SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
คาวิเศษณ์
ความหมายของคาวิเศษณ์
คาวิเศษณ์ คือ คาที่ทาหน้าที่ประกอบคำนำม สรรพนำม
คำกริยำ และคำวิเศษณ์ด้วยกัน ให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น
ตัวอย่าง เช่น
• ประกอบคานาม
- คนดีมีวาจาไพเราะ
- โต๊ะกลมทาสีเหลือง
- คนอ้วนเป็นเพื่อนกับคนผอม
• ประกอบคาสรรพนาม
- เขาจะมีอะไรกี่มากน้อย
- ท่านทั้งหลายโปรดฟังทางนี้
- เขาทั้งหมดจะมาหาเราทั้งสองวันนี้
• ประกอบคากริยา
- ม้าวิ่งเร็ว
- เขาพูดเพราะ
- ผมมีปากกาด้ามเดียวขอรับ
• ประกอบคาวิเศษณ์
- เขากินอาหารจุมาก (ประกอบจุ)
- คนอ้วนตุ๊ต๊ะวิ่งช้า (ประกอบอ้วน)
- เขารักแม่มากเหลือเกิน (ประกอบมาก)
ชนิดของคาวิเศษณ์
• คาวิเศษณ์ แบ่งออกเป็น ๑๐ ชนิด ได้แก่
๑. คาวิเศษณ์บอกลักษณะ (ลักษณวิเศษณ์)
๒. คาวิเศษณ์บอกเวลา (กาลวิเศษณ์)
๓. คาวิเศษณ์บอกสถานที่ (สถานวิเศษณ์)
๔. คาวิเศษณ์บอกจานวน (ประมาณวิเศษณ์)
๕. คาวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ (นิยมวิเศษณ์)
๖. คาวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ (อนิยมวิเศษณ์)
๗. คาวิเศษณ์แสดงคาถาม (ปฤจฉาวิเศษณ์)
๘. คาวิเศษณ์แสดงคาขานรับ (ประติชญาวิเศษณ์)
๙. คาวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ (ประติเษธวิเศษณ์)
๑๐. คาวิเศษณ์เชื่อมคาหรือประโยค (ประพันธวิเศษณ์)
๑. คาวิเศษณ์บอกลักษณะ (ลักษณวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกลักษณะต่าง ๆ
ตัวอย่างลักษณวิเศษณ์ และการใช้
- บอกอาการ เช่น ไว เฉื่อย ชา ฯลฯ
- บอกกลิ่น เช่น หอม ฉุน เหม็น อับ ฯลฯ
- บอกขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ โต เขื่อง จิ๋ว ฯลฯ
- บอกรส เช่น หวาน ขม เผ็ด เค็ม เปรี้ยว จืด ฯลฯ
- บอกสัณฐาน เช่น กลม รี ยาว แบน แหลม ป่ อง ฯลฯ
- บอกสี เช่น แดง ดา เหลือง น้าเงิน ม่วง ขาว ฯลฯ
- บอกเสียง เช่น แหบ ไพเราะ ดัง ทุ้ม ก้อง กังวาน สั่น
- บอกสภาพ เช่น เก่า ใหม่ กลางเก่ากลางใหม่ อ่อน แก่
สุก ดิบ สวย งาม เปียก แห้ง ร้อน หนาว เย็น ฯลฯ
๒. คาวิเศษณ์บอกเวลา (กาลวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น อดีต
อนาคต เดี๋ยวนี้ ก่อน หลัง เดิม ปีกลาย ปีก่อน ปีหน้า เป็นต้น
ตัวอย่างกาลวิเศษณ์ และการใช้
- เขามาโรงเรียนสาย
- พรุ่งนี้เป็นวันเกิดของคุณแม่
- คนโบราณไม่ชอบทางานเวลากลางคืน
- ปีหน้าเขาก็จะเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
- ในอดีตประเทศไทยมีป่ าไม้คิดเป็นร้อยละ ๗๐
๓. คาวิเศษณ์บอกสถานที่ (สถานวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่ บอกสถานที่ เช่นใกล้ ไกล ชิด ห่าง ข้าง
บน ล่าง หน้า หลัง เหนือ ใต้ เป็นต้น
ตัวอย่างสถานวิเศษณ์ และการใช้
- นกอยู่บนต้นไม้
- บ้านฉันอยู่ไกลตลาด
