัพยากรเดียวกันจากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพร้อมกัน เช่น การใช้เครื่องพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์นั้นมีการใช้งานจาก คอมพิวเตอร์ตัวอื่นอยู่ก่อนหน้าแล้ว งานพิมพ์ของเราก็จะต้องเข้าคิวรอการทางาน 3.ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ด้านต่าง ๆ ทางานภายใต้สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการพัฒนา ต้องใช้ความรู้ความชานาญสูง ต้องใช้เวลา ในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้ 4.การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความปลอดภัยในด้านการรักษาข้อมูล อยู่มาก มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาเอาข้อมูลได้จากหลาย ๆที่ หรืออาจมีข้อมูลสูญหายได้ในขณะ ติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก 5.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า ในระบบเครือข่ายระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียกใช้ข้อมูลในไฟล์ ผ่านระบบเครื่อข่ายนั้นจะมีความเร็วที่ช้ากว่าการเรียกใช้ข้อมูลกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตน ตัวกลางนาที่ใช้ใน การนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วยโทรศัพท์ หรือโทรทัศน์ โดยเฉพาะข้อมูลที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก 3.เครือข่ายวงกว้าง (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกับเครือข่ายอื่นที่อยู่ไกลกันมาก เช่น เครือข่ายระหว่างจังหวัด หรือระหว่างภาครวม ไปถึงเครือข่ายระหว่างประเทศ
  • 4. องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย 1.คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่อง 2.เน็ตเวิร์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface Card) เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ด ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 3.สื่อกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กัน ในเครือข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนาแสง เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์ เครือข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น 4.โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่สามารถสื่อสารกันได้นั้นจาเป็นที่ต้องใช้ “ภาษา” หรือใช้โปรโตคอลเดียวกัน เช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็นต้น 5.ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System)ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะ เป็นตัวคอยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ 1.เน็ตเวิร์คการ์ด : เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะเรียกว่า “NIC (Network Interface Card)”หรือบางทีก็เรียกว่า “LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทาการแปลงข้อมูล เป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตามสายสัญญาณหรือสื่อแบบอื่นได้
  • 5. 2.สายสัญญาณ : ปัจจุบันมีสายสัญญาณที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่3 ประเภท 2.1สายคู่บิดเกลียว(twisted pair) ในแต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื่อ ต้องการลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้วผ่านไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรือจาก ภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าหนักเบา ง่ายต่อการ ติดตั้ง จึงทาให้ถูกใช้งานอย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ 2.2สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันอยู่เป็น จานวนมากไม่ว่าจะใช้ในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่งข้อมูลระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือ การส่งข้อมูลสัญญาณวีดีทัศน์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิ จิทอล และชนิด 75โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโคแอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพื่อป้ องกันการ รบกวนของคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สาย แบบนี้มีช่วงความถี่ที่สัญญาณไฟฟ้าสามารถส่งผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราของการ ส่งสูงขึ้น ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่ บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีก ชั้นดังรูป เพื่อป้ องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน(Unshielded Twisted Pair : UTP)เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวน ชั้นนอกด้วยซึ่งบางทีก็หุ้มอีกชั้นดังรูป ซึ่งทาให้สะดวกในการ โค้งงอ แต่ก็สามารถป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ได้น้อยกว่าชนิดแรก