- กับข้าววางอยู่บนโต๊ะ
- โรงงานตั้งห่างจากเขตชุมชน
- จากทิศเหนือเขาล่องเรือไปทางทิศใต้
- รถจักรยานยนต์จอดอยู่ข้าง ๆ รถยนต์
๔. คาวิเศษณ์บอกจานวน (ประมาณวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกจานวน หรือปริมาณ เช่น หนึ่ง สอง สาม
มาก น้อย บ่อย หลาย บรรดา ต่าง บ้าง ทุก หลาย กี่ บาง เป็นต้น
• ตัวอย่างประมาณวิเศษณ์ และการใช้
- เขามีเงินห้าบาท
- ไก่ย่างครึ่งตัวคงไม่พอ
- คุณสูบบุหรี่มากไม่ดีนะ
- น้อยคนนักที่ไม่ชอบเงิน
- เด็กหลายคนไม่ชอบกินผัก
- เจ้าหน้าที่ตรวจกระเป๋ าเดินทางทุกใบ
- บรรดาพี่น้องต่างมากันอย่างครบถ้วน
- บางสถาบันเปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ
- ผู้คนมาร่วมงานประเพณีสงกรานต์กันอย่างหนาแน่น
- บรรดาผู้แสวงบุญทั้งหลายต่างก็ไปร่วมงานนี้อย่างคับคั่ง
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกความชี้เฉพาะ เช่น นี่ นั่น โน่น นู่น นี้ นั้น
โน้น นู้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น แน่นอน เช่นนั้น เช่นนี้ แท้ จริง เอง เป็นต้น
• ตัวอย่างนิยมวิเศษณ์ และการใช้
- เสื้อนั่นยังไม่ได้ซัก - นวนิยายนี่ใครเป็นคนแต่ง
- ความจริงเป็นเช่นนี้เอง - บ้านหลังนั้นไม่มีคนอยู่
- เดี๋ยวฉันจะไปหาเธอเอง - เกาะนู้นอยู่ไกลออกไปมาก
- เย็นนี้ฉันจะไปหาเธอแน่นอน - ต้นไม้ต้นนี้อายุหลายสิบปีแล้ว
๕. คาวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ (นิยมวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะ เช่น ใด อื่น ไหน อะไร
ใคร ฉันใด ต่าง ๆ เป็นต้น
ตัวอย่างอนิยมวิเศษณ์ และการใช้
- เธอจะมาเวลาใดก็ได้ - เราจะไปเที่ยวที่ไหนดี
- คนอื่นกลับบ้านหมดแล้ว - คุณจะนั่งเก้าอี้ตัวไหนก็ได้
- สิ่งใดก็สาคัญถ้าเป็นสิ่งดีงาม - ธัญพืชต่าง ๆ ล้วนแต่มีประโยชน์
- ที่นี่ไปไม่ได้ เราไปที่อื่นก็แล้วกัน
๖. คาวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ (อนิยมวิเศษณ์
๗. คาวิเศษณ์แสดงคาถาม (ปฤจฉาวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่แสดงคาถาม หรือแสดงความสงสัย เช่น ใด
ไร ไหน อะไร ไย ไฉน สิ่งใด ทาไม เท่าไร เมื่อไร เป็นต้น
• ตัวอย่างปฤจฉาวิเศษณ์ และการใช้
- เขาจะไปเมื่อไร
- ไยมาเอาป่ านนี้
- บ้านหลังนี้ราคาเท่าไร
- ทาไฉนถึงจะลืมเขาได้
• - เธอทาสิ่งใดย่อมรู้แก่ใจ
• - เขาอ่านหนังสือวิชาอะไร
• - นักเรียนคนไหนไม่ส่งการบ้าน
• - เราจะทาให้อากาศดีขึ้นได้อย่างไร
• - ทาไมสัตว์ป่าหลายชนิดจึงสูญพันธุ์
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกเสียงร้องเรียกและเสียงขานรับ เพื่อแสดง
ความสละสลวยของภาษา และแสดงความเป็นกันเองในระหว่างผู้พูด เช่น
ครับ ขอรับ ค่ะ โว้ย จ้ะ ขา เป็นต้น
• ตัวอย่างประติชญาวิเศษณ์ และการใช้
- คุณครูขาสวัสดีค่ะ - จ้ะ ฉันจะไปเดี๋ยวนี้
- หนูดีจ๋ามาหาพี่หน่อย - ค่ะ แล้วฉันจะติดต่อมาใหม่
- ผมจะรับทางานนี้แล้วขอรับ - คุณครับรถไฟจะออกเดี๋ยวนี้แล้ว
๘. คาวิเศษณ์แสดงขานรับ (ประติชญาวิเศษณ์)
๙. คาวิเศษณ์แสดงปฏิเสธ (ประติเษธวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่
ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ หามิได้ อย่า เป็นต้น
• ตัวอย่างประติเษธวิเศษณ์ และการใช้
- ขอโทษที่ลืมบ่ได้
- ฉันไม่ใช่คนอย่างที่เธอคิด
- ความรู้เป็นทรัพย์ที่ประมาณค่ามิได้
- คนดี ๆ เช่นนี้หามิได้ง่าย ๆ นักหรอก
- อายุมิใช่ปัญหาสาหรับการใฝ่ หาความรู้
- เขาไม่ทางานก็มิเป็นไร เพราะเขาไม่ใช่ลูกจ้าง
๑๐. คาวิเศษณ์เชื่อมประโยค (ประพันธวิเศษณ์)
หมายถึง คาวิเศษณ์ที่ประกอบคากริยาหรือคาวิเศษณ์เพื่อเชื่อม
ประโยคให้มีข้อความเกี่ยวข้องกัน เช่น ที่ ซึ่ง อัน อย่าง อย่างที่ ชนิดที่
ให้ ว่า ที่ว่า คือ เผื่อ เผื่อว่า เป็นต้น
ตัวอย่างประพันธวิเศษณ์ และการใช้
- เขาทาความดีอันหาที่สุดมิได้
- เธอขยันเล่าเรียนเพื่อจะได้มีอนาคตที่ดี
- พ่อของเขาทางานอย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย
- เขาเป็นคนฉลาดที่ใคร ๆ ไม่กล้าดูถูกเขา
- ครูพูดเพื่อให้นักเรียนใช้ความพยายาม

More Related Content

What's hot

กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพพัน พัน
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 

What's hot (20)

คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

คำวิเศษณ์

  • 2. ความหมายของคาวิเศษณ์ คาวิเศษณ์ คือ คาที่ทาหน้าที่ประกอบคำนำม สรรพนำม คำกริยำ และคำวิเศษณ์ด้วยกัน ให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น ตัวอย่าง เช่น
  • 3. • ประกอบคานาม - คนดีมีวาจาไพเราะ - โต๊ะกลมทาสีเหลือง - คนอ้วนเป็นเพื่อนกับคนผอม • ประกอบคาสรรพนาม - เขาจะมีอะไรกี่มากน้อย - ท่านทั้งหลายโปรดฟังทางนี้ - เขาทั้งหมดจะมาหาเราทั้งสองวันนี้
  • 4. • ประกอบคากริยา - ม้าวิ่งเร็ว - เขาพูดเพราะ - ผมมีปากกาด้ามเดียวขอรับ • ประกอบคาวิเศษณ์ - เขากินอาหารจุมาก (ประกอบจุ) - คนอ้วนตุ๊ต๊ะวิ่งช้า (ประกอบอ้วน) - เขารักแม่มากเหลือเกิน (ประกอบมาก)
  • 5. ชนิดของคาวิเศษณ์ • คาวิเศษณ์ แบ่งออกเป็น ๑๐ ชนิด ได้แก่ ๑. คาวิเศษณ์บอกลักษณะ (ลักษณวิเศษณ์) ๒. คาวิเศษณ์บอกเวลา (กาลวิเศษณ์) ๓. คาวิเศษณ์บอกสถานที่ (สถานวิเศษณ์) ๔. คาวิเศษณ์บอกจานวน (ประมาณวิเศษณ์) ๕. คาวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ (นิยมวิเศษณ์)
  • 6. ๖. คาวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ (อนิยมวิเศษณ์) ๗. คาวิเศษณ์แสดงคาถาม (ปฤจฉาวิเศษณ์) ๘. คาวิเศษณ์แสดงคาขานรับ (ประติชญาวิเศษณ์) ๙. คาวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ (ประติเษธวิเศษณ์) ๑๐. คาวิเศษณ์เชื่อมคาหรือประโยค (ประพันธวิเศษณ์)