  • 6. 2.3เส้นใยนาแสง (fiber optic) เป็นการที่ใช้ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยเป็น อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ด้วย ความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI ก็จะใช้ได้ด้วยความเร็วสูงถึง100 เมกะบิต 3.อุปกรณ์เครือข่าย : อุปกรณ์ที่นามาใช้ในเครือข่ายทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ- ส่งข้อมูลในเครือข่าย หรือ ใช้สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้นหรือใช้สาหรับขยายเครือข่ายให้มี ขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์ 3.1ฮับ (Hub)คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุก เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย 3.2สวิตซ์ (Switch) หรือบริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้า ด้วยกัน โดยจะต้องเป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการ เชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน
  • 7. 3.3เราท์เตอร์ ( Routing ) : เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกัน ที่คล้ายกับบริดจ์ แต่ก็มีส่วนการทางานจะซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยง ข้อมูลระหว่างแต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทาให้เราท์เตอร์สามารถทา หน้าที่จัดหาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3.4โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่องอาจก็ต้องมี ระบบที่เหมือนกัน หรือแตกต่างกัน เช่นในการใช้งานในเครือข่ายจึงต้องเป็นมาตรฐานหรือระเบียบที่ใช้ในการ ติดต่อให้แต่ละเครื่องมีวิธีการสื่อสารที่เป็นไปตามแนวทางเดียวกันได้ เพื่อให้เป็นการเชื่อมโยงข้อมูล และในการ ติดต่อสื่อสารของเครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื่องต้องมีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและสามารถทางานร่วมกันได้ เป็นอย่างดี ไม่เกิดความเสียหายนั้นเกิดขึ้น จึงมีการกาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรียกว่า โปรโตคอล ดังนั้นอาจ กล่าวได้ว่าโปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่อง คอมพิวเตอร์ในเครือข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม)ให้สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
  • 8. ซอฟต์แวร์ ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถ ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความ ปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางาน ในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่าง ยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการWindows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น ตัวกลางนาข้อมูล 1.สายเคเบิล 1.1สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล) -สายเส้นเดี่ยวมีเปลือกเป็นสายโลหะถัก (shield) ป้ องกันคลื่นรบกวน -มี 2 แบบคือ แบบหนา (thick) และ แบบบาง (thin) -ใช้ต่อเชื่อมระหว่างแต่ละเครื่องโดยตรง -ปัจจุบันเริ่มใช้น้อยลงเพราะถูกทดแทนด้วยสายอื่นที่ราคาถูกกว่า
  • 9. 1.2สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair) -สายขนาดเล็กคล้ายสายโทรศัพท์ มี 8 เส้นตีเกลียวเป็นคู่ๆ -ไม่มีเปลือกที่เป็นโลหะถัก (shield) หุ้มเหมือนสาย coaxial -ลักษณะการเดินสายต้องต่อจากเครื่องเข้าหาอุปกรณ์รวมสายหรือ hub -นิยมแพร่หลาย เพราะราคาถูก ติดตั้งง่าย 1.3สาย STP (Shielded Twisted-Pair) -สายคู่เล็กๆตีเกลียวไขว้กันแบบสาย UTP -มีฉนวนหรือเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะ -เหมาะกับการเชื่อมต่อเป็นระยะทางไกลเกินกว่าที่จะใช้สาย UTP ได้ 1.4สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) -ใช้กับการส่งสัญญาณด้วยแสง
  • 10. -ส่งได้เป็นระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน -มักใช้ในกรณีที่เป็นโครงข่ายหลักเชื่อมระหว่างเครือข่ายย่อยๆมากกว่า เช่นในเครือข่ายแบบ FDDI (Fiber Distributed Data Interface) -ปัจจุบันมีใช้ในระบบ Ethernet ความเร็วสูงหรือ Gigabit Ethernet ด้วย -ทาความเร็วได้เท่าๆกับสาย UTP คุณภาพสูง 2.ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้ าที่รับส่งกัน 3.ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (media access control) 3.1วิธีการที่จะแบ่งเวลาใช้สายให้ทั่วถึงกัน ไม่ต้องรอนานเกินไป 3.2เนื่องจากทุกเครื่องในระบบ LAN ใช้สายสัญญาณชุดเดียวกัน 3.3นิยมใช้2 แบบคือ -CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection)
  • 11. -Token-passing มาตรฐานของระบบ LAN LAN ของเครื่อง PC ที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบันมีลักษณะทางฮาร์ดแวร์ที่ยึดมาตรฐานของสถาบัน วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ IEEE (Institute of Electronic and Electrics Engineering) โดยแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ Ethernet และ Token-Ring Ethernet -พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox, DEC และ Intel -เป็นมาตรฐานของ IEEE ในกลุ่มที่มีรหัส 802.3 -มีกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลแบบ CSMA/CD -มาตรฐานของ Ethernet แยกแยะได้ด้วยรหัส Token-Ring -ต่อ LAN ในแบบ ring และใช้การควบคุมแบบ token-passing -สายที่ใช้เป็นเคเบิลแบบพิเศษ มี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU -จุดอ่อนคือถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาดring จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้