  • 7. ๑. คาวิเศษณ์บอกลักษณะ (ลักษณวิเศษณ์) หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกลักษณะต่าง ๆ ตัวอย่างลักษณวิเศษณ์ และการใช้ - บอกอาการ เช่น ไว เฉื่อย ชา ฯลฯ - บอกกลิ่น เช่น หอม ฉุน เหม็น อับ ฯลฯ - บอกขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ โต เขื่อง จิ๋ว ฯลฯ - บอกรส เช่น หวาน ขม เผ็ด เค็ม เปรี้ยว จืด ฯลฯ
  • 8. - บอกสัณฐาน เช่น กลม รี ยาว แบน แหลม ป่ อง ฯลฯ - บอกสี เช่น แดง ดา เหลือง น้าเงิน ม่วง ขาว ฯลฯ - บอกเสียง เช่น แหบ ไพเราะ ดัง ทุ้ม ก้อง กังวาน สั่น - บอกสภาพ เช่น เก่า ใหม่ กลางเก่ากลางใหม่ อ่อน แก่ สุก ดิบ สวย งาม เปียก แห้ง ร้อน หนาว เย็น ฯลฯ
  • 9. ๒. คาวิเศษณ์บอกเวลา (กาลวิเศษณ์) หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น อดีต อนาคต เดี๋ยวนี้ ก่อน หลัง เดิม ปีกลาย ปีก่อน ปีหน้า เป็นต้น ตัวอย่างกาลวิเศษณ์ และการใช้ - เขามาโรงเรียนสาย - พรุ่งนี้เป็นวันเกิดของคุณแม่ - คนโบราณไม่ชอบทางานเวลากลางคืน - ปีหน้าเขาก็จะเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ - ในอดีตประเทศไทยมีป่ าไม้คิดเป็นร้อยละ ๗๐
  • 10. ๓. คาวิเศษณ์บอกสถานที่ (สถานวิเศษณ์) หมายถึง คาวิเศษณ์ที่ บอกสถานที่ เช่นใกล้ ไกล ชิด ห่าง ข้าง บน ล่าง หน้า หลัง เหนือ ใต้ เป็นต้น ตัวอย่างสถานวิเศษณ์ และการใช้ - นกอยู่บนต้นไม้ - บ้านฉันอยู่ไกลตลาด - กับข้าววางอยู่บนโต๊ะ - โรงงานตั้งห่างจากเขตชุมชน - จากทิศเหนือเขาล่องเรือไปทางทิศใต้ - รถจักรยานยนต์จอดอยู่ข้าง ๆ รถยนต์
  • 11. ๔. คาวิเศษณ์บอกจานวน (ประมาณวิเศษณ์) หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกจานวน หรือปริมาณ เช่น หนึ่ง สอง สาม มาก น้อย บ่อย หลาย บรรดา ต่าง บ้าง ทุก หลาย กี่ บาง เป็นต้น • ตัวอย่างประมาณวิเศษณ์ และการใช้ - เขามีเงินห้าบาท - ไก่ย่างครึ่งตัวคงไม่พอ - คุณสูบบุหรี่มากไม่ดีนะ - น้อยคนนักที่ไม่ชอบเงิน - เด็กหลายคนไม่ชอบกินผัก
  • 12. - เจ้าหน้าที่ตรวจกระเป๋ าเดินทางทุกใบ - บรรดาพี่น้องต่างมากันอย่างครบถ้วน - บางสถาบันเปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ - ผู้คนมาร่วมงานประเพณีสงกรานต์กันอย่างหนาแน่น - บรรดาผู้แสวงบุญทั้งหลายต่างก็ไปร่วมงานนี้อย่างคับคั่ง
  • 13. หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกความชี้เฉพาะ เช่น นี่ นั่น โน่น นู่น นี้ นั้น โน้น นู้น ทั้งนี้ ทั้งนั้น แน่นอน เช่นนั้น เช่นนี้ แท้ จริง เอง เป็นต้น • ตัวอย่างนิยมวิเศษณ์ และการใช้ - เสื้อนั่นยังไม่ได้ซัก - นวนิยายนี่ใครเป็นคนแต่ง - ความจริงเป็นเช่นนี้เอง - บ้านหลังนั้นไม่มีคนอยู่ - เดี๋ยวฉันจะไปหาเธอเอง - เกาะนู้นอยู่ไกลออกไปมาก - เย็นนี้ฉันจะไปหาเธอแน่นอน - ต้นไม้ต้นนี้อายุหลายสิบปีแล้ว ๕. คาวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ (นิยมวิเศษณ์)
  • 14. หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะ เช่น ใด อื่น ไหน อะไร ใคร ฉันใด ต่าง ๆ เป็นต้น ตัวอย่างอนิยมวิเศษณ์ และการใช้ - เธอจะมาเวลาใดก็ได้ - เราจะไปเที่ยวที่ไหนดี - คนอื่นกลับบ้านหมดแล้ว - คุณจะนั่งเก้าอี้ตัวไหนก็ได้ - สิ่งใดก็สาคัญถ้าเป็นสิ่งดีงาม - ธัญพืชต่าง ๆ ล้วนแต่มีประโยชน์ - ที่นี่ไปไม่ได้ เราไปที่อื่นก็แล้วกัน ๖. คาวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ (อนิยมวิเศษณ์
  • 15. ๗. คาวิเศษณ์แสดงคาถาม (ปฤจฉาวิเศษณ์) หมายถึง คาวิเศษณ์ที่แสดงคาถาม หรือแสดงความสงสัย เช่น ใด ไร ไหน อะไร ไย ไฉน สิ่งใด ทาไม เท่าไร เมื่อไร เป็นต้น • ตัวอย่างปฤจฉาวิเศษณ์ และการใช้ - เขาจะไปเมื่อไร - ไยมาเอาป่ านนี้ - บ้านหลังนี้ราคาเท่าไร - ทาไฉนถึงจะลืมเขาได้
  • 16. • - เธอทาสิ่งใดย่อมรู้แก่ใจ • - เขาอ่านหนังสือวิชาอะไร • - นักเรียนคนไหนไม่ส่งการบ้าน • - เราจะทาให้อากาศดีขึ้นได้อย่างไร • - ทาไมสัตว์ป่าหลายชนิดจึงสูญพันธุ์
  • 17. หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกเสียงร้องเรียกและเสียงขานรับ เพื่อแสดง ความสละสลวยของภาษา และแสดงความเป็นกันเองในระหว่างผู้พูด เช่น ครับ ขอรับ ค่ะ โว้ย จ้ะ ขา เป็นต้น • ตัวอย่างประติชญาวิเศษณ์ และการใช้ - คุณครูขาสวัสดีค่ะ - จ้ะ ฉันจะไปเดี๋ยวนี้ - หนูดีจ๋ามาหาพี่หน่อย - ค่ะ แล้วฉันจะติดต่อมาใหม่ - ผมจะรับทางานนี้แล้วขอรับ - คุณครับรถไฟจะออกเดี๋ยวนี้แล้ว ๘. คาวิเศษณ์แสดงขานรับ (ประติชญาวิเศษณ์)
  • 18. ๙. คาวิเศษณ์แสดงปฏิเสธ (ประติเษธวิเศษณ์) หมายถึง คาวิเศษณ์ที่บอกความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ หามิได้ อย่า เป็นต้น • ตัวอย่างประติเษธวิเศษณ์ และการใช้ - ขอโทษที่ลืมบ่ได้ - ฉันไม่ใช่คนอย่างที่เธอคิด - ความรู้เป็นทรัพย์ที่ประมาณค่ามิได้ - คนดี ๆ เช่นนี้หามิได้ง่าย ๆ นักหรอก - อายุมิใช่ปัญหาสาหรับการใฝ่ หาความรู้ - เขาไม่ทางานก็มิเป็นไร เพราะเขาไม่ใช่ลูกจ้าง
  • 19. ๑๐. คาวิเศษณ์เชื่อมประโยค (ประพันธวิเศษณ์) หมายถึง คาวิเศษณ์ที่ประกอบคากริยาหรือคาวิเศษณ์เพื่อเชื่อม ประโยคให้มีข้อความเกี่ยวข้องกัน เช่น ที่ ซึ่ง อัน อย่าง อย่างที่ ชนิดที่ ให้ ว่า ที่ว่า คือ เผื่อ เผื่อว่า เป็นต้น ตัวอย่างประพันธวิเศษณ์ และการใช้ - เขาทาความดีอันหาที่สุดมิได้ - เธอขยันเล่าเรียนเพื่อจะได้มีอนาคตที่ดี - พ่อของเขาทางานอย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย - เขาเป็นคนฉลาดที่ใคร ๆ ไม่กล้าดูถูกเขา - ครูพูดเพื่อให้นักเรียนใช้ความพยายาม