  • 12. FDDI (Fiber Distributed Data Interface) -อาศัยสาย fiber optic เชื่อมต่อรับส่งข้อมูลความเร็วสูงเท่ากับ FastEthernet หรือสิบเท่าของ Ethernet พื้นฐาน -การรับส่งข้อมูลของ FDDI ใช้วิธี Token-passing เช่นเดียวกัน -เหมาะที่จะใช้เป็นเครือข่ายหลักหรือ backbone ที่เชื่อมระบบ LAN หลายๆวงเข้าด้วยกัน เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN) -เครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency) ในการรับส่งข้อมูล -คุณสมบัติคือทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนังกาแพง เพดาน -เหมาะกับใช้ในบ้านหรือที่ซึ่งไม่สะดวกในการเดินสาย -สถานที่ติดตั้งต้องไม่ถูกรบกวนด้วยสัญญาณวิทยุมากนัก
  • 13. รู้จักกับ Wireless Lan คือระบบการสื่อสารข้อมูลที่นามาใช้ทดแทน หรือเพิ่มต่อกับระบบเครือข่ายแลนใช้สายแบบดั้งเดิมโดยใช้ การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และคลื่นอินฟราเรดในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านทางอากาศ ทะลุกาแพง เพดาน หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย และ นอกจากนั้นระบบเครือข่ายไร้สายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมทุกอย่างเหมือนกับระบบแลนใช้สาย และที่สาคัญก็ คือการที่มันไม่ต้องใช้สาย ทาให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานทาได้โดยสะดวก ไม่เหมือนระบบแลนแบบใช้สายที่ต้อง ใช้เวลา และการลงทุนในการปรับเปลี่ยนตาแหน่งการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มาตรฐานของ (Wireless Lan) ใช้คลื่นวิทยุรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ติดตั้งในเครื่องกับสถานีฐานหรือจุดเข้าใช้(Access Point) มาตรฐานที่นิยมใช้กันเรียกว่า IEEE 802.11 -802.11b ทาความเร็วได้สูงสุด 11 Mbps ในรัศมีประมาณ 100 เมตร -802.11g ทางานร่วมกับ 802.11b ได้แต่เพิ่มความเร็วถึง 54 Mbps -802.11a ทาความเร็วถึง 54 Mbps เช่นกันแต่มีระยะทางจากัด และไม่เป็นที่นิยม เหมาะกับการใช้งาน ที่ไม่หนัก เช่น รับส่งอีเมล์ ท่องเว็บ ความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ LAN แบบไร้สาย 1.การเข้ารหัสข้อมูล -แบบ WEP (Wired Equivalent Privacy) ไม่ค่อยปลอดภัย -แบบ WPA (WiFi-Protected Access) ปลอดภัยกว่าแต่ใช้ได้กับอุปกรณ์ใหม่ๆเท่านั้น 2.การกาหนดรหัสเครือข่าย -เรียกว่า SSID (Service Set ID)คล้ายกับชื่อ workgroup ในเครือข่ายของ Windows -อุปกรณ์ที่กาหนดค่า SSID ตรงกันเท่านั้นจึงจะสื่อสารกันได้ -ควรเก็บค่าเหล่านี้เป็นความลับ ป้ องกันไม่ให้บุคคลภายนอกเชื่อมต่อเข้าระบบได้
  • 14. การทางานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย มี 2 แบบใหญ่คือ -Peer-to-Peer = แต่ละเครื่องยอมให้เครื่องอื่นในระบบเข้ามาใช้ข้อมูลหรืออุปกรณ์ของตนได้โดยเสมอ ภาคกัน -Server-based หรือ Dedicated server = มีบางเครื่องทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการแก่เครื่องอื่น ไคลเอนต์ (Client) เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็น คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์ (server) คือ เครื่องหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทางานให้บริการ ในระบบเครือข่ายแก่ลูกข่าย (ซึ่งให้บริการผู้ใช้ อีกทีหนึ่ง) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์นี้ควรจะมีประสิทธิภาพสูง มีความเสถียร สามารถให้บริการ แก่ผู้ใช้ได้เป็นจานวนมาก ภายในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการได้ด้วยโปรแกรมบริการ ซึ่งทางานอยู่บนระบบปฏิบัติการอีก ชั้นหนึ่ง เวิร์คสเตชัน ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคานวณด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นด้านการแสดงทางด้านกราฟิก เช่น การนามาช่วยออกแบบกราฟิกต่างๆ ใน โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วนใหม่ๆ เป็นต้น ซึ่งต้องการงานกราฟิกที่มีความละเอียดสูง ทา ให้เวิร์คส เตชันใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสารองจานวนมากอีกด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่ม เรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชันนี้ว่า ซุปเปอร์ไมโคร (Supermicro) Internetworking - จาก LAN สู่ WAN 1.Repeater เมื่อสายที่ต่อกันระหว่างเครื่องมีความยาเกินกว่าที่มาตรฐานกาหนดสัญญาณที่ส่งกันถึง ผ่านเครือข่ายก็จะอ่อนลงจนนับไม่ได้
  • 15. 2.Bridge ทาหน้าที่เป็น สะพาน เชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยถ้าข้อมูลส่งออกมาใน เครือข่ายหนึ่งมีปลายทางที่อีกเครือข่ายหนึ่ง Bridge ก็จะส่งข้อมูลข้ามไปให้ 3.Switch เป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับ Bridge แต่แบ่งสาย 1 เส้น หรือ1พอร์ตของสวิตซ์ เป็น 1เครือข่าย 4.Router เป็นอุปกรณ์ที่ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่งใน LAN ที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่ง ต่อไปยังปลายทางคล้ายกับ Switchหรือ Bridge อ้างอิง http://www.cc.kmutt.ac.th https://sites.google.com http://www.thaigoodview.com http://buycoms.com http://www.bua-yai.ac.th http://thipawan51.wordpress.com http://learn.wattano.ac.th https://blog.eduzones.